แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์ (0862863283)
ชื่อโครงการ โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง)
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 64 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในการจัดการศึกษาโดยเน้นการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติ และเพื่อเป็นการร่วมรำลึกและเทิดพระเกียรติในพระมหากรุณาธิคุณและพระบารมีพระสมเด็จพระปรมินมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงมีสายพระเนตรที่ยาวไกลต่อประเทศและเหล่าพสกนิกรทั้งหลาย โรงเรียนบ้านต้นปริง ขอร่วมแสดงความจงรักภักดีและร่วมเทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน โดยน้อมนำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา โดยยึดตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 9 ที่ให้ความสำคัญของ ความพอประมาณ ความเพียงพอ โดยอาศัยเงื่อนไขของความรู้ คุณธรรม ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกันและควบคู่กับโครงการพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนสุดา โรงเรียนได้นำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่สถานศึกษาและเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสถานศึกษาพอเพียง โดยให้นักเรียนและบุคคลากรในโรงเรียนได้ร่วมกันขับเคลื่อนและถือปฏิบัติเพื่อเป็นราชพลีและร่วมเทิดพระเกียรติ อีกนัยหนึ่ง“สถานศึกษา” นับเป็นอีกด่านสำคัญที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการหล่อหลอมคุณลักษณะและคุณธรรมขั้นพื้นฐานให้แก่นักเรียน เพราะเมื่อเด็กและเยาวชนได้รู้ เข้าใจ และมีประสบการณ์เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตั้งแต่วัยเยาว์ จะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันต่อความเสี่ยงในโลกยุคใหม่ได้ ที่สำคัญเด็กที่ได้ซึมซับและมีความเข้าใจในเศรษฐกิจพอเพียงจะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณธรรมและดำเนินชีวิตพอเพียงอย่างมีคุณภาพ และเพื่อส่งเสริมในด้านอาหารและโภชนาการให้นักเรียนที่มีปัญหาในด้านน้ำหนักส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
- เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมโรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่
- เก็บผลผลิตไก่ไข่ป้อนโครงการอาหารกลางวัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
นักเรียนทั่วไป
41
นักเรียนอ้วน
12
นักเรียนไม่รับประทานอาหารเช้า
10
บุคคลากรโรงเรียนบ้านต้นปริง
10
อสม
10
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนเข้าร่วมโครงการทุกคน
- นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ร้อยละ 85
- บุคลากรเข้าร่วมโครงการทุกคน
- อสม. เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เตรียมโรงเรือนและดูแลการเลี้ยงไก่ไข่
วันที่ 6 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.เตรียมโรงเรือนสำหรับการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 1โรงเรือน และสั่งทำกรงเลี้ยงไก่ จำนวน 5 กรง
2.จัดซื้ออุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่ รางอาหาร และรางน้ำ พร้อมทั้งยา และเวชภัณฑ์
3.สั่งซื้อแม่พันธ์ุไก่ไข่ จำนวน 40 ตัว
4.แบ่งบทบาทนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการระดับประถมศึกษา ในการเลี้ยงไกไข่
5.ครูให้ความรู้การเลี้ยงไก่ไข่ให้กับนักเรียน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ได้กรงสำหรับเลี้ยงไก่ จำนวน 5 กรง อุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่ รางอาหาร และรางน้ำ
2.ได้แม่พันธ์ุไก่ไข่ จำนวน 40 ตัว
3.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงไก่ไข่โดยการฝึกปฏิบัติจริง ตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4.นักเรียนมีการแบ่งบทบาทหน้าในการเลี้ยงไก่
83
0
2. เก็บผลผลิตไก่ไข่ป้อนโครงการอาหารกลางวัน
วันที่ 1 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
1.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ เก็บผลผลิตไข่ไก่ประมาณวันละ 35 ฟอง ส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
2.แม่ครัวนำผลผลิตไข่ไก่ มาเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียน จำนวน 83 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีไข่ไก่ 35 ฟองต่อวันที่ส่งให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
2.มีเมนูไก่ไข่ในมื้ออาหารของนักเรียน จำนวน 83 คน
3.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย ร้อยละ 85
4.โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารที่เป็นไข่ไก่ ที่สะอาด ปลอดภัย
83
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
ตัวชี้วัด : นักเรียนเข้าร่วมโครงการทุกคน
100.00
2
เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : นักเรียนเข้าร่วมโครงการทุกคนร้อยละ 100
100.00
3
เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ร้อยละ 85
85.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
83
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนทั่วไป
41
นักเรียนอ้วน
12
นักเรียนไม่รับประทานอาหารเช้า
10
บุคคลากรโรงเรียนบ้านต้นปริง
10
อสม
10
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์ (0862863283) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์ (0862863283)
ชื่อโครงการ โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง)
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 64 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในการจัดการศึกษาโดยเน้นการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติ และเพื่อเป็นการร่วมรำลึกและเทิดพระเกียรติในพระมหากรุณาธิคุณและพระบารมีพระสมเด็จพระปรมินมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงมีสายพระเนตรที่ยาวไกลต่อประเทศและเหล่าพสกนิกรทั้งหลาย โรงเรียนบ้านต้นปริง ขอร่วมแสดงความจงรักภักดีและร่วมเทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน โดยน้อมนำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่การปฏิบัติในสถานศึกษา โดยยึดตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 9 ที่ให้ความสำคัญของ ความพอประมาณ ความเพียงพอ โดยอาศัยเงื่อนไขของความรู้ คุณธรรม ความมีเหตุผล ความมีภูมิคุ้มกันและควบคู่กับโครงการพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนสุดา โรงเรียนได้นำแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงลงสู่สถานศึกษาและเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสถานศึกษาพอเพียง โดยให้นักเรียนและบุคคลากรในโรงเรียนได้ร่วมกันขับเคลื่อนและถือปฏิบัติเพื่อเป็นราชพลีและร่วมเทิดพระเกียรติ อีกนัยหนึ่ง“สถานศึกษา” นับเป็นอีกด่านสำคัญที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการหล่อหลอมคุณลักษณะและคุณธรรมขั้นพื้นฐานให้แก่นักเรียน เพราะเมื่อเด็กและเยาวชนได้รู้ เข้าใจ และมีประสบการณ์เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตั้งแต่วัยเยาว์ จะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันต่อความเสี่ยงในโลกยุคใหม่ได้ ที่สำคัญเด็กที่ได้ซึมซับและมีความเข้าใจในเศรษฐกิจพอเพียงจะสามารถเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณธรรมและดำเนินชีวิตพอเพียงอย่างมีคุณภาพ และเพื่อส่งเสริมในด้านอาหารและโภชนาการให้นักเรียนที่มีปัญหาในด้านน้ำหนักส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9
- เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมโรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่
- เก็บผลผลิตไก่ไข่ป้อนโครงการอาหารกลางวัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
นักเรียนทั่วไป | 41 | |
นักเรียนอ้วน | 12 | |
นักเรียนไม่รับประทานอาหารเช้า | 10 | |
บุคคลากรโรงเรียนบ้านต้นปริง | 10 | |
อสม | 10 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนเข้าร่วมโครงการทุกคน
- นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ร้อยละ 85
- บุคลากรเข้าร่วมโครงการทุกคน
- อสม. เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เตรียมโรงเรือนและดูแลการเลี้ยงไก่ไข่ |
||
วันที่ 6 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.เตรียมโรงเรือนสำหรับการเลี้ยงไก่ไข่ จำนวน 1โรงเรือน และสั่งทำกรงเลี้ยงไก่ จำนวน 5 กรง 2.จัดซื้ออุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่ รางอาหาร และรางน้ำ พร้อมทั้งยา และเวชภัณฑ์ 3.สั่งซื้อแม่พันธ์ุไก่ไข่ จำนวน 40 ตัว 4.แบ่งบทบาทนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการระดับประถมศึกษา ในการเลี้ยงไกไข่ 5.ครูให้ความรู้การเลี้ยงไก่ไข่ให้กับนักเรียน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ได้กรงสำหรับเลี้ยงไก่ จำนวน 5 กรง อุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่ รางอาหาร และรางน้ำ 2.ได้แม่พันธ์ุไก่ไข่ จำนวน 40 ตัว 3.นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงไก่ไข่โดยการฝึกปฏิบัติจริง ตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4.นักเรียนมีการแบ่งบทบาทหน้าในการเลี้ยงไก่
|
83 | 0 |
2. เก็บผลผลิตไก่ไข่ป้อนโครงการอาหารกลางวัน |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ1.นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการ เก็บผลผลิตไข่ไก่ประมาณวันละ 35 ฟอง ส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน 2.แม่ครัวนำผลผลิตไข่ไก่ มาเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียน จำนวน 83 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีไข่ไก่ 35 ฟองต่อวันที่ส่งให้กับโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน 2.มีเมนูไก่ไข่ในมื้ออาหารของนักเรียน จำนวน 83 คน 3.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย ร้อยละ 85 4.โรงเรียนมีแหล่งผลิตอาหารที่เป็นไข่ไก่ ที่สะอาด ปลอดภัย
|
83 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 ตัวชี้วัด : นักเรียนเข้าร่วมโครงการทุกคน |
100.00 | |||
2 | เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมตามแนวทฤษฎีใหม่และตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตัวชี้วัด : นักเรียนเข้าร่วมโครงการทุกคนร้อยละ 100 |
100.00 | |||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ร้อยละ 85 |
85.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 83 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
นักเรียนทั่วไป | 41 | ||
นักเรียนอ้วน | 12 | ||
นักเรียนไม่รับประทานอาหารเช้า | 10 | ||
บุคคลากรโรงเรียนบ้านต้นปริง | 10 | ||
อสม | 10 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการกินดี อยู่ดี ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ณ .โรงเรียนบ้านต้นปริง (เลี้ยงไก่ไข่) (โรงเรียนบ้านต้นปริง) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุพรรัตน์ มานพศิลป์ (0862863283) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......