directions_run

กินผักปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โรงเรียนบ้านต้นส้าน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ กินผักปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โรงเรียนบ้านต้นส้าน ”

ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางปราณี เฉลิมบุญ และนางสวัลยา ชูเชิด (0869607781)

ชื่อโครงการ กินผักปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โรงเรียนบ้านต้นส้าน

ที่อยู่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"กินผักปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โรงเรียนบ้านต้นส้าน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กินผักปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โรงเรียนบ้านต้นส้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " กินผักปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โรงเรียนบ้านต้นส้าน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารและโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในวัยเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การกินอาหารที่เหมาะสมถูกต้อง แลเพียงพอจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารไม่มีประโยชน์ ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน โดยเฉพาะอาหารมื้อเช้าซึ่งเป็นมื้อที่สำคัญที่สุด แต่นักเรียนโรงเรียนบ้านต้นส้าน จำนวน 99 คนจากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 152 คนไม่ค่อยได้รับประทานอาหารเช้าจากทางบ้าน เนื่องจากผู้ปกครองต้องไปกรีดยางตั้งแต่ช่วงกลางดึกนักเรียนจึงไปซื้ออาหารเช้าจากบริเวณหน้าโรงเรียน ซึ่งส่วนมากจะเป็นอาหารประเภทข้าวเหนียวหมูลูกชิ้นทอด ซึ่งอาหารเหล่านี้เมื่อเด็กรับประทานประจำจะทำให้ได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน และจะส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก โรงเรียนบ้านต้นส้านตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้าที่ถูกหลักโภชนาการ จึงได้จัดทำโครงการอาหารเช้าเพื่อน้องขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
  2. เพื่อให้นักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากบ้านได้มีอาหารเช้าที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการรับประทาน ทุกวัน
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปรุงอาหารเช้าให้กับเด็กนักเรียนร่วมกับคณะครู

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เตรียมแปลงปลูกผักในโรงเรียน
  2. ปลูกผักปลอดสารพิษ
  3. เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้น อนุบาล -ป.6 99

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีอาหารเช้าที่ถูกหลักโภชนาการรับประทานทุกคน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เตรียมแปลงปลูกผักในโรงเรียน

วันที่ 20 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนเด็กเล็กถึงชั้นประถมศึกษาร่วมกันเตรียมแปลงผักในพื้นที่บริเวณโรงเรียนทั้งแบบล้อยางและแปลงอิฐบล็อกหน้าอาคาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแปลงปลูกผักที่เป็นล้อยาง จำนวน 159 ลูก และแปลงบริเวณหน้าอาคารเรียน

 

220 0

2. ปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 22 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ผู้ปกครองและนักเรียน (เด็กเล็ก) ร่วมกันปลูกผัก เช่น ผักสวนครัว พริก มะเขือ ในล้อยาง ซึ่งผู้ปกครองจะรับผิดชอบร่วมกับนักเรียนในการดูแลแปลงผัก 1ล้อ/ครอบครัว ส่วนเด็กโต ชั้นประถมจะปลูกเป็นผักกินใบ เช่น ผักบุ้ง ผักกาด ในล้อยาง จำนวน 159 ลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผักที่ปลูกในล้อยางได้จำนวน 159 ลูก

2.ผักที่ปลูกมีความหลากหลาย ทั้งผักสวนครัวและผักกินใบ

3.ผู้ปกครองมีส่วร่วมในการปลูกผักร่วมกับนักเรียน (เด็กเล็ก)

 

0 0

3. เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน

วันที่ 22 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษา ได้เก็บผักที่ปลูกในล้อยาง ส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน จำนวน 5-10 กิโลกรัม/สัปดาห์

2.ผักที่เหลือจากโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน ได้จัดจำหน่ายในราคาถูกให้กับชุมชน และผู้ปกครองในการนำไปประกอบอาหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียน 159 คน ได้กินผักเพิ่มมากขึ้น

2.ผักที่ปลูกมีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมี
3.แม่ครัวสามารถนำผักที่นักเรียนปลูกมาจัดเป็นเมนูอาหารกลางวันให้นักเรียน

 

220 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเตรียมอาหาร ปรุงอาหารให้กับนักเรียน
70.00 80.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อให้นักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากบ้านได้มีอาหารเช้าที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการรับประทาน ทุกวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีอาหารเช้าที่ถูกหลักโภชนาการรับประทานทุกคน
100.00 80.00

ผลการเรียน

3 เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปรุงอาหารเช้าให้กับเด็กนักเรียนร่วมกับคณะครู
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเตรียมอาหาร ปรุงอาหารให้กับนักเรียน
50.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 99
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้น อนุบาล -ป.6 99

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโภชนาการและความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า (2) เพื่อให้นักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจากบ้านได้มีอาหารเช้าที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการรับประทาน ทุกวัน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปรุงอาหารเช้าให้กับเด็กนักเรียนร่วมกับคณะครู

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เตรียมแปลงปลูกผักในโรงเรียน (2) ปลูกผักปลอดสารพิษ (3) เก็บเกี่ยวผลผลิต ส่งต่อโครงการอาหารกลางวัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


กินผักปลอดสารพิษ ชีวิตมีสุข โรงเรียนบ้านต้นส้าน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปราณี เฉลิมบุญ และนางสวัลยา ชูเชิด (0869607781) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด