directions_run

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า) ”

โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางมัณฑนา อ่อนทอง (0864903966)

ชื่อโครงการ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า) " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านบ่อหว้า ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโต เนื่องจากการเจริญเติบโคมีทั้งด้านสมองและร่างกายหากขาดอาหารสิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย จึงเป็นการแสดงออกทางร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงด้านร่างกายเท่านั้นยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้าไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ประสิทธิภาพการทำงานต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ สถานก่ารณ์ปัญหา ที่พบคือ เด็กนักเรียนมีลักษณะร่างกายเตี้ยร้อยละ20 ผอม ร้อยละ10 และนักเรียนที่ไม่ได้ทานอาหารเช้า ร้อย 70

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
  2. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
  3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน
  2. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์
  3. เลี้ยงไก่ไข่
  4. ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง
  5. เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครู 6
เด็กนักเรียนศูนย์เด็กเล็ก ก่อนประถมวัย 22
เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหว้า 54

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันทุกคนในระดับก่อนปฐมวัย ถึง ชันประถมศึกษาปีที่ 6 และเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษ ส่งผลการพัฒนาด้านร่างกาย สติปัญญา แก่เด็กนักเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คณะทำงาน ผู้รับผิดชอบ
  • ประชุมปรึกษาหารือผู้ปกครองเกี่ยวกับการโครงการเพื่ออาหารกลางวันเด็กนักเรียน
  • จัดเวรนักเรียนช่วยงานการเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก
  • ปฏิบัติกิจกรรมเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ

  • สามารถให้ความรู้การเลี้ยงปลาดุกให้แก่นักเรียนไม่น้อยกว่า 50 คน
  • สามารถเป็นอาหารกลางวันเด็กให้แก่นักเรียน ไม่น้อยกว่า 50 คน

ด้านคุณภาพ

  • สามารถบริการความรู้ด้านการเลี้ยงปลาดุกให้กับนักเรียน
  • เกิดความมั่นใจด้านวิชาชีพประมง
  • มีอาหารปลอดภัยรับประทาน

 

20 0

2. ผลิตปุ๋ยอินทรีย์

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่3-6 จำนวน 30คน ช่วยกันทำปุ๋ยหมัก ที่ใช้วัสดุอินทรีย์ เช่น มูลวัว หญ้าแห้ง ฟางข้าว หมักทิ้งไว้ประมาณ 2อาทิตย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ มีปุ๋ยหมัก จำนวน 1ตัน เพื่อใช้ในการใส่ผักที่ปลูก และข้าวโพดหวาน

ผลลัพธ์

  • สามารถให้ความรู้ด้านการทำปุ๋ยหมักให้แก่นักเรียน

  • เกิดความมั่นใจในการนำศาสตร์พระราชาไปใช้ด้านการเกษตร

  • มีผักปลอดสารพิษไว้รับประทาน

 

23 0

3. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.มีการเตรียมแปลงปลูกผัก จำนวน 7 แปลง โดยมีการปลูกข้าวโพดหวาน จำนวน 100-200 ต้น เพื่อบำรุงดิน ก่อนที่จะปลูกผักชนิดอื่นๆ

2.นักเรียนที่มีส่วนร่วมในการปลูกผัก ระดับชั้น ป.3-6 จำนวน 30คน ช่วยในการเตรียมแปลง ส่วนนักเรียนชั้นป1-2 ช่วยในการรดน้ำข้าวโพดหวาน

3.มีการเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานส่งโครงการอาหารกลางวัน จำนวน 3ครั้ง ประมาณ 400ฝัก

4.แม่ครัวนำข้าวโพดที่ผลิตได้ประกอบเป็นขนมไทยให้นักเรียนได้กินในโครงการอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนทั้ง 57 คน ได้มีส่วนร่วมในการปลูกข้าวโพดหวาน และได้กินข้าวโพดในมื้อกลางวันของโรงเรียน

2.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกข้าวโพดหวาน

 

23 0

4. เลี้ยงไก่ไข่

วันที่ 2 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มีการซื้อไก่ไข่มาเลี้ยง จำนวน 20 ตัว แต่ประสบปัญหามีสุนัขมากัดกินไก่ เหลือ 10ตัว สาเหตุจากโรงเรือนยังไม่มีความมั่นคง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนไก่ที่ลดลงทำให้ได้ผลผลิตน้อย ประมาณวันละ 7-8 ฟอง/วัน

 

23 0

5. เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก

วันที่ 15 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3-6 จำนวน....30.......คน เตรียมบ่อเลี้ยงปลา (แบบพาลสติก) จำนวน...6.บ่อ

2.แบ่งนักเรียน จำนวน....30......คน ช่วยกันปล่อยลูกปลาดุก จำนวน....100......ตัว และแบ่งบทบาทในการเลี้ยงปลา เช่น การให้อาหารปลา การปล่อยน้ำเ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีบ่อปลาดุก จำนวน.......ุ6...บ่อ และปล่อยลูกปลาดุก จำนวน....100....ตัว

2.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุก

 

23 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย สูงขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 20 เด็กนักเรียน มีลักษณะร่างกาย น้ำหนักเพิ่มขึ้น ตามเกณฑ์ ร้อยละ 10 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร
20.00 10.00 10.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
100.00 50.00

รอผลผลิต

3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน
ตัวชี้วัด : ผู้เรียนร้อยละ 70 ได้รับการเรียนรู้เรื่อง เศษฐกิจพอเพียง ตามศาสตร์พระราชา
70.00 70.00

ครัวเรือนต้นแบบ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 82
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู 6
เด็กนักเรียนศูนย์เด็กเล็ก ก่อนประถมวัย 22
เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ่อหว้า 54

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา โดยใช้ผลผลิต ทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร (2) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้านผลิตอาหารสุขภาพที่ดี โภชนาการ และสุขภาพอนามัย (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการการเกษตรเศรฐกิจพอเพียงตามศาสตร์พระราชากับการเรียนการสอน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน (2) ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ (3) เลี้ยงไก่ไข่ (4) ประชุมคณะครู กรรมการโรงเรียน และผู้ปกครอง (5) เตรียมบ่อปลาดุก(บ่อพลาสติก) /และเลี้ยงปลาดุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านบ่อหว้า (โรงเรียนบ้านบ่อหว้า) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมัณฑนา อ่อนทอง (0864903966) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด