directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10 ”

เขตสุขภาพที่ 10 ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร

หัวหน้าโครงการ
นางสาวจงกลนี ศิริรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10

ที่อยู่ เขตสุขภาพที่ 10 ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตสุขภาพที่ 10 ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตสุขภาพที่ 10 ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,345,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
  2. เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผล โครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กองทุนศูนย์เรียนรู้
  2. กองทุนสมัครใจเข้าร่วม
  3. กองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนสมัครใจเข้าร่่วม
  4. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1
  5. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอเขื่องใน จ.อุบลราชธานี
  6. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.อุบลราชธานี
  7. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี
  8. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอโนนคูณ จ.ศรีสะเกษ
  9. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
  10. สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนฯศูนย์เรียนรู้ 22 กองทุน
  11. สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนฯ เข้าร่วม 10 กองทุน
  12. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
  13. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
  14. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ
  15. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี
  16. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.โนนคูณ จ.ศรีสะเกษ
  17. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 2
  18. ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 21 กองทุน
  19. ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 10 กองทุนเปิดรับทั่วไป
  20. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 3
  21. พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์
  22. พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์
  23. ประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
  24. ประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
  25. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 4
  26. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 5
  27. ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 32 กองทุน
  28. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 6
  29. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ
  30. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
  31. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์”อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
  32. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์”อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี
  33. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
  34. ประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะกรรมการกองทุนฯ ผู้เสนอโครงการของบจากกองทุนฯ ผู้ 200
คณะทำงานระดับอำเภอ 13
คณะทำงานระดับเขต 12
ทีมกลไกบูรณาการอำเภอ 5 อำเภอ 50
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายภายใต้การดำเนินโครงการกองทุนฯ 3,000

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กองทุนเป้าหมายที่เป็นศูนย์เรียนรู้ (จำนวน 21 กองทุน) มีการเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ทุกกองทุน
  2. กองทุนเป้าหมายที่เป็นศูนย์เรียนรู้ (จำนวน 21 กองทุน) มีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) ที่ผ่านการพิจารณาและได้รับทุนสนับสนุนงบประมาณปี 2567 จากกองทุนฯ อย่างน้อยกองทุนละ 2 โครงการ
  3. กองทุนเป้าหมายที่เป็นขยายผล (จำนวน 10 กองทุน) มีการเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ (โควิด-19) อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) อย่างน้อย 2 แผนงานต่อกองทุน และมีโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ อย่างน้อย 2 โครงการต่อกองทุน
  4. พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของ กองทุนฯ รวม 40 คน (พี่เลี้ยงอำเภอ 10 คน พี้เลี้ยงจากกองทุน 30 คน)
  5. ได้รูปแบบการบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ อย่างน้อย 1 แผนงานต่ออำเภอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 (ประชุมคณะทำงาน/กลไกระดับอำเภอเพื่อคัดเลือกพื้นที่และเตรียมเวทีชี้แจงและ MOU)

วันที่ 3 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 3 มกราคม 2566 เวลา 09.00 น. ประชุมคณะทำงาน/กลไกอำเภอ อ.เขื่องใน ณ ที่ว่าการอำเภอเขื่องใน และ สสอ.เขื่องใน จ.อุบลฯ
วันที่ 4 มกราคม 2566 เวลา 09.00 น. ประชุมคณะทำงาน/กลไกอำเภอ อ.กันทรลักษ์ ณ ที่ว่าการอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ         เวลา 13.00 น. ประชุมคณะทำงาน/กลไกอำเภอ อ.โนนคูณ ณ ที่ว่าการอำเภอโนนคูณ จ.ศรีสะเกษ วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09.00 น. ประชุมคณะทำงาน/กลไกอำเภอ อ.ม่วงสามสิบ ณ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี
วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 09.00 น. ประชุมคณะทำงาน/กลไกอำเภอ อ.คำเขื่อนแก้ว ณ ที่ว่าการอำเภอคำเขื่อนแก้ว และ สสอ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานอำเภอ/กลไก พชอ. ได้มีส่วนร่วมในการคัดเลือกกองทุนฯ เป้าหมายเข้าร่วมดำเนินการ ซึ่งเกินจำนวนที่กำหนดไว้ ดังนี้
      กองทุนศูนย์เรียนรู้
      1) อำเภอเขื่องใน จ.อุบลฯ เสนอเข้าร่วม 8 กองทุน ได้แก่ 1. กองทุนฯ อบต.สร้างถ่อ 2. กองทุนฯ อบต.หัวดอน 3. กองทุนฯ อบต.ยางขี้นก 4. กองทุนฯ อบต.บ้านไทย 5. กองทุนฯ อบต.โนนรัง 6. กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า 7. กองทุนฯ อบต.สหธาตุ 8. กองทุนฯ อบต.ชีทวน   2) อำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร เสนอเข้าร่วม 7 กองทุน ได้แก่ 1. กองทุนฯ อบต.สงเปือย 2. กองทุนฯ อบต.เหล่าไฮ 3. กองทุนฯ อบต.นาคำ 4.กองทุนฯ อบต.กู่จาน 5.กองทุนฯ อบต.โพนทัน 6. กองทุนฯ ทต.ดงแคนใหญ่ 7. กองทุน อบต.ทุ่งมน
      3) อำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ เสนอเข้าร่วม 8 กองทุน ได้แก่ 1. กองทุนฯ อบต.โนนสำราญ 2. กองทุนฯ อบต.ตระกาจ 3. กองทุนฯ ทต.สวนกล้วย 4. กองทุนฯ อบต.กุดเสลา 5. กองทุนฯ อบต.ขนุน 6.กองทุนฯ อบต.น้ำอ้อม 7. กองทุน อบต.รุง   กองทุนเปิดรับทั่วไป   1) อำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลฯ เสนอเข้าร่วม 6 กองทุน ได้แก่ 1. กองทุนฯ อบต.ยางโยภาพ 2. กองทุนฯ อบต.ยางสักกระโพหลุ่ม 3. กองทุนฯ อบต.เตย 4. กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า 5. กองทุนฯ อบต.เหล่าบก 6. กองทุนฯ อบต.ดุมใหญ่
      2) อำเภอโนนคูณ จ.ศรีสะเกษ เสนอเข้าร่วม 5 กองทุน ได้แก่ 1. กองทุนฯ อบต.โนนค้อ 2. กองทุนฯ อบต.บก 3. กองทุนฯ อบต.โพธิ์ 4. กองทุนฯ อบต.หนองกุง 5. กองทุนฯ อบต.เหล่ากวาง
  2. แผนปฏิบัติการจัดเวทีประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ และการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอ ดังนี้
      1) วันที่ 16 มกราคม 2566 ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ และการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอเขื่องใน สถานที่ สสอ.เขื่องใน จ.อุบลฯ
      2) วันที่ 17 มกราคม 2566 ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ และการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอคำเขื่อนแก้ว สถานที่ สสอ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
      3) วันที่ 18 มกราคม 2566 ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ และการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอม่วงสามสิบ สถานที่ สสอ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลฯ
      4) วันที่ 19 มกราคม 2566 ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ และการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอโนนคูณ สถานที่ ที่ว่าการอำเภอโนนคูณ จ.ศรีสะเกษ
      5) วันที่ 20 มกราคม 2566 ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการฯ และการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอกันทรลักษ์ สถานที่ สสอ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

 

50 0

2. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอเขื่องใน จ.อุบลราชธานี

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
  2. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566
  3. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
  4. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครรินทร์

- สุขภาพ คือ สุข+ภาวะ หมายถึง ภาวะที่เป็นสุข
- พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ นิยามคำว่าสุขภาพ ประกอบด้วย โรคทางกาย (สุขภาพกาย+สุขภาพจิต) โรคทางจิตวิญญาณ (สุขภาพทางสังคม+สุขภาพทางจิตวิญญาณ/ปัญญา) - ปัญหาสุขภาพในชุมชน 1. ปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ สารเสพติด/อุบัติเหตุ/มลพิษสิ่งแวดล้อม/โรคอุบัติใหม่/สุขภาพจิต)
2. โรคเรื้อรัง (อาหาร/กิจกรรมทางกาย) - ตัวอย่างความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ระดับความรุนแรงของสารเสพติดที่สร้างอันตรายและเสียหายต่อคน พบว่า เหล้ามีคะแนนความรุนแรงสูงที่สุด มากกว่ายาเสพติด
- แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ 1) กรรมการกองทุนมีความรู้ 2) กองทุนมีแผน (มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่ชัดเจน) 3) มีโครงการที่มีคุณภาพ

  1. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566 ผู้แทนจากสำนักงาหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10

- การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรของ สปสช.เขต ให้มีการแบ่งกลุ่มจังหวัด 2 กลุ่ม - รพ.สต.ที่ถ่ายโอน ยังได้รับงบประมาณสมทบจาก สปสช.เหมือนเดิม - โครงการ สสส.จะเข้ามาหนุนเสริมพัฒนางานกองทุน ให้เกิดโครงการที่มีคุณภาพและพัฒนานวัตกรรมของงานกองทุนได้มากขึ้น
- ระเบียบเกี่ยวกับกองทุนฯที่ปรับใหม่
1) ต้องมีการขออนุมัติแผนการใช้จ่ายงบกองทุน เมื่อ สปสช.อนุมัติแผนแล้วจึงจะโอนงบสมทบ
2) แผนกองทุน ต้องเอาปัญหาพื้นที่เป็นตัวตั้ง โดยต้องมีความเชื่อมโยงกับปัญหาของชุมชน (ใช้ข้อมูลจากหน่วยบริการ รพ.สต. และใช้กระบวนการประชาคม นำข้อมูลปัญหาสุขภาพ มาเรียงลำดับความสำคัญ) เพื่อมุ่งให้เกิดการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนได้จริง
3) ไม่ให้มีเงินค้างเกิน 2 เท่า
4) เพิ่มหมวดที่ 6 ให้จัดสรรงบในการซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่ได้ (ผู้ป่วยเฉพาะราย)
5) หลังเดือนมีนาคมของทุกปี กองทุนสามารถของบสมทบจาก สปสช.เพิ่มได้ โดยกองทุนต้องสมทบเพิ่ม 100%


  1. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    -  แนวทางการสำรวจข้อมูล
      1) คัดเลือกทีมพี่เลี้ยงหลัก จาก 2 ส่วน ได้แก่ อปท.+รพ.สต. (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   2) คัดเลือกทีมเก็บข้อมูล (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   3) กำหนดเก็บข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 10 ก.พ.2566
      4) นัดหมายกรอกข้อมูลในระบบออนไลน์และสร้างแผนงาน วันที่ 13 ก.พ.2566

  2. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)

- พื้นที่เป้าหมาย 8 กองทุน ได้แก่
1. กองทุนฯ อบต.สร้างถ่อ
2. กองทุนฯ อบต.หัวดอน
3. กองทุนฯ อบต.ยางขี้นก
4. กองทุนฯ อบต.บ้านไทย
5. กองทุนฯ อบต.โนนรัง
6. กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า
7. กองทุนฯ อบต.ธาตุน้อย 8. กองทุนฯ อบต.ชีทวน 

5.การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น - อ.เขื่องใน เข้าร่วมขับเคลื่อนตำบลสุขภาวะกับ สสส.สำนัก 3
- ปลัดตำบลหัวดอน มีการขับเคลื่อนประเด็นสิ่งแวดล้อม และประเด็นปัญหาอื่นๆมีความท้าทาย ในการแก้ไขปัญหาแต่ละประเด็นได้ดำเนินการมายาวนาน และเกิดนวัตกรรม คือ ธรรมนูญอยู่ดีมีสุข (ประเด็นงานศพปลอดเหล้าและการจัดการขยะ  เป็นต้น)
- ปลัดตำบลสร้างถ่อ การเก็บข้อมูลที่ผ่านมาอาจมีความน่าเชื่อถือเพียง 50% เท่านั้น ปัญหาสำคัญคือทีมวิชาการสนับสนุนในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำไปสู่การวางแผนในการแก้ไขปัญหา
- ปัญหาสังคมที่หนักมากที่สุด คือ การแพร่ระบาดของเสพติด(ยาบ้า) - ประเด็นสุรา ถามเฉพาะช่วงอายุ 15-25 ปี หรือไม่?
- แนวทางการประสานงาน ขอให้มีการตั้งกลุ่มไลน์เฉพาะ      8 กองทุนที่ร่วมดำเนินการ

 

40 0

3. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.อุบลราชธานี

วันที่ 17 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
  2. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566
  3. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
  4. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครรินทร์

- สุขภาพ คือ สุข+ภาวะ หมายถึง ภาวะที่เป็นสุข
- พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ นิยามคำว่าสุขภาพ ประกอบด้วย โรคทางกาย (สุขภาพกาย+สุขภาพจิต) โรคทางจิตวิญญาณ (สุขภาพทางสังคม+สุขภาพทางจิตวิญญาณ/ปัญญา) - ปัญหาสุขภาพในชุมชน 1. ปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ สารเสพติด/อุบัติเหตุ/มลพิษสิ่งแวดล้อม/โรคอุบัติใหม่/สุขภาพจิต)
2. โรคเรื้อรัง (อาหาร/กิจกรรมทางกาย) - ตัวอย่างความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ระดับความรุนแรงของสารเสพติดที่สร้างอันตรายและเสียหายต่อคน พบว่า เหล้ามีคะแนนความรุนแรงสูงที่สุด มากกว่ายาเสพติด
- แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ 1) กรรมการกองทุนมีความรู้ 2) กองทุนมีแผน (มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่ชัดเจน) 3) มีโครงการที่มีคุณภาพ

  1. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566 ผู้แทนจากสำนักงาหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10

- การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรของ สปสช.เขต ให้มีการแบ่งกลุ่มจังหวัด 2 กลุ่ม - รพ.สต.ที่ถ่ายโอน ยังได้รับงบประมาณสมทบจาก สปสช.เหมือนเดิม - โครงการ สสส.จะเข้ามาหนุนเสริมพัฒนางานกองทุน ให้เกิดโครงการที่มีคุณภาพและพัฒนานวัตกรรมของงานกองทุนได้มากขึ้น
- ระเบียบเกี่ยวกับกองทุนฯที่ปรับใหม่
1) ต้องมีการขออนุมัติแผนการใช้จ่ายงบกองทุน เมื่อ สปสช.อนุมัติแผนแล้วจึงจะโอนงบสมทบ
2) แผนกองทุน ต้องเอาปัญหาพื้นที่เป็นตัวตั้ง โดยต้องมีความเชื่อมโยงกับปัญหาของชุมชน (ใช้ข้อมูลจากหน่วยบริการ รพ.สต. และใช้กระบวนการประชาคม นำข้อมูลปัญหาสุขภาพ มาเรียงลำดับความสำคัญ) เพื่อมุ่งให้เกิดการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนได้จริง
3) ไม่ให้มีเงินค้างเกิน 2 เท่า
4) เพิ่มหมวดที่ 6 ให้จัดสรรงบในการซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่ได้ (ผู้ป่วยเฉพาะราย)
5) หลังเดือนมีนาคมของทุกปี กองทุนสามารถของบสมทบจาก สปสช.เพิ่มได้ โดยกองทุนต้องสมทบเพิ่ม 100%


  1. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    -  แนวทางการสำรวจข้อมูล
      1) คัดเลือกทีมพี่เลี้ยงหลัก จาก 2 ส่วน ได้แก่ อปท.+รพ.สต. (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   2) คัดเลือกทีมเก็บข้อมูล (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   3) กำหนดเก็บข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 10 ก.พ.2566
      4) นัดหมายกรอกข้อมูลในระบบออนไลน์และสร้างแผนงาน วันที่ 14 ก.พ.2566

  2. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)

- พื้นที่เป้าหมาย 7 กองทุน ได้แก่
1. กองทุนฯ อบต.สงเปือย
2. กองทุนฯ อบต.เหล่าไฮ
3. กองทุนฯ อบต.นาคำ
4. กองทุนฯ อบต.กู่จาน
5. กองทุนฯ อบต.โพนทัน
6. กองทุนฯ ทต.ดงแคนใหญ่
7. กองทุน อบต.ทุ่งมน

  1. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

- นายอำเภอ-การพัฒนาคุณภาพชีวิตต้องเน้นพัฒนาคนก่อน คนคือปัจจัยหลักที่สำคัญที่สุด ดังนั้นทุกภาคส่วนจึงต้องร่วมกันพัฒนาสติปัญญาของคน - เอกสารประกอบการประชุม ประเด็นขอความร่วมมือจากพื้นที่ คำว่าท้องทุ่ง (ไม่อยากให้นำ รพ.สต.ไปรวมด้วย) - การประสานงานต้องให้ความสำคัญกับทั้งฝั่ง อปท.และฝั่งสาธารณสุขต้องทำควบคู่กัน
- เป้าหมายในการจัดทำแผนระดับอำเภอ มีความสำคัญ โดยเฉพาะการใช้ข้อมูลปัญหาของพื้นที่ (ในทางปฏิบัติอาจมีทั้งประเด็นที่สอดคล้องกันและบางประเด็นที่อาจแตกต่างจากประเด็นเป้าหมาย สสส.ด้วยเช่นกัน) - มองเห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น อาทิเช่น ได้พัฒนาศักยภาพคนทำงาน(บุคลากร อปท.) และได้ระบบข้อมูลเพื่อนำไปพัฒนาแผนแก้ไขปัญหาของชุมชนได้อย่างตรงจุดมากขึ้น

 

35 0

4. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
  2. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566
  3. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
  4. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครรินทร์

- สุขภาพ คือ สุข+ภาวะ หมายถึง ภาวะที่เป็นสุข
- พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ นิยามคำว่าสุขภาพ ประกอบด้วย โรคทางกาย (สุขภาพกาย+สุขภาพจิต) โรคทางจิตวิญญาณ (สุขภาพทางสังคม+สุขภาพทางจิตวิญญาณ/ปัญญา) - ปัญหาสุขภาพในชุมชน 1. ปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ สารเสพติด/อุบัติเหตุ/มลพิษสิ่งแวดล้อม/โรคอุบัติใหม่/สุขภาพจิต)
2. โรคเรื้อรัง (อาหาร/กิจกรรมทางกาย) - ตัวอย่างความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ระดับความรุนแรงของสารเสพติดที่สร้างอันตรายและเสียหายต่อคน พบว่า เหล้ามีคะแนนความรุนแรงสูงที่สุด มากกว่ายาเสพติด
- แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ 1) กรรมการกองทุนมีความรู้ 2) กองทุนมีแผน (มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่ชัดเจน) 3) มีโครงการที่มีคุณภาพ

  1. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566 ผู้แทนจากสำนักงาหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10

- การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรของ สปสช.เขต ให้มีการแบ่งกลุ่มจังหวัด 2 กลุ่ม - รพ.สต.ที่ถ่ายโอน ยังได้รับงบประมาณสมทบจาก สปสช.เหมือนเดิม - โครงการ สสส.จะเข้ามาหนุนเสริมพัฒนางานกองทุน ให้เกิดโครงการที่มีคุณภาพและพัฒนานวัตกรรมของงานกองทุนได้มากขึ้น
- ระเบียบเกี่ยวกับกองทุนฯที่ปรับใหม่
1) ต้องมีการขออนุมัติแผนการใช้จ่ายงบกองทุน เมื่อ สปสช.อนุมัติแผนแล้วจึงจะโอนงบสมทบ
2) แผนกองทุน ต้องเอาปัญหาพื้นที่เป็นตัวตั้ง โดยต้องมีความเชื่อมโยงกับปัญหาของชุมชน (ใช้ข้อมูลจากหน่วยบริการ รพ.สต. และใช้กระบวนการประชาคม นำข้อมูลปัญหาสุขภาพ มาเรียงลำดับความสำคัญ) เพื่อมุ่งให้เกิดการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนได้จริง
3) ไม่ให้มีเงินค้างเกิน 2 เท่า
4) เพิ่มหมวดที่ 6 ให้จัดสรรงบในการซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่ได้ (ผู้ป่วยเฉพาะราย)
5) หลังเดือนมีนาคมของทุกปี กองทุนสามารถของบสมทบจาก สปสช.เพิ่มได้ โดยกองทุนต้องสมทบเพิ่ม 100%


  1. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    -  แนวทางการสำรวจข้อมูล
      1) คัดเลือกทีมพี่เลี้ยงหลัก จาก 2 ส่วน ได้แก่ อปท.+รพ.สต. (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   2) คัดเลือกทีมเก็บข้อมูล (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   3) กำหนดเก็บข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 10 ก.พ.2566
      4) นัดหมายกรอกข้อมูลในระบบออนไลน์และสร้างแผนงาน วันที่ 15 ก.พ.2566

  2. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)

- พื้นที่เป้าหมาย 5 กองทุน ได้แก่
1. กองทุนฯอบต.ยางโยภาพ 2. กองทุนฯอบต.หนองเหล่า 3. กองทุนฯอบต.ดุมใหญ่ 4. กองทุนฯอบต.ยางสักกะโพลุ่ม 5. กองทุนฯอบต.เหล่าบก

 

40 0

5. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอโนนคูณ จ.ศรีสะเกษ

วันที่ 19 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
  2. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566
  3. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
  4. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครรินทร์

- สุขภาพ คือ สุข+ภาวะ หมายถึง ภาวะที่เป็นสุข
- พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ นิยามคำว่าสุขภาพ ประกอบด้วย โรคทางกาย (สุขภาพกาย+สุขภาพจิต) โรคทางจิตวิญญาณ (สุขภาพทางสังคม+สุขภาพทางจิตวิญญาณ/ปัญญา) - ปัญหาสุขภาพในชุมชน 1. ปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ สารเสพติด/อุบัติเหตุ/มลพิษสิ่งแวดล้อม/โรคอุบัติใหม่/สุขภาพจิต)
2. โรคเรื้อรัง (อาหาร/กิจกรรมทางกาย) - ตัวอย่างความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ระดับความรุนแรงของสารเสพติดที่สร้างอันตรายและเสียหายต่อคน พบว่า เหล้ามีคะแนนความรุนแรงสูงที่สุด มากกว่ายาเสพติด
- แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ 1) กรรมการกองทุนมีความรู้ 2) กองทุนมีแผน (มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่ชัดเจน) 3) มีโครงการที่มีคุณภาพ

  1. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566 ผู้แทนจากสำนักงาหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10

- การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรของ สปสช.เขต ให้มีการแบ่งกลุ่มจังหวัด 2 กลุ่ม - รพ.สต.ที่ถ่ายโอน ยังได้รับงบประมาณสมทบจาก สปสช.เหมือนเดิม - โครงการ สสส.จะเข้ามาหนุนเสริมพัฒนางานกองทุน ให้เกิดโครงการที่มีคุณภาพและพัฒนานวัตกรรมของงานกองทุนได้มากขึ้น
- ระเบียบเกี่ยวกับกองทุนฯที่ปรับใหม่
1) ต้องมีการขออนุมัติแผนการใช้จ่ายงบกองทุน เมื่อ สปสช.อนุมัติแผนแล้วจึงจะโอนงบสมทบ
2) แผนกองทุน ต้องเอาปัญหาพื้นที่เป็นตัวตั้ง โดยต้องมีความเชื่อมโยงกับปัญหาของชุมชน (ใช้ข้อมูลจากหน่วยบริการ รพ.สต. และใช้กระบวนการประชาคม นำข้อมูลปัญหาสุขภาพ มาเรียงลำดับความสำคัญ) เพื่อมุ่งให้เกิดการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนได้จริง
3) ไม่ให้มีเงินค้างเกิน 2 เท่า
4) เพิ่มหมวดที่ 6 ให้จัดสรรงบในการซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่ได้ (ผู้ป่วยเฉพาะราย)
5) หลังเดือนมีนาคมของทุกปี กองทุนสามารถของบสมทบจาก สปสช.เพิ่มได้ โดยกองทุนต้องสมทบเพิ่ม 100%


  1. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    -  แนวทางการสำรวจข้อมูล
      1) คัดเลือกทีมพี่เลี้ยงหลัก จาก 2 ส่วน ได้แก่ อปท.+รพ.สต. (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   2) คัดเลือกทีมเก็บข้อมูล (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   3) กำหนดเก็บข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ก.พ.2566
      4) นัดหมายกรอกข้อมูลในระบบออนไลน์และสร้างแผนงาน วันที่ 16 ก.พ.2566

  2. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)

- พื้นที่เป้าหมาย 5 กองทุน ได้แก่
1. กองทุนฯอบต.โนนค้อ 2. กองทุนฯอบต.บก 3. กองทุนฯอบต.โพธิ์

 

40 0

6. เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
  2. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566
  3. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)
  4. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ชี้แจงรายละเอียดโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครรินทร์

- สุขภาพ คือ สุข+ภาวะ หมายถึง ภาวะที่เป็นสุข
- พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ นิยามคำว่าสุขภาพ ประกอบด้วย โรคทางกาย (สุขภาพกาย+สุขภาพจิต) โรคทางจิตวิญญาณ (สุขภาพทางสังคม+สุขภาพทางจิตวิญญาณ/ปัญญา) - ปัญหาสุขภาพในชุมชน 1. ปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ สารเสพติด/อุบัติเหตุ/มลพิษสิ่งแวดล้อม/โรคอุบัติใหม่/สุขภาพจิต)
2. โรคเรื้อรัง (อาหาร/กิจกรรมทางกาย) - ตัวอย่างความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในพื้นที่ ระดับความรุนแรงของสารเสพติดที่สร้างอันตรายและเสียหายต่อคน พบว่า เหล้ามีคะแนนความรุนแรงสูงที่สุด มากกว่ายาเสพติด
- แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ 1) กรรมการกองทุนมีความรู้ 2) กองทุนมีแผน (มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่ชัดเจน) 3) มีโครงการที่มีคุณภาพ

  1. แลกเปลี่ยนให้ข้อมูลการบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพท้องถิ่น ปี 2566 ผู้แทนจากสำนักงาหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 10

- การปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรของ สปสช.เขต ให้มีการแบ่งกลุ่มจังหวัด 2 กลุ่ม - รพ.สต.ที่ถ่ายโอน ยังได้รับงบประมาณสมทบจาก สปสช.เหมือนเดิม - โครงการ สสส.จะเข้ามาหนุนเสริมพัฒนางานกองทุน ให้เกิดโครงการที่มีคุณภาพและพัฒนานวัตกรรมของงานกองทุนได้มากขึ้น
- ระเบียบเกี่ยวกับกองทุนฯที่ปรับใหม่
1) ต้องมีการขออนุมัติแผนการใช้จ่ายงบกองทุน เมื่อ สปสช.อนุมัติแผนแล้วจึงจะโอนงบสมทบ
2) แผนกองทุน ต้องเอาปัญหาพื้นที่เป็นตัวตั้ง โดยต้องมีความเชื่อมโยงกับปัญหาของชุมชน (ใช้ข้อมูลจากหน่วยบริการ รพ.สต. และใช้กระบวนการประชาคม นำข้อมูลปัญหาสุขภาพ มาเรียงลำดับความสำคัญ) เพื่อมุ่งให้เกิดการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของประชาชนได้จริง
3) ไม่ให้มีเงินค้างเกิน 2 เท่า
4) เพิ่มหมวดที่ 6 ให้จัดสรรงบในการซื้อผ้าอ้อมผู้ใหญ่ได้ (ผู้ป่วยเฉพาะราย)
5) หลังเดือนมีนาคมของทุกปี กองทุนสามารถของบสมทบจาก สปสช.เพิ่มได้ โดยกองทุนต้องสมทบเพิ่ม 100%


  1. วางแผนการดำเนินงานขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ

    -  แนวทางการสำรวจข้อมูล
      1) คัดเลือกทีมพี่เลี้ยงหลัก จาก 2 ส่วน ได้แก่ อปท.+รพ.สต. (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   2) คัดเลือกทีมเก็บข้อมูล (อย่างน้อย 5 คนต่อกองทุน)   3) กำหนดเก็บข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 15 ก.พ.2566
      4) นัดหมายกรอกข้อมูลในระบบออนไลน์และสร้างแผนงาน วันที่ 17 ก.พ.2566

  2. พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)

- พื้นที่เป้าหมาย 7 กองทุน ได้แก่
1. กองทุนฯองค์การบริหารส่วนตำบลโนนสำราญ 2. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเสลา 3. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลรุง 4. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลตระกาจ 5. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลขนุน 6. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำอ้อม 7. กองทุนเทศมนตรีตำบลสวนกล้วย

  1. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

- สสอ.กันทรลักษ์ ให้ข้อมูลว่ามีการถ่ายโอน รพ.สต.ไป อบจ. แต่การประสานงานยังมีความเข้มแข็ง การเลือกพื้นที่ต้นแบบในปี 2566 นี้ ท่านนายอำเภอกันทรลักษ์ ก็ได้ร่วมให้ข้อเสนอแนะในการพิจารณาจาก อปท.ที่มีความเข้มแข็งด้วย

 

40 0

7. สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภภาพชุมชนเพื่อจัดทำแผนงานกองทุนฯ เปิดรับทั่วไป 10 กองทุน

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจวิธีการเก็บข้อมูล และออกแบบวางแผนการเก็บข้อมูล
  2. ประชุมทีมเก็บข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจแบบเก็บข้อมูลและการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
  3. ดำเนินการเก็บข้อมูลตามเกณฑ์ที่กำหนด
  4. รวบรวมแบบเก็บข้อมูลเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลของกองทุนฯ อ.ม่วงสามสิบ ดังนี้
1. กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า อ.ม่วงสามสิบ มี 15 หมู่บ้าน ทีมเก็บข้อมูลเป็น อสม.หมู่บ้านละ 1 คน การกำหนดกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลโดยเฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 204 ชุด ประเภทครัวเรือน  99 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด
2. กองทุนฯ อบต.ดูมใหญ่ อ.ม่วงสามสิบ  มี 13 ทีมเก็บข้อมูลเป็น อสม. หมู่บ้านละ 2 คน โดยมีเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. ทั้ง 2 แห่ง เป็นพี่เลี้ยง รวบรวมข้อมูลส่ง อบต. เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 202 ชุด ประเภทครัวเรือน  102 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด
3. กองทุนฯ อบต.ยางสักกะโพหลุ่ม อ.ม่วงสามสิบ มี 11 หมู่บ้าน มี รพ.สต. 3 แห่ง ใช้ทีม อสม.หมู่บ้านละ 1 คน เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 212 ชุด ประเภทครัวเรือน 110 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด
4. กองทุนฯ อบต.เหล่าบก อ.ม่วงสามสิบ ได้มีจัดเวทีประชุมชี้แจงทำความเข้าใจการเก็บข้อมูลกับทีมเก็บข้อมูล มี 12 หมู่บ้าน จึงได้แบ่งให้ อสม. หมู่บ้านละ 1 คน รับผิดชอบเก็บข้อมูล และรวบรวมส่งที่ รพ.สต. ประจำเขต  ใช้เกณฑ์เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 234 ชุด ประเภทครัวเรือน  108 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด
5. กองทุนฯ อบต.ยางโยภาพ อ.ม่วงสามสิบ มี 3 รพ.สต. มอบประธาน อสม. รับผิดเก็บข้อมูล เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้านชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 215 ชุด ประเภทครัวเรือน  198 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด

สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลของกองทุนฯ อ.โนนคุณ ดังนี้
1. กองทุนฯ อบต.โนนค้อ  มี 20 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน มี 3 รพ.สต. ใช้ทีม อสม. เป็นทีมเก็บข้อมูล อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูล 2. กองทุนฯ อบต.บก มี 17 หมู่บ้าน จัดประชุมทีมเก็บข้อมูล คือ อสม. โดยแบ่งทีมตาม รพ.สต. 2 แห่ง  ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 213 ชุด ประเภทครัวเรือน 192 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด
3. กองทุนฯ อบต.โพธิ์ มี 13 หมู่บ้าน เฉลี่ยแบบสอบถามให้เท่าๆ กันทุกหมู่บ้าน ทีมเก็บข้อมูล คือ มีทีมคณะทำงานกับทีมเยาวชน 5 คน (สภาเด็กและเยาวชนตำบล) *อยู่ระหว่างเก็บข้อมูล ข้อมูลชุมชน ยังไม่ได้เก็บรวบรวม ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 165 ชุด ประเภทครัวเรือน 121 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด 4. กองทุนฯ อบต.หนองกุง มี 18 หมู่บ้าน  2 รพ.สต. เฉลี่ยแบบสำรวจตามหมู่บ้าน ใช้ทีมคณะทำงานหลายภาคส่วน ได้แก่ อบต.+ทีม รพ.สต.+ อสม. เป็นทีมเก็บข้อมูล/ ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 198 ชุด ประเภทครัวเรือน 102 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด 5. กองทุนฯ อบต.เหล่ากวาง มี 12 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ทีมเก็บข้อมูล คือ อสม. ใช้การจับคู่เป็นทีม (5 ทีมๆละ 2 คน)  เก็บข้อมูลได้ครบแล้ว ชุดแบบสอบถามเก็บข้อมูลที่จัดเก็บได้ ประเภทบุคคล 202 ชุด ประเภทครัวเรือน 151 ชุด ประเภทชุมชน 1 ชุด

 

3,000 0

8. สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนฯศูนย์เรียนรู้ 22 กองทุน

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจวิธีการเก็บข้อมูล และออกแบบวางแผนการเก็บข้อมูล
  2. ประชุมทีมเก็บข้อมูลเพื่อทำความเข้าใจแบบเก็บข้อมูลและการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง
  3. ดำเนินการเก็บข้อมูลตามเกณฑ์ที่กำหนด
  4. รวบรวมแบบเก็บข้อมูลเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลของกองทุนฯ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ดังนี้
1. กองทุนฯ อบต.สงเปือย ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้  ประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบและวางแผนการเก็บข้อมูล โดยคัดเลือกตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 เป็นผู้ดำเนินการจัดเก็บ (9 คน) การกำหนดกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูได้คำนวณเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน โดยกลุ่มตัวอย่างระดับบุคคล กับระดับครัวเรือน (แยกกัน) มีรายชื่อบุคคลให้กับทีมเก็บข้อมูล (เพื่อประโยชน์ในการเก็บข้อมูลหลังการดำเนินงาน) ส่วนข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน แจกให้กับผู้นำชุมชนช่วยกรอกข้อมูล 2. กองทุนฯ อบต.เหล่าไฮ ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ คณะทำงานกำหนดกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลเฉลี่ยให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน คัดเลือกตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คนเป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูลและรวบรวมส่งที่ รพ.สต.เขตพื้นที่รับผิดชอบ
3. กองทุนฯ อบต.นาคำ ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลนาคำมี 6 หมู่บ้าน คำนวณกลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ประมาณหมู่บ้านละ 25 – 28 ชุด เฉลี่ยตามประชาการครอบคลุมทุกหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 18 – 64 ปี และ 65 ปีขึ้นไป จะให้ทีม CG แต่ทุกหมู่บ้านเป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูล ส่วนช่วงอายุ 5 – 17 ปี ทีมคณะทำงานดำเนินการเก็บข้อมูลในโรงเรียน 3 แห่ง และคณะทำงานเป็นรวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน 4. กองทุนฯ อบต.กู่จาน ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลกู่จานมี 12 หมู่บ้าน ได้คำนวนกำหนดกลุ่มตัวอย่างประชากรเฉลี่ยตามประชาการครอบคลุมทุกหมู่บ้าน คัดเลือกทีมเก็บข้อมูล อสม.หมู่บ้านละ 1 คน เจ้าหน้าที่ อบต.รวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน โดยเข้าขอข้อมูลจากหน่วยงานราชการในพื้นที่(รร.+ชุมชน+รพ.สต.) และได้มีการกรอกข้อมูลในระบบก่อนแล้ว โดยมีทีมกรอกข้อมูล 4 คน (เจ้าหน้าที่ อบต.) กรอกข้อมูลในระบบเสร็จแล้ว 5. กองทุนฯ อบต.โพนทัน ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลโพนทันมี 5 หมู่บ้าน กำหนดกลุ่มตัวอย่างเฉลี่ยตามจำนวนประชาการให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน เฉลี่ยหมู่บ้านละ 50 ชุด โดยมีคณะทำงาน 5 คนเป็นผู้เก็บรับผิดชอบหมู่บ้านละ 1 คน (อบต.+รพ.สต.) ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลเองและรวบรวมมาลงข้อมูลในระบบ 6. กองทุนฯ ทต.ดงแคนใหญ่ ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลดงแคนใหญ่มี 13 หมู่บ้าน คำนวนกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้านละ 10 – 14 ชุด (บ้านใหญ่เล็ก) โดยแบ่งเป็นกลุ่มช่วงอายุ 5 – 17 ปี จะเก็บที่โรงเรียน 2 แห่ง (จำนวน 50 ชุด) ส่วนกลุ่มช่วง 18 ปีขึ้นไปเก็บตามที่กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยมีทีมเก็บข้อมูล คือ เจ้าหน้าที่เทศบาล 5 คน และรวบรวมข้อมูลระดับชุมชน 7. กองทุน อบต.ทุ่งมน ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลทุ่งมนมี 9 หมู่บ้าน กำหนดกลุ่มตัวอย่างงให้ข้อมูลโดยเฉลี่ยตามประชาการให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านเฉลี่ยประมาณหมู่บ้านละ 22 – 24 ชุด  โดยให้ประธาน อสม. ประจำหมู่บ้านละ 1 คน เป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูล ในส่วนข้อมูลระดับชุมชนเป็นทีมคณะทำงาน 3 คน เป็นทีมรวบรวมรวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน

สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลของกองทุนฯ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี ดังนี้
1. กองทุนฯ อบต.สร้างถ่อ มีการดำเนินงาน ดังนี้ 1) จัดประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วย นายก อบต. ปลัด อบต. ผอ.รพ.สต. ทั้ง 3 แห่ง และทีมเลขานุการ เพื่อออกแบบวางแผนการเก็บข้อมูลและกำหนดกลุ่มตัวอย่างและช่วงอายุในเขตรับผิดชอบ  2) ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล 17 คน (ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน) เก็บข้อมูลผ่าน app มี 17 หมู่บ้านๆ ละ 10-12 ชุด (ระดับบุคคล) เช่น หมู่ที่ 1 อายุ 5-17 จำนวน 3 คน อายุ 18-64 จำนวน 6 คน อายุ 64 ปีขึ้นไป จำนวน 3 ชุด โดยระดับบุคคล กับระดับครัวเรือนคนละกลุ่มกัน ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลทั้ง 3 ระดับได้
2. กองทุนฯ อบต.บ้านไทย ดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ 1) ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล 12 คน (ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน ตำบลบ้านไทยมี 12 หมู่บ้าน) เก็บข้อมูลผ่าน app  และกำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่จะคัดเลือกเก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้านประมาณ 15 -  18 ชุด
3. กองทุนฯ อบต.ยางขี้นก มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูลและวางแผนการเก็บข้อมูล กำหนดทีมเก็บข้อมูลหมู่บ้านละ 2 คน (ตัวแทน อสม.) และกำหนดกลุ่มตัวอย่างการเก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้าน 20 ชุด
4. กองทุนฯ อบต.โนนรัง มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมทีมคณะทำงานเพื่อคัดเลือกทีมเก็บข้อมูล (ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน) และชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลกับทีมเก็บข้อมูล ตำบลโนนรังมี 7 หมู่บ้านเฉลี่ยหมู่บ้านละ 25 ชุด
5. กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล คัดเบือกตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน กำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่จะเก็บข้อมูลหมู่บ้านละ 10 – 12 ชุด นัดหมายรวมรวบข้อมูลที่ รพ.สต.ในพื้นที่
6. กองทุนฯ อบต.สหธาตุ มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมคณะทำงานเพื่อคัดเลือก อสม. (ตัวแทน อสม.หมู่บ้านละ 1 คน) และประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล กำหนดกลุ่มตัวอย่างการเก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้าน 22 – 25 ชุด ขณะนี้รวบรวมข้อมูลได้ประมาณ 70% และอยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลส่วนที่เหลือ 7. กองทุนฯ อบต.หัวดอน มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ตำบลหัวดอนมี 11 หมู่บ้าน เฉลี่ยหมู่บ้านละ 10-12 ชุด โดยมอบหมายให้ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คนดำเนินการเก็บข้อมูล ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลแบบเก็บข้อมูล
8. กองทุนฯ อบต.ชีทวน อยู่ระหว่างการประสานการเก็บข้อมูล คัดเลือกหาทีมเก็บข้อมูลจากทั้ง อบต. และ รพ.สต. โดยจะเร่งดำเนินการต่อไป

สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลของกองทุนฯ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ  ดังนี้
1. กองทุนฯ อบต.โนนสำราญ มี 11 หมู่บ้าน กลุ่มวัยเด็กเก็บข้อมูลนักเรียนประถมกับมัธยมต้น    โรงเรียน 2 แห่ง (โรงเรียนละ 20 คน) และอบต.สุ่มเก็บเองบางส่วน กลุ่มวัยทำงาน เก็บข้อมูลระดับบุคคลและครัวเรือนร่วมกับเวทีประชาคม เฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างตามประชากร/ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน  กลุ่มผู้สูงอายุ มอบให้ CG เก็บข้อมูล (แบ่งออกเป็น 2 โซน) และอบต.สุ่มเก็บเองบางส่วน รวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน ขอข้อมูลจาก รพ.สต. ชุมชน อบต. (ข้อมูลใหม่ ได้แก่ สุรา บุหรี่) *งานที่ทำมาก่อนแล้ว ได้แก่ การลดอุบัติเหตุทางถนน 2. กองทุน ฯ อบต.กุดเสลา มี 16 หมู่บ้าน เฉลี่ยทุกหมู่บ้านๆละ 13 ชุด  โดยใช้เวทีประชุมสภา อบต.ชี้แจงการเก็บข้อมูล โดยใช้ทีม ส.อบต.เป็นทีมเก็บข้อมูล 3. กองทุนฯ อบต.รุง มี 10 หมู่บ้าน เก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้านละ 20 ชุด มีการแต่งตั้งคณะทำงาน 10 หมู่บ้านๆละ 2 คน (คัดเลือก อสม.) และประชุมชี้แจงการเก็บข้อมูล 4. กองทุนฯ อบต.ตระกาจ มี 12 หมู่บ้าน (บ้านม่วง 8 ศรีอุดม 4) ทีมเก็บโดย อสม. หมู่บ้านละ 1-2 คน มีโครงการขยะเปียกในชุมชน (จัดกิจกรรมพร้อมกับเก็บข้อมูลด้วย) ในกลุ่มวัยเด็ก (สุ่มในโรงเรียนมัธยม) 5. กองทุนฯ อบต.ขนุน มี 15 หมู่บ้าน ใช้การสุ่มตัวอย่าง เน้นให้เกิดการกระจายของข้อมูล หมู่บ้านละ 15-20 ชุด มี 2 รพ.สต. เลือก อสม.เป็นทีม(5 คน) โดยมีการชี้แจงการเก็บข้อมูล และให้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเป็นทีม
6. กองทุนฯ อบต.น้ำอ้อม มี 9 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มในชุมชนและผู้มาติดต่อราชการในอบต. ทีมคณะทำงาน 5 คน เป็นทีมเก็บข้อมูล 7. กองทุนฯ ทต.สวนกล้วย มี 12 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามหมู่บ้านๆละ 20 ชุด  ทีมเก็บข้อมูลมาจาก 2 รพ.สต. เลือกทีม อสม. 2 คนต่อ รพ.สต. (ลงเก็บข้อมูลเป็นทีม) *สร้างความเข้าใจกับทีมก่อน

 

6,300 0

9. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กล่าวต้อนรับและการสนับสนุนการดำเนินงานระหว่างกองทุนฯ และ พชอ. โดยสาธารณสุขอำเภอ
  2. ชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงานและทบทวนแผนการดำเนินงานที่ผ่านมา
  3. กองทุนสรุปผลการดำเนินงานเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชน
  4. ดำเนินการบันทึกข้อมูลแผนงานสถานการณ์สุขภาพชุมชนและโครงการที่ควรดำเนินการ ในระบบเว็บไซต์
  5. สรุปผลการดำเนินงานและวางแผนปฏิบัติการกิจกรรมครั้งต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลของกองทุนตำบลทั้ง 8 กองทุน ดังนี้
  2. กองทุนฯ อบต.สร้างถ่อ มีการดำเนินงาน ดังนี้ 1) จัดประชุมคณะทำงาน ประกอบด้วย นายก อบต. ปลัด อบต. ผอ.รพ.สต. ทั้ง 3 แห่ง และทีมเลขานุการ เพื่อออกแบบวางแผนการเก็บข้อมูลและกำหนดกลุ่มตัวอย่างและช่วงอายุในเขตรับผิดชอบ 2) ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล 17 คน (ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน) เก็บข้อมูลผ่าน app มี 17 หมู่บ้านๆ ละ 10-12 ชุด (ระดับบุคคล) เช่น หมู่ที่ 1 อายุ 5-17 จำนวน 3 คน อายุ 18-64 จำนวน 6 คน อายุ 64 ปีขึ้นไป จำนวน 3 ชุด โดยระดับบุคคล กับระดับครัวเรือนคนละกลุ่มกัน ข้อจำกัด คือ ไม่สามารถตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลทั้ง 3 ระดับได้
  3. กองทุนฯ อบต.บ้านไทย ดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ 1) ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล 12 คน (ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน ตำบลบ้านไทยมี 12 หมู่บ้าน) เก็บข้อมูลผ่าน app และกำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่จะคัดเลือกเก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้านประมาณ 15 - 18 ชุด
  4. กองทุนฯ อบต.ยางขี้นก มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูลและวางแผนการเก็บข้อมูล กำหนดทีมเก็บข้อมูลหมู่บ้านละ 2 คน (ตัวแทน อสม.) และกำหนดกลุ่มตัวอย่างการเก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้าน 20 ชุด
  5. กองทุนฯ อบต.โนนรัง มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมทีมคณะทำงานเพื่อคัดเลือกทีมเก็บข้อมูล (ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน) และชี้แจงวิธีการเก็บข้อมูลกับทีมเก็บข้อมูล ตำบลโนนรังมี 7 หมู่บ้านเฉลี่ยหมู่บ้านละ 25 ชุด
  6. กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล คัดเบือกตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คน กำหนดจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่จะเก็บข้อมูลหมู่บ้านละ 10 – 12 ชุด นัดหมายรวมรวบข้อมูลที่ รพ.สต.ในพื้นที่
  7. กองทุนฯ อบต.สหธาตุ มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ประชุมคณะทำงานเพื่อคัดเลือก อสม. (ตัวแทน อสม.หมู่บ้านละ 1 คน) และประชุมเตรียมทีมเก็บข้อมูล กำหนดกลุ่มตัวอย่างการเก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้าน 22 – 25 ชุด ขณะนี้รวบรวมข้อมูลได้ประมาณ 70% และอยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลส่วนที่เหลือ
  8. กองทุนฯ อบต.หัวดอน มีการดำเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ ตำบลหัวดอนมี 11 หมู่บ้าน เฉลี่ยหมู่บ้านละ 10-12 ชุด โดยมอบหมายให้ตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คนดำเนินการเก็บข้อมูล ขณะนี้อยู่ระหว่างการรวบรวมข้อมูลแบบเก็บข้อมูล
  9. กองทุนฯ อบต.ชีทวน อยู่ระหว่างการประสานการเก็บข้อมูล คัดเลือกหาทีมเก็บข้อมูลจากทั้ง อบต. และ รพ.สต. โดยจะเร่งดำเนินการต่อไป
    1. คณะทำงานกองทุนฯ ได้บันทึกข้อมูลแบบสอบถามเข้าในระบบเว็บไซต์ ซึ่งสามารถดูผลความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล ดังนี้
      กองทุนฯ อบต.สร้างถ่อ บุคคล 219 ครัวเรือน 104 ชุมชม 1 กองทุนฯ อบต.ยางขี้นก บุคคล 207 ครัวเรือน 100 ชุมชน -
      กองทุนฯ อบต.สหธาตุ บุคคล 215 ครัวเรือน 165 ชุมชน -
      กองทุนฯ อบต.บ้านไทย บุคคล 218 ครัวเรือน 108 ชุมชน 1
      กองทุนฯ อบต.โนนรัง บุคคล 205 ครัวเรือน -    ชุมชน -
      กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า บุคคล 200 ครัวเรือน 100 ชุมชน 1
      กองทุนฯ อบต.ชีทวน บุคคล 135 ครัวเรือน 48 ชุมชน -
      กองทุนฯ อบต.หัวดอน บุคคล 51 ครัวเรือน 108 ชุมชน 1
    2. คณะทำงานกองทุนฯ เข้าไปสร้างแผนงานสุขภาพปี 2566 ในระบบเว็บไซต์ จำนวน 10 แผน และได้วิเคราะห์ข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานในแต่ละแผนงาน อย่างน้อย 5 โครงการ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการพัฒนาโครงการต่อไป
    3. นัดหมายจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนเพื่อจัดดทำแผนงานและโครงการสุขภาวะ วันที่ 27 มีนาคม 2566

 

55 0

10. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • กล่าวต้อนรับและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องประเด็นในการขับเคลื่อน 8 ประเด็นสุขภาวะกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของ พชอ.
    โดยนายอิสระ ยาวะโนภาส สาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว
  • ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และนำเสนอการเก็บข้อมูลของกองทุนตำบลแต่ละพื้นที่ โดยนายสงกา  สามารถ วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาสุขภาวะของชุมชน แต่ละพื้นที่ โดยนายรพินทร์ ยืนยาว วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ “พัฒนาทักษะการเก็บข้อมูล”โดย นายวินัย วงศ์อาสา วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • สรุปผลการประชุมนัดหมายกิจกรรมต่อไปและปิดประชุม
    ทีมพี่เลี้ยงสรุป AAR ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สาธารณสุขอำเภอได้กล่าวต้อนรับและการเชื่อมโยงการทำงานของกองทุนตำบลลกับ พชอ. ดังนี้ประเด็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับจังหวัด (พชจ.) และระดับอำเภอ (พชอ.) ล้วนมีความเชื่อมโยงกัน และอยู่ในกรอบการพัฒนาแผนงานกองทุนสุขภาพตำบล 8 ประเด็น ในปัจจุบันทิศทางการพัฒนางานกองทุนตำบล มุ่งเน้นให้เกิดผลลัพธ์นั่นคือทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ส่งผลต่อสุขภาพได้จริง ดังนั้นการทำโครงการต่างๆจะต้องมีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ และมีการติดตามประเมินผลโครงการให้เห็นผลการเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน การสร้างทีมงานในแต่ละกองทุนมีความสำคัญมาก แม้จะเกิดการโยกย้ายก็ยังสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ให้กับทีมงานคนอื่นๆได้
  2. สรุปผลการดำเนินการเก็บข้อมูลของกองทุนตำบลทั้ง 8 กองทุน ดังนี้
  3. กองทุนฯ อบต.สงเปือย ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ประชุมคณะทำงานเพื่อออกแบบและวางแผนการเก็บข้อมูล โดยคัดเลือกตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 เป็นผู้ดำเนินการจัดเก็บ (9 คน) การกำหนดกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูได้คำนวณเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน โดยกลุ่มตัวอย่างระดับบุคคล กับระดับครัวเรือน (แยกกัน) มีรายชื่อบุคคลให้กับทีมเก็บข้อมูล (เพื่อประโยชน์ในการเก็บข้อมูลหลังการดำเนินงาน) ส่วนข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน แจกให้กับผู้นำชุมชนช่วยกรอกข้อมูล
  4. กองทุนฯ อบต.เหล่าไฮ ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ คณะทำงานกำหนดกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลเฉลี่ยให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน คัดเลือกตัวแทน อสม. หมู่บ้านละ 1 คนเป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูลและรวบรวมส่งที่ รพ.สต.เขตพื้นที่รับผิดชอบ
  5. กองทุนฯ อบต.นาคำ ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลนาคำมี 6 หมู่บ้าน คำนวณกลุ่มตัวอย่างให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ประมาณหมู่บ้านละ 25 – 28 ชุด เฉลี่ยตามประชาการครอบคลุมทุกหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 18 – 64 ปี และ 65 ปีขึ้นไป จะให้ทีม CG แต่ทุกหมู่บ้านเป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูล ส่วนช่วงอายุ 5 – 17 ปี ทีมคณะทำงานดำเนินการเก็บข้อมูลในโรงเรียน 3 แห่ง และคณะทำงานเป็นรวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน
  6. กองทุนฯ อบต.กู่จาน ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลกู่จานมี 12 หมู่บ้าน ได้คำนวนกำหนดกลุ่มตัวอย่างประชากรเฉลี่ยตามประชาการครอบคลุมทุกหมู่บ้าน คัดเลือกทีมเก็บข้อมูล อสม.หมู่บ้านละ 1 คน เจ้าหน้าที่ อบต.รวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน โดยเข้าขอข้อมูลจากหน่วยงานราชการในพื้นที่(รร.+ชุมชน+รพ.สต.) และได้มีการกรอกข้อมูลในระบบก่อนแล้ว โดยมีทีมกรอกข้อมูล 4 คน (เจ้าหน้าที่ อบต.) กรอกข้อมูลในระบบเสร็จแล้ว
  7. กองทุนฯ อบต.โพนทัน ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลโพนทันมี 5 หมู่บ้าน กำหนดกลุ่มตัวอย่างเฉลี่ยตามจำนวนประชาการให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน เฉลี่ยหมู่บ้านละ 50 ชุด โดยมีคณะทำงาน 5 คนเป็นผู้เก็บรับผิดชอบหมู่บ้านละ 1 คน (อบต.+รพ.สต.) ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลเองและรวบรวมมาลงข้อมูลในระบบ
  8. กองทุนฯ ทต.ดงแคนใหญ่ ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลดงแคนใหญ่มี 13 หมู่บ้าน คำนวนกลุ่มตัวอย่างให้ข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้านละ 10 – 14 ชุด (บ้านใหญ่เล็ก) โดยแบ่งเป็นกลุ่มช่วงอายุ 5 – 17 ปี จะเก็บที่โรงเรียน 2 แห่ง (จำนวน 50 ชุด) ส่วนกลุ่มช่วง 18 ปีขึ้นไปเก็บตามที่กำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยมีทีมเก็บข้อมูล คือ เจ้าหน้าที่เทศบาล 5 คน และรวบรวมข้อมูลระดับชุมชน
  9. กองทุน อบต.ทุ่งมน ดำเนินการเก็บข้อมูลดังนี้ ตำบลทุ่งมนมี 9 หมู่บ้าน กำหนดกลุ่มตัวอย่างงให้ข้อมูลโดยเฉลี่ยตามประชาการให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านเฉลี่ยประมาณหมู่บ้านละ 22 – 24 ชุด โดยให้ประธาน อสม. ประจำหมู่บ้านละ 1 คน เป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูล ในส่วนข้อมูลระดับชุมชนเป็นทีมคณะทำงาน 3 คน เป็นทีมรวบรวมรวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน
  10. คณะทำงานกองทุนฯ ได้บันทึกข้อมูลแบบสอบถามเข้าในระบบเว็บไซต์ ซึ่งสามารถดูผลความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล ดังนี้
    ชื่อกองทุน จำนวนการกรอกข้อมูล (ชุด) บุคคล (200) ครัวเรือน (100) ชุมชน (1) กองทุนฯ ทต.ดงแคนใหญ่ 201 143 - กองทุนฯ อบต.นาคำ 212 154 1 กองทุนฯ อบต.กู่จาน 202 100 1 กองทุนฯ อบต.ทุ่งมน 139 83 - กองทุนฯ อบต.โพนทัน 204 101 1 กองทุนฯ อบต.สงเปือย 196 71 1 กองทุนฯ อบต.เหล่าไฮ 173 120 -
    1. คณะทำงานกองทุนฯ เข้าไปสร้างแผนงานสุขภาพปี 2566 ในระบบเว็บไซต์ จำนวน 10 แผน และได้วิเคราะห์ข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานในแต่ละแผนงาน อย่างน้อย 5 โครงการ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการพัฒนาโครงการต่อไป
    2. นัดหมายจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนเพื่อจัดดทำแผนงานและโครงการสุขภาวะ วันที่ 28 มีนาคม 2566

 

54 0

11. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • กล่าวต้อนรับและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องประเด็นในการขับเคลื่อน 8 ประเด็นสุขภาวะกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของ พชอ.
    โดยนายศักดิ์สิน กุลบุตรดี สาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ์
  • ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และนำเสนอการเก็บข้อมูลของกองทุนตำบลแต่ละพื้นที่ โดยนายสงกา  สามารถ วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาสุขภาวะของชุมชน แต่ละพื้นที่ โดยนายรพินทร์ ยืนยาว วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • แบ่งกลุ่ม ฝึกปฏิบัติการ “พัฒนาทักษะการเก็บข้อมูล”โดย นายวินัย วงศ์อาสา วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • สรุปผลการประชุมนัดหมายกิจกรรมต่อไปและปิดประชุม
    ทีมพี่เลี้ยงสรุป AAR ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พื้นที่เป้าหมาย 7 กองทุน ได้แก่
1. กองทุนฯองค์การบริหารส่วนตำบลโนนสำราญ - มี 11 หมู่บ้าน - กลุ่มวัยเด็ก เก็บข้อมูลนักเรียนประถมกับมัธยมต้น  โรงเรียน 2 แห่ง (โรงเรียนละ 20 คน) และอบต.สุ่มเก็บเองบางส่วน - (วัยทำงาน) เก็บข้อมูลระดับบุคคลและครัวเรือนร่วมกับเวทีประชาคม เฉลี่ยกลุ่มตัวอย่างตามประชากร/ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
- ผู้สูงอายุ มอบให้ CG เก็บข้อมูล (แบ่งออกเป็น 2 โซน) และอบต.สุ่มเก็บเองบางส่วน
- รวบรวมข้อมูลระดับชุมชน/กองทุน ขอข้อมูลจาก รพ.สต. ชุมชน อบต. (ข้อมูลใหม่ ได้แก่ สุรา บุหรี่) *งานที่ทำมาก่อนแล้ว ได้แก่ การลดอุบัติเหตุทางถนน

  1. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลกุดเสลา

- มี 16 หมู่บ้าน เฉลี่ยทุกหมู่บ้านๆละ 13 ชุด
- ใช้เวทีประชุมสภา อบต.ชี้แจงการเก็บข้อมูล โดยใช้ทีม
ส.อบต.เป็นทีมเก็บข้อมูล

  1. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลรุง

- มี 10 หมู่บ้าน เก็บข้อมูลเฉลี่ยหมู่บ้านละ 20 ชุด - แต่งตั้งคณะทำงาน 10 หมู่บ้านๆละ 2 คน (คัดเลือก อสม.) - มีการประชุมชี้แจงการเก็บข้อมูล

  1. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลตระกาจ

- มี 12 หมู่บ้าน (บ้านม่วง 8 ศรีอุดม 4)
- ทีมเก็บโดย อสม. หมู่บ้านละ 1-2 คน - มีโครงการขยะเปียกในชุมชน (จัดกิจกรรมพร้อมกับเก็บข้อมูลด้วย) - ในกลุ่มวัยเด็ก (สุ่มในโรงเรียนมัธยม)

  1. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลขนุน

- มี 15 หมู่บ้าน ใช้การสุ่มตัวอย่าง เน้นให้เกิดการกระจายของข้อมูล หมู่บ้านละ 15-20 ชุด
- มี 2 รพ.สต. เลือก อสม.เป็นทีม(5 คน) โดยมีการชี้แจงการเก็บข้อมูล และให้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเป็นทีม

  1. กองทุนองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำอ้อม

- มี 9 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน - เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มในชุมชนและผู้มาติดต่อราชการในอบต.
- ทีมคณะทำงาน 5 คน เป็นทีมเก็บข้อมูล

  1. กองทุนเทศมนตรีตำบลสวนกล้วย

- มี 12 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามหมู่บ้านๆละ 20 ชุด
- ทีมเก็บข้อมูลมาจาก 2 รพ.สต. เลือกทีม อสม. 2 คนต่อ รพ.สต. (ลงเก็บข้อมูลเป็นทีม) *สร้างความเข้าใจกับทีมก่อน

  • คณะทำงานกองทุนฯ ได้บันทึกข้อมูลแบบสอบถามเข้าในระบบเว็บไซต์ ซึ่งสามารถดูผลความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล ดังนี้
    ชื่อกองทุน จำนวนการกรอกข้อมูล (ชุด) บุคคล (200) ครัวเรือน (100) ชุมชน (1) กองทุนฯ ทต.สวนกล้วย 193 235 1 กองทุนฯ อบต.โนนสำราญ 104 207 1 กองทุนฯ อบต.กุดเสลา 200 200 - กองทุนฯ อบต.รุง 150 200 1 กองทุนฯ อบต.ตระกาจ 150 200 1 กองทุนฯ อบต.ขนุน 102 204 1 กองทุนฯ อบต.น้ำอ้อม 124 200 1
  • คณะทำงานกองทุนฯ เข้าไปสร้างแผนงานสุขภาพปี 2566  ในระบบเว็บไซต์ จำนวน 10 แผน และได้วิเคราะห์ข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานในแต่ละแผนงาน อย่างน้อย 5 โครงการ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการพัฒนาโครงการต่อไป
  • นัดหมายจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำแผนงานและโครงการสุขภาวะ วันที่ 29 มีนาคม 2566

 

50 0

12. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • กล่าวต้อนรับและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องประเด็นในการขับเคลื่อน 8 ประเด็นสุขภาวะกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของ พชอ. โดยนายสมัย พูลทอง สาธารณสุขอำเภอม่วงสามสิบ
  • ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และนำเสนอการเก็บข้อมูลของกองทุนตำบลแต่ละพื้นที่ โดยนายสงกา  สามารถ วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาสุขภาวะของชุมชน แต่ละพื้นที่ โดยนายรพินทร์ ยืนยาว วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการ “พัฒนาทักษะการเก็บข้อมูล”โดย นายวินัย วงศ์อาสา วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • สรุปผลการประชุมนัดหมายกิจกรรมต่อไปและปิดประชุม
    ทีมพี่เลี้ยงสรุป AAR ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พื้นที่เป้าหมาย 5 กองทุน ได้แก่
1. กองทุนฯอบต.หนองเหล่า - มี 15 หมู่บ้าน ใช้ทีม อสม.หมู่บ้านละ 1 คน - เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน

  1. กองทุนฯอบต.ดูมใหญ่

- ใช้ทีม อสม.เก็บข้อมูล มี 13 หมู่บ้านละ 2 คน โดย รพ.สต. 2 แห่ง เป็นพี่เลี้ยง รวบรวมข้อมูลส่ง อบต. - เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน

  1. กองทุนฯอบต.ยางสักกะโพลุ่ม

- มี 3 รพ.สต. ใช้ทีม อสม.หมู่บ้านละ 1 คน - มี 11 หมู่บ้าน - เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน

  1. กองทุนฯอบต.เหล่าบก

- มี 12 หมู่บ้าน ใช้ทีม อสม.หมู่บ้านละ 1 คน - มีเวทีชี้แจงทีมเก็บข้อมูล - รพ.สต.รวบรวมข้อมูล (เก็บข้อมูลได้ครบทุกชุด) - เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน

  1. กองทุนฯอบต.ยางโยภาพ

- มี 3 รพ.สต. มอบประธาน อสม. รับผิดเก็บข้อมูล
- มี 13 หมู่บ้าน
- เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน

  • คณะทำงานกองทุนฯ ได้บันทึกข้อมูลแบบสอบถามเข้า      ในระบบเว็บไซต์ ซึ่งสามารถดูผลความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล ดังนี้
    ชื่อกองทุน จำนวนการกรอกข้อมูล (ชุด) บุคคล (200) ครัวเรือน (100) ชุมชน (1) กองทุนฯ อบต.หนองเหล่า 204 99 1 กองทุนฯ อบต.ดูมใหญ่ 202 102 - กองทุนฯ อบต.ยางสักกะโพลุ่ม 212 110 1 กองทุนฯ อบต.เหล่าบก 234 108 1 กองทุนฯ อบต.ยางโยภาพ 215 198 -
  • คณะทำงานกองทุนฯ เข้าไปสร้างแผนงานสุขภาพปี 2566  ในระบบเว็บไซต์ จำนวน 10 แผน และได้วิเคราะห์ข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานในแต่ละแผนงาน อย่างน้อย 5 โครงการ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการพัฒนาโครงการต่อไป
  • นัดหมายจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำแผนงานและโครงการสุขภาวะ วันที่ 31 มีนาคม 2566

 

40 0

13. เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.โนนคูณ จ.ศรีสะเกษ

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • กล่าวต้อนรับและมอบหมายแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องประเด็นในการขับเคลื่อน 8 ประเด็นสุขภาวะกับประเด็นยุทธศาสตร์ ของ พชอ.
    โดยนายธีรศักดิ์  แย้มศรี สาธารณสุขอำเภอโนนคูณ
  • ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และนำเสนอการเก็บข้อมูลของกองทุนตำบลแต่ละพื้นที่ โดยนายสงกา  สามารถ วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • วิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาสุขภาวะของชุมชน แต่ละพื้นที่ โดยนายรพินทร์ ยืนยาว วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติการ “พัฒนาทักษะการเก็บข้อมูล”โดย นายวินัย วงศ์อาสา วิทยากรคณะทำงาน/พี่เลี้ยงระดับเขต
  • สรุปผลการประชุมนัดหมายกิจกรรมต่อไปและปิดประชุม
    ทีมพี่เลี้ยงสรุป AAR ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • พื้นที่เป้าหมาย 5 กองทุน ได้แก่
  1. กองทุนฯอบต.โนนค้อ

- มี 20 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามประชากร/กระจายทุกหมู่บ้าน - มี 3 รพ.สต. ใช้ทีม อสม. เป็นทีมเก็บข้อมูล
- อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูล

  1. กองทุนฯอบต.บก

- มี 17 หมู่บ้าน
- จัดประชุมทีมเก็บข้อมูล คือ อสม. โดยแบ่งทีมตาม    รพ.สต. 2 แห่ง
-
3. กองทุนฯอบต.โพธิ์ - มี 13 หมู่บ้าน เฉลี่ยเท่าๆกันทุกหมู่บ้าน - ทีมเก็บข้อมูล คือ มีทีมคณะทำงานกับทีมเยาวชน 5 คน (สภาเด็กและเยาวชนตำบล) *อยู่ระหว่างเก็บข้อมูล - ข้อมูลชุมชน ยังไม่ได้เก็บรวบรวม -
4. กองทุนฯอบต.หนองกุง - มี 18 หมู่บ้าน  2 รพ.สต. เฉลี่ยแบบสำรวจตามหมู่บ้าน - ใช้ทีมคณะทำงานหลายภาคส่วน ได้แก่ อบต.+ทีม รพ.สต.+ อสม. เป็นทีมเก็บข้อมูล/

  1. กองทุนฯอบต.เหล่ากวาง

- มี 12 หมู่บ้าน เฉลี่ยตามจำนวนประชากร/ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
- ทีมเก็บข้อมูล คือ อสม. ใช้การจับคู่เป็นทีม (5 ทีมๆละ 2 คน)
- เก็บข้อมูลได้ครบแล้ว

คณะทำงานกองทุนฯ ได้บันทึกข้อมูลแบบสอบถามเข้าในระบบเว็บไซต์ ซึ่งสามารถดูผลความก้าวหน้าการบันทึกข้อมูล ดังนี้
ชื่อกองทุน จำนวนการกรอกข้อมูล (ชุด) บุคคล (200) ครัวเรือน (100) ชุมชน (1) กองทุนฯ อบต.โนนค้อ 174 165 - กองทุนฯ อบต.บก 213 192 1 กองทุนฯ อบต.โพธิ์ 165 121 - กองทุนฯ อบต.หนองกุง 198 102 1 กองทุนฯ อบต.เหล่ากวาง 202 151 1 - คณะทำงานกองทุนฯ เข้าไปสร้างแผนงานสุขภาพปี 2566  ในระบบเว็บไซต์ จำนวน 10 แผน และได้วิเคราะห์ข้อมูลโครงการที่ควรจะดำเนินงานในแต่ละแผนงาน อย่างน้อย 5 โครงการ เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับการพัฒนาโครงการต่อไป
- นัดหมายจัดกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำแผนงานและโครงการสุขภาวะ วันที่ 30 มีนาคม 2566

 

40 0

14. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 22 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงแผนการดำเนินงาน โดย น.ส.จงกลนี ศิริรัตน์ ผู้ประสานโครงการฯเขตสุขภาพที่ 10
2.ร่วมวางแผนและออกแบบกำหนดการเวที และการทำแผนโครงการ โดยนายเชษฐา คันธจันทร์ ทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอเขื่องใน
3.อธิบายการสรุปผลการเก็บข้อมูล และร่วมแลกเปลี่ยนโดยทีมพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ ได้แก่ นายชาญชัย เสี้ยวทอง ทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอคำเขื่อนแก้ว พร้อมด้วยนางสุขกาย นาคผล ทีมพี่เลี้ยงระดับอำเภอเขื่องใน
4.สะท้อนผลการดำเนินงาน พร้อมสรุปผลและมอบหมายงาน หลังจากนั้นรับฟังข้อเสนอแนะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

•ฐานข้อมูล (ก่อน-หลัง) ใช้ข้อมูลที่เก็บใหม่ เชื่อมโยงกับโครงการในปีงบ 2566 และใช้ขยายผลมากขึ้นในปีงบประมาณ 2567 (พิจารณาจากข้อมูลใน 10 ประเด็นที่มีการจัดเก็บข้อมูล) •ประเด็นปัญหาสุขภาพ (ในระบบโปรแกรมของ สสส.+มอ.-มองเห็นภาพข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพในรวมทั้งตำบล) ในระบบ สปสช.เห็นข้อมูลเฉพาะประเด็นที่มีการนำเสนอจากหน่วยงานขอรับสนับสนุนงบประมาณ •การพัฒนาศักยภาพ ทำอย่างไรจะไปถึงคณะกรรมการกองทุน เช่น นำใช้ข้อมูลจากการสำรวจ นำเสนอต่อคณะกรรมการกองทุน •ใน อ.เขื่องใน มีการจัดเก็บข้อมูลที่ครอบคลุมทุกมิติ และทุกกลุ่มวัย ครบทุกครัวเรือน (โปรแกรมออนไลน์ ของ สสส.สำนัก 3-TACNAP) •การบูรณาการข้อมูลจากระบบโปรแกรม (ถ้ากรอกข้อมูลในโปรแกรม สสส.+มอ.ก่อน แล้วนำไปใช้กับโปรแกรม สปสช.จะเกิดประโยชน์ได้มาก) •การจัดสรรงบประมาณ แบบแบ่งสัดส่วนตามกลุ่มเป้าหมายและหน่วยงาน ตัวชี้วัดโครงการ ข้อที่ 1 และ 2 ได้กองทุนฯ เป้าหมายเข้าร่วมดำเนินงานเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำแผนงานและพัฒนาโครงการสร้างเสริมสุขภาวะที่สอดคล้องแผนงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น และข้อที่ 3 ได้คณะทำงาน/พี่เลี้ยงเข้าร่วมดำเนินการเพื่อเสริมทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของ

 

30 0

15. พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม 2.ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุม
3.ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและนำเสนอกระบวนการการพัฒนาโครงการ
4.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ได้แก่ ช่วงที่ 1 แลกเปลี่ยน/ถาม-ตอบ, ช่วงที่ 2 การแบ่งกลุ่มเพื่อให้แต่ละพื้นที่กรอกข้อมูลแผนงานในระบบเว็บไซต์ และช่วงที่ 3 รับฟังข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการ โดยทีมวิทยากรและทีมพี่เลี้ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทำให้พี่เลี้ยงที่มีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการของ กองทุนฯ ซึ่งภาพรวมจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาทักษะการจัดทำแผนงานสุขภาวะ 8 ประเด็นให้กับพี่เลี้ยงกองทุนและการเขียนข้อเสนอโครงการผ่านทาง Website”
- พื้นที่ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ มีแผนงานที่เสนอผ่านทางเว็บไซต์แล้ว ทั้งสิ้น 88 แผน 19 โครงการ (ตามภาพประกอบ/ข้อมูล ณ วันที่ 25 เมษายน 2566)
- พื้นที่ อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี มีแผนงานที่เสนอผ่านทางเว็บไซต์แล้ว ทั้งสิ้น 58 แผน 30 โครงการ (ตามภาพประกอบ/ข้อมูล ณ วันที่ 26 เมษายน 2566)
- พื้นที่ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี มีแผนงานที่เสนอผ่านทางเว็บไซต์แล้ว ทั้งสิ้น 58 แผน 30 โครงการ (ตามภาพประกอบ/ข้อมูล ณ วันที่ 27 เมษายน 2566)
- พื้นที่ อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร มีแผนงานที่เสนอผ่านทางเว็บไซต์แล้ว ทั้งสิ้น 87 แผน 19 โครงการ (ตามภาพประกอบ/ข้อมูล ณ วันที่ 28 เมษายน 2566)
- พื้นที่ อ.โนนคูณ จ.ศรีสะเกษ มีแผนงานที่เสนอผ่านทางเว็บไซต์แล้ว ทั้งสิ้น 63 แผน 16 โครงการ (ตามภาพประกอบ/ข้อมูล ณ วันที่ 29 เมษายน 2566)
ซึ่งหลังจากนี้จะได้ดำเนินการพัฒนาแผนงานและเขียนโครงการให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ความเชื่อมโยง และการประสานงานกันกับกิจกรรมหรือโครงการอื่นๆ หรือผู้มีส่วนได้เสียหรือหน่วยงานองค์กรอื่นๆ: มีกระบวนการทำงานร่วมกันผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีมพี่เลี้ยงแต่ละพื้นที่ที่มีการจัดทำแผนงานและโครงการผ่านทาง Website กองทุนสุขภาพตำบล สามารถยกระดับทีมพี่เลี้ยงให้สามารถนำกลับไปทำในพื้นที่และถ่ายทอดการเขียนแผนงานและโครงการให้พื้นที่อื่นๆ ได้

 

90 0

16. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

• กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมโดย น.ส.จงกลนี ศิริรัตน์ มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี (คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10) • ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา โดย นายรพินทร์ ยืนยาว มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี (คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10)
o โดยโครงการฯ มีแผนงาน ขั้นตอนและกระบวนการที่ดำเนินการมาแล้วคือ การประชุมร่วมคณะทำงานระดับเขตและคณะทำงานระดับอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน, ชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและสานความร่วมมือ (MOU) เพื่อขับเคลื่อนประเด็นสุขภาวะ 8 ประเด็น, ชี้แจงทำความเข้าใจและพัฒนาทักษะการเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานสุขภาวะ 8 ประเด็นให้กับพี่เลี้ยงกองทุน, การสนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ 1. การจัดการระบบอาหาร 2. การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3. การจัดการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ สารเสพติด 4. การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน 5. สุขภาพจิต 6. มลพิษทางอากาศ 7. การจัดการขยะ 8. การป้องกันโรคอุบัติใหม่  และการพัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนเพื่อให้สามารถจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ  ติดตามประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์ มาแล้ว 1 ครั้ง ในพื้นที่เขต 10 จำนวน 5 อำเภอ 3 จังหวัด (พื้นที่ดำเนินการ 32 แห่ง) • นำเสนอและร่วมแลกเปลี่ยนความคืบหน้าการเขียนแผนงานและโครงการ ภายหลังจากการพัฒนาทักษะการจัดทำแผนงาน/โครงการ ให้กับพี่เลี้ยงกองทุนและการเขียนข้อเสนอโครงการในระบบเว็บไซต์
ครั้งที่ 1 โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบล o ตำบลโนนสำราญ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ ได้แผนงาน  10 ด้าน และนำไปสู่การพัฒนากองทุนสุขภาพตำบล โดยบางเรื่องได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก อบต.โนนสำราญ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ และบางเรื่องเป็นเรื่องที่ทางท้องถิ่นดำเนินการอยู่แล้ว และบางเรื่องต้อของบประมาณจากกองทุนฯ เพื่อดำเนินการในพื้นที่ แต่มีปัญหาอุปสรรคในการกรอกข้อมูลผ่านทางระบบเว็บไซต์ เนื่องจาก ผู้ปฏิบัติงานและผู้ลงข้อมูลในระบบอาจจะเป็นคนละคนกัน และมีข้อเสนอแนะว่าให้สามารถเข้าไปแก้ไขข้อมูลโครงการในระบบเว็บไซต์ได้ตลอดเวลา เพื่อให้ข้อมูลของโครงการมีรายละเอียดมากขึ้น เพราะเมื่อมีการกดอนุมัติโครงการแล้วจะไม่สามารถเข้าไปแก้ไขได้ o ตำบลหนองเหล่า อำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี แรกเริ่มได้มีการนำข้อมูลเข้าระบบเว็บไซต์ได้จำนวน 10 โครงการ แต่เมื่อมีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์ ก็ได้ทราบว่าการกรอกข้อมูลเกี่ยวกับโครงการบางส่วนยังไม่ถูกต้องและไม่สอดคล้องตามประเด็นปัญหา และพบปัญหาสรรคในการดำเนินงานคือโครงการที่ได้รับการอนุมัติ แต่ไม่ใช้ประเด็นตามแผนงานสุขภาวะ 8 ประเด็น ก็ไม่สามารถที่จะแก้ไขได้ ในระบบเว็บไซต์
o ตำบลเหล่าบก อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี แผนงานที่ได้กรอกในระบบเว็บไซต์ มี 8 แผนงาน 15 โครงการ  มีโครงการด้านการจัดการขยะ การป้องกันโรคติดต่อ กิจกรรมทางการโดยการส่งเสริมการออกกำลังกายผู้สูงอายุ การจัดการความปลอดภัยทางถนน โครงการงานบุญปลอดเหล้า โดยได้มีการพัฒนาโครงการและบางกิจกรรมตามโครงการหรือแผนงานที่เราเขียนไปนั้น ยังอยู่ระหว่างการดำเนินการ
o ตำบลสร้างถ่อ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี เนื่องจากผู้บันทึกข้อมูลจะเป็นคณะทำงานจาก อบต.สร้างถ่อ อ.เขื่องใน จ.อุบลฯ แต่ข้อมูลที่บันทึกในโครงการนั้นจะมาจากหลากหลายภาคส่วนร่วมกันเขียนโครงการ เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ อสม. สถานศึกษา (โรงเรียน) รพ.สต. ตำบลสร้างถ่อ มีการพัฒนาแผนงานโครงการ เช่น กิจกรรมทางกาย มีการเขียนโครงการ 17 โครงการ (ดำเนินการทุกหมู่บ้าน) ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสุขภาพตำบล ประเด็นเรื่องยาเสพติด/ยาสูบ/สุรา มี 2 โครงการ ประเด็นความปลอดภัยทางถนน มีการร่วมเขียนโดยกลุ่มประชาชนในพื้นที่ ประเด็นมลพิษทางอากาศ จัดทำในนามหมู่บ้าน และได้รับงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติมจาก อบต.สร้างถ่อ ด้วย ส่วนแผนงานด้านสุขภาพจิต ผู้ดำเนินงานจะมีทีม อสม. และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ในพื้นที่ร่วมเขียนโครงการด้วย กิจกรรมทางกาย ส่งเสริมกิจกรรมทางกายผู้สูงอายุ โดยทาง อบค.มีการร่วมสนับสนุนงบประมาณเพื่อให้กิจกรรมต่างๆ ดำเนินการต่อไปได้ รวมถึงการช่วยเขียนแผนงาน โครงการ ทำให้กิจกรรมในพื้นที่มีความหลากหลาย o ตำบลตระกาจ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ พื้นที่ตำบลตระกาจ มีการทำงานที่สอดคล้องกับประเด็นสุขภาวะอยู่แล้ว แต่เมื่อเขียนแผนงาน/โครงการในระบบเว็บไซต์ อาจจะมีชื่อแผนงาน/โครงการที่ไม่สอดคล้องกับประเด็นสุขภาวะทั้ง 8 และ อบต.ตระกาจ ก็มีการกระจายงบประมาณเพื่อสนับสนุนแผนงานตามนโยบายด้วย
o ตำบลกู่จาน อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร มีการดำเนินการ 4 แผนงาน คือ แผนงานสุขภาพจิต แผนงานโรคอุบัติใหม่ แผนงานมลพิษและสิ่งแวดล้อม แผนงานความปลอดภัยทางถนน โดยเป็นแผนงานที่ยกระดับจากการสนับสนุนงบประมาณของกองทุนพัฒนาสุขภาพตำบล แต่ในการกรอกข้อมูลทางระบบเว็บไซต์ พบปัญหาเนื่องจากการกรอกข้อมูลชื่อโครงการจะไม่ตรงกับแผนงานของท้องถิ่น จึงแก้ปัญหาโดยการนำแผนงานของท้องถิ่นเข้าสู่ระบบเว็บไซต์ใน เพื่อให้โครงการสามารถดำเนินการต่อไปได้ และเชื่อมโยงความสอดคล้องแผนงานของพื้นที่และแผนงานที่ขอสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสุขภาพตำบล o ตำบลสงเปือย อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ก่อนที่จะมีการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบเว็บไซต์กองทุนพัฒนาสุขภาพตำบลนั้น ทางท้องถิ่นได้มีการจัดทำแผนสุขภาพก่อน เพื่อให้เห็นว่าในพื้นที่มีประเด็นปัญหาเรื่องใด และจะได้มีการเขียนแผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ ซึ่งได้แผนที่สอดคล้องกับประเด็นในพื้นที่และประเด็นสุขภาวะ 2 แผน คือ เรื่องปัญหาสุขภาพจิตและประเด็นสิ่งเสพติด
• ข้อเสนอแนะ
o เพื่อให้แผนงาน/โครงการมีความครอบคลุมทั้ง 8 ประเด็นสุขภาวะ เห็นว่าถ้าได้มีการทำงานหรือปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้ง ท้องถิ่น รพ.สต. จะทำให้เห็นว่ามีโครงการที่สอดคล้องตามประเด็นสุขภาวะอยู่แล้ว และมีการดำเนินการอยู่ แต่ไม่ได้นำมาเป็นแผนงาน/โครงการ ที่ขอสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสุขภาพตำบล ซึ่งถ้าได้มีการประชุมร่วมกันอาจจะได้แผนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับประเด็นสุขภาวะ และสามารถนำไปบูรณาการพื่อทำงานร่วมกันได้ o จากการเขียนแผนงาน/โครงการในระบบเว็บไซต์ จะพบมีปัญหาเรื่องการกรอกข้อมูลอยู่  เช่น การกรอกชนาดของปัญหา ซึ่งหลายพื้นที่อาจจะยังไม่เข้าใจในรายละเอียดส่วนนี้ แต่ก็มีหลายพื้นที่ที่สามารถกรอกได้อย่างสมบูรณ์  จึงอยากให้มีโมเดลหรือแผนภาพขั้นตอนการกรอกข้อมูลตั้งแต่เริ่มต้นจนสมบูรณ์ จะสามารถช่วยให้เกิดความเข้าใจมากขึ้น
• แนะนำขั้นตอน การติดตามโครงการทางระบบเว็บไซต์ โดย นายวินัย วงษ์อาสา (คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10) • ร่วมวางแผนและออกแบบกำหนดการประชุมเขิงปฏิบัติการ : พัฒนาพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์ ครั้งที่ 2 โครงการ “บูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน” ในพื้นที่เขต10 o เป้าหมาย/วัตถุประสงค์การจัดการประชุม : เพื่อสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมาและแลกเปลี่ยนบทเรียนการดำเนินงานในการพัฒนาแผนงาน/โครงการปี 2566  และร่วมกันวางแผนงานโครงการระยะต่อปี 2567
o ผู้เข้าร่วม : ประกอบด้วย คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบลในพื้นที่เขต 10 จำนวน 5 อำเภอ 3 จังหวัด (พื้นที่ดำเนินการ 32 แห่ง) o กระบวนการสำคัญ : 1) คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบลรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ ที่ผ่านมาในภาพรวม  2) คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับแลกเปลี่ยนบทเรียนโครงการที่ดีแผนที่ดีของตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่ตำบลอื่นๆ 3) การเติมเต็มข้อมูลและแนวทางการพัฒนาแผนงาน/โครงการ การติดตามแผนงาน/โครงการที่มีคุณภาพของคณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลลัพธ์เชิงปรอมาณ ผู้เข้าร่วมจำนวน 25 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับอำเภอและระดับตำบลจากพื้นที่ 5 อำเภอ 3 จังหวัด • ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ จากการประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการประชุมเขิงปฏิบัติการ : พัฒนาพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์ ครั้งที่ 2 โครงการ “บูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน” ในพื้นที่เขต10 พบว่า พื้นที่ดำเนินการพื้นที่เขต 10 จำนวน 5 อำเภอ 3 จังหวัด (พื้นที่ดำเนินการ 32 แห่ง) มีความคืบหน้าในการเขียนแผนงาน/โครงการในระบบเว็บไซต์ โดยมีคณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบลช่วยพัฒนาศักยภาพผู้เขียนแผนงาน/โครงการ โดยการมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วน เช่น ท้องถิ่น สถานศึกษา อสม. ประชาชนทั่วไป และมีการยกระดับศักยภาพคณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบลในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการจับคู่ (BUDDY) คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบลใกล้เคียง • ได้กำหนดการประชุมเขิงปฏิบัติการ : พัฒนาพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์ ครั้งที่ 2 โครงการ “บูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน” ในพื้นที่เขต10 ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2566 เวลา  08.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมอิ่มบุญ 1 โรงแรมบ้านสวนคุณตา กอล์ฟ แอนด์ รีสอร์ท อ.วารินชำราบ จ.อุบลราชธานี

 

30 0

17. พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์

วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเขิงปฏิบัติการ : พัฒนาพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์ ครั้งที่ 2 โครงการ “บูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน” ในพื้นที่เขต10

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม
1. เพื่อสรุปผลการดำเนินงาน  โครงการ “บูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน” ในพื้นที่เขต 10 ที่ผ่านมา 2. เพื่อแลกเปลี่ยนบทเรียนในการดำเนินการพัฒนาการเขียนแผนงานและการเขียนโครงการในระบบเว็บไซต์ 3. เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการและติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการคุณภาพ การเสนอโครงการขอรับงบกองทุนฯ และการรายงานผลการดำเนินงานในระบบเว็บไซต์ กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ : ข้อที่  1 และข้อที่ 2 และตัวชี้วัดผลงานของโครงการ : ข้อที่ 1 และ 4
• กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมและชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการประชุมเชิงปฏิบัติการ โดย นายวินัย วงษ์อาสา (คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10) • แนะนำคณะทำงาน คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบล • รายงานผลภาพรวมของการดำเนินงานโครงการ ฯ ที่ผ่านมา โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอ (นำเสนออำเภอละ 5-7 นาที) o อำเภอกันทรลักษ์ ได้แก่ ตำบลโนนสำราญ  ตำบลตระกาจ o อำเภอม่วงสามสิบ ได้แก่ ตำบลหนองเหล่า ตำบลเหล่าบก o อำเภอเขื่องใน ได้แก่ ตำบลสร้างถ่อ ตำบลหัวดอน o อำเภอโนนคูณ ได้แก่ ตำบลบก ตำบลโนนค้อ o อำเภอคำเขื่อนแก้ว ได้แก่ ตำบลสงเปือย ตำบลกู่จาน เป็นการนำเสนอการดำเนินโครงการ ฯ ภาพรวมระดับอำเภอ โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอ โดยมีรายละเอียดในการนำเสนอ คือ จำนวนโครงการที่ดำเนินการและบันทึกข้อมูลในระบบเว็บไซต์ การพัฒนาการเขียนแผนงาน/โครงการ และการนำไปปฏิบัติงาน เพื่อให้เห็นความเกี่ยวข้องและเชื่อมโยงของแผนงาน/โครงการ กะบประเด็นสุขภาวะทั้ง 8 ด้าน
• นำเสนและแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดี และแผนที่ดีของกองทุนฯ โดย คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับตำบล (นำเสนอตำบลละ 5-7 นาที) o ตำบลโนนสำราญ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ o ตำบลตระกาจ อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ o ตำบลหนองเหล่า  อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี o ตำบลเหล่าบก  อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี o ตำบลสร้างถ่อ  อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี o ตำบลหัวดอน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี o ตำบลบก อ.โนนคูณ จ.ศรีสะเกษ o ตำบลโนนค้อ อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี o ตำบลสงเปือย อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร o ตำบลกู่จาน อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร • เป็นการนำเสนอการดำเนินโครงการ ฯ รายตำบล โดยให้พี่เลี้ยงระดับตำบลเป็นผู้นำเสนอผลการดำเนินงานการพัฒนาแผนงาน/โครงการ  โดยนำเสนอเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่อื่นๆ ตั้งแต่สถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ บริบทประเด็นปัญหาที่มีความสอดคล้องกับขับเคลื่อนเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้แก่ ยาสูบ สุราและสิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทาง กาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ และความเชื่อมโยงของการดำเนินการบูรณาการร่วมกันกับหน่วยงานท้องถิ่น เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีจำนวนแผนงาน/โครงการที่มีการดำเนินการไปแล้วจำนวนเท่าใด หรืออยู่ในระหว่างการดำเนินโครงการ หรือเป็นโครงการบูรณาการร่วมกับท้องถิ่น เช่น การได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก อบต. เทศบาล เพื่อขับเคลื่อนโครงการตามที่ได้มีการขอสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสุขภาพระดับตำบล ความคาดหวังต่อการดำเนินโครงการในช่วง 1 ปี รวมถึงการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดี และแผนที่ดีของแต่ละตำบล เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำไปปรับใช้ตามความเหมาะสมกับพื้นที่ • ร่วมแลกเปลี่ยน / ข้อเสนอแนะ การพัฒนาโครงการและแผนงาน โดย คณะทำงานโครงการฯ จาก สถาบันนโยบายสาธารณะมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ o จากการนำเสนอของพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบล ทางคณะทำงานโครงการฯ มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เรื่องความถูกต้องสมบูรณ์ของการเก็บข้อมูลที่นำมาลงในระบบเว็บไซต์ ก่อนที่จะมีการพัฒนาแผนงาน/โครงการ เนื่องจาก ข้อมูลส่วนใหญ่มาจากการทำแบบสอบถาม ซึ่งอาจมีปู้ตอบแบบสอบถามไม่ครอบคลุมทั้งหมดของพื้นที่แต่ละตำบล จึงมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบันทึกข้อมูลและการนำมาเขียนแผนงาน/โครงการ เช่น การอ้างอิงข้อมูลจากหน่วยงานสาธารณสุขในระดับอำเภอ ระดับจังหวัด หรือข้อมูลจากหน่วนงานภาครัฐที่มีการจับเก็บอย่างต่อเนื่อง เพื่อมาประกอบกับการเขียนแผรงาน/โครงการ ให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ และสอดคล้องกับบริบทพื้นที่ • มอบหมายการติดตามแผนงาน/โครงการ โดย การจับคู่ (BUDDY) พี่เลี้ยงในพื้นที่ใกล้เคียง o เพื่อการติดตามแผนงาน/โครงการที่มีคุณภาพ พื้นที่เขต 10 มีความเห็นร่วมกันในการเสนอและนำรูปแบบการจับคู่พี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบลในพื้นที่ที่มีความใกล้เคียงกัน เนื่องจากแต่ละพื้นที่จะมีบทเรียนของการพัฒนาแผนงาน/โครงการที่แตกต่างกัน หากเป็นพื้นที่ที่มีรูปแบบการบูรณาการ หรือการเขียนแผนงาน/โครงการ ในประเด็นใกล้เคียงกัน ก็สามารถที่จะมีการปรึกษาหารือและให้คำแนะนำร่วมกันได้ จึงมีการจับคู่พื้นที่และมอบหมายการติดตามการพัฒนาแผนงาน/โครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมจำนวน 100 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับอำเภอและระดับตำบลจากพื้นที่ 5 อำเภอ 3 จังหวัด
• ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ จากการประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการประชุมเขิงปฏิบัติการ : พัฒนาพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์ ครั้งที่ 2 โครงการ “บูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน” ในพื้นที่เขต10 พบว่า พื้นที่ดำเนินการพื้นที่เขต 10 จำนวน 5 อำเภอ 3 จังหวัด • มีความคืบหน้าในการเขียนแผนงาน/โครงการในระบบเว็บไซต์ และได้จำนวนแผนงาน/โครงการที่สามารถขออนุมัติจากกองทุนพัฒนุขภาพระดับตำบลได้ แต่ยังมีปัญหาอุปสรรค เช่น การสลับเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลในระบบเว็บไซต์ การบันทึกข้อมูลในระบบเว็บไซต์ การพัฒนาศักยภาพคณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบ เกิดรูปแบบการติดตามการพัฒนาศักยภาพ คณะทำงานพี่เลี้ยงระดับอำเภอและระดับตำบลในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยการจับคู่ (BUDDY) และการเขียนแผนงาน/โครงการ มีการบูรณาการกับหน่วยงานท้องถิ่น เช่น เช่น การได้รับงบประมาณสนับสนุนเพื่อขับเคลื่อนโครงการตามที่ได้มีการขอสนับสนุนจากกองทุนพัฒนาสุขภาพระดับตำบล หรือนำแผนงาน/โครงการของพื้นที่ตำบลที่มีอยู่แล้วมาปรับให้เข้ากับสถกานการณ์ประเด็นปัญหาของพื้นที่

 

60 0

18. ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 4

วันที่ 10 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม
เพื่อจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ : ข้อที่  1 และข้อที่ 2 และตัวชี้วัดผลงานของโครงการ : ข้อที่ 4

• กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมโดย น.ส.จงกลนี ศิริรัตน์ มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี (คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10)

• สรุปผลการจัดทำแผนงานและโครงการในระบบ และร่วมแลกเปลี่ยน โดย นายวินัย วงศ์อาสา และคณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10         อ้างถึง การขับเคลื่อนที่ผ่านมาภายใต้กองทุนสุขภาพตำบล โดยโครงการฯ มีแผนงาน ขั้นตอนและกระบวนการที่ดำเนินการมาแล้วคือ การประชุมร่วมคณะทำงานระดับเขตและคณะทำงานระดับอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน, เพื่อขับเคลื่อนประเด็นสุขภาวะ 8 ประเด็น คือ 1. การจัดการระบบอาหาร 2. การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3. การจัดการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ สารเสพติด 4. การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน        5. สุขภาพจิต 6. มลพิษทางอากาศ 7. การจัดการขยะ 8. การป้องกันโรคอุบัติใหม่ โดยได้มีการอธิบายเพิ่มเติมในประเด็นการขับเคลื่อนข้อที่ 2 ที่ได้มีการประชุมกับส่วนกลางกับกิจกรรมที่กำลังผลักดัน คือ การเพิ่มกิจกรรมทางกาย หรือ กิจกรรม PA (Physical Activities) ความหมายของ PA ในโครงการ ไม่ใช่แค่การออกกำลังกาย การเต้นแอโรบิคเท่านั้น แต่เป็นการเคลื่อนไหวร่างกายทุกมิติ ทั้งการทำงาน การนันทนาการ ฯลฯ         โจทย์ความท้าทาย ในการขับเคลื่อนงานกองทุนตำบล คือ เราจะตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาด้านสุขภาวะคนไทยได้อย่างไร ทางกองทุนร่วมกับภาควิชาการกำหนดตัวชี้วัดประเด็นครอบคลุมใน 8 มิติ ทั้งนี้ได้มีการพัฒนาระบบโปรแกรมการติดตามโครงการกองทุนขึ้นมาใช้ควบคู่กับ โปรแกรมของ สปสช. เป็นการพัฒนาแผน พัฒนาโครงการ สรุปงานส่ง เพื่อแก้ไขปัญหา สุขภาวะในชุมชน โดยมีตัวชี้วัดของกองทุน คือ จะต้องได้ 320 แผน (โครงการ) (โดยนับปี 66 - 67 ได้)  อยากให้ช่วยกันผลักดันให้พื้นที่ที่ร่วมกับกองทุน เข้ามาใช้โประแกรมคู่ขนาน เพื่อเป็นการติดตามได้ และเป็นการเก็บข้อมูลการรายงานผลสำเร็จของโครงการ
        ปัญหาอุปสรรคที่พบในการจัดทำข้อมูล แผนในระบบ (Excal) กับแผนในกองทุน (เว็บไซต์) ไม่ตรงกัน ทำให้ไม่สามารถนำแผนในระบบมาใช้กับกองทุนได้ คณะทำงานยังไม่เข้าใจระบบ เนื่องจากยังมีความซับซ้อน จึงได้มีการ Work Shop การใช้งานในระบบโปรแกรมคู่ขนาน ในการใช้ติดตามรายงานผลของโครงการ ขอความช่วยเหลือจากทีมพี่เลี้ยงกองทุนตำบลให้ช่วยเข้าไปดู และดำเนินการทำรายงานติดตามโครงการ โครงการไหนยังไม่กดติดตามให้ช่วยเข้าไปกดติดตามในเมนู เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนของการขับเคลื่อนงานกองทุน
        จากนั้นได้มีการแลกเปลี่ยนกันในการกำหนดตัวชี้วัดในโครงการ ให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา และความเป็นไปได้ของการดำเนินงาน เช่น ระยะเวลา งบประมาณ และทุนที่มีอยู่ • ร่วมวางแผนและออกแบบกำหนดการเวที และการทำแผนโครงการ         การเตรียมความพร้อม ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนตำบล ครั้งที่ 3 ได้รายงานความก้าวหน้าของแต่ละตำบล เพื่อรวบรวมผลการติดตาเป็นข้อมูลในเวทีเพื่อแลกเปลี่ยน รวมทั้งได้ช่วยกันเติมเต็ม แนวทางการขับเคลื่อนงานที่ยังไม่สำเร็จ • ร่วมแลกเปลี่ยนพร้อมสรุปผลและมอบหมายงาน         กำหนดการ สถานที่ประชุม และ การกำหนดการเตรียมความพร้อมข้อมูลในการนำเสนอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมจำนวน 18 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับอำเภอและระดับตำบลจากพื้นที่ 5 อำเภอ 3 จังหวัด • ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : คณะทำงานทีมพี่เลี้ยงกองทุนตำบล ได้รับทราบความก้าวหน้าของโครงการ ได้เกิดการเรียนรู้การกำหนดตัวชี้วัดที่มีความสอดคล้องกับกับสถานการณ์ปัญหา และความเป็นไปได้ของการดำเนินงาน เช่น ระยะเวลา งบประมาณ และทุนที่มีอยู่ เกิดความรู้ความเข้าใจในการใช้งานโปรแกรมติดตามงานโครงการตามแผนงานของกองทุน • ได้กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ : ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนตำบล ครั้งที่ 3เพื่อติดตามแผนงานโครงการ ทั้ง 8 ประเด็นของปี2566และ2567 ในวันที่30 พฤศจิกายน2566 เวลา 08.00 - 16.30 น. ห้องประชุมอเนกประสงค์ โรงแรมบ้านสวนคุณตา กอล์ฟ แอนรีสอร์ท อำเภอวารินชำราบจังหวัดอุบลราชธานี (พี่เลี้ยงกองทุนละ 5 คน)

 

20 0

19. ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 21 กองทุน

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม/ประชุม
ประชุมเขิงปฏิบัติการ “พัฒนาพี่เลี้ยงระดับอำเภอและตำบลเพื่อเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์” โครงการ “บูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน” ในพื้นที่เขต 10

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม
เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่เพื่อนำมาจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ  ในพื้นที่เป้าหมายการดำเนินงานกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) และกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานพี่เลี้ยงกองทุนระดับอำเภอและตำบล

กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการ : ข้อที่  1 และข้อที่ 2 และตัวชี้วัดผลงานของโครงการ : ข้อที่ 4 และข้อที่ 5

• กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดประชุมโดย น.ส.จงกลนี ศิริรัตน์ มูลนิธิประชาสังคมจังหวัดอุบลราชธานี (คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10) • สรุปผลการจัดทำแผนงานและโครงการในระบบ และร่วมแลกเปลี่ยน โดย นายรพินทร์ ยืนยาว คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 o อ้างถึง การขับเคลื่อนที่ผ่านมาภายใต้กองทุนสุขภาพตำบล โดยโครงการฯ มีแผนงาน ขั้นตอนและกระบวนการที่ดำเนินการมาแล้วคือ การประชุมร่วมคณะทำงานระดับเขตและคณะทำงานระดับอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน และการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนเพื่อให้สามารถจัดทำแผนงาน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ  ติดตามประเมินผลโครงการในระบบเว็บไซต์ตั้งแต่การจัดทำแผนงาน การพัฒนาโครงการ และครั้งนี้คือการติดตามประเมินผลและรายงานโครงการ เพื่อขับเคลื่อนประเด็นสุขภาวะ 8 ประเด็น คือ 1. การจัดการระบบอาหาร 2. การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3. การจัดการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ สารเสพติด 4. การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน  5. สุขภาพจิต 6. มลพิษทางอากาศ 7. การจัดการขยะ 8. การป้องกันโรคอุบัติใหม่
o การดำเนินการที่ผ่านมาเกิดผลลัพธ์ความสำเร็จจากการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุนระเบตำบลและระดับอำเภอ คือ เกิดความร่วมมือ ลงนามข้อตกลง ความร่วมมือ ในการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและระดับอำเภอ เพื่อกำหนดเป็นเป้าหมายร่วมกันของแต่ละอำเภอ เกิดคณะทำงานระดับเขตและระดับอำเภอจำนวน 20 คน เกิดคณะทำงานระดับพื้นที่ตำบล เพื่อเข้าร่วมโครงการอย่างต่อเนื่อง โดยคัดเลือกตำบลละ 4-5 ท่าน รวมทั้งหมด 160 คน  เกิดพื้นที่กองทุนศูนย์เรียนรู้ 22 แห่ง เกิดพื้นที่กองทุนขยายผล 10 แห่ง และเกิดการจับคู่พี่เลี้ยงระดับตำบลและระดับอำเภอรูปแบบของการเป็นบัดดี้ เพื่อหนุนเสริมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน o การดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2566) กองทุนฯ สามารถพัฒนาแผนจำนวน 392 แผน พัฒนาโครงการเสนอขอรับงบประมาณจำนวน 336 โครงการ  และมีโครงการที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณ 153 โครงการ (ข้อมูล ณ วันที่ 15/11/66) o การดำเนินงานที่ผ่านมา (ปี 2566) พี่เลี้ยงระดับตำบลและอำเภอ ได้สะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานที่ผ่านมา เช่น พี่เลี้ยงกองทุนระดับพื้นที่ตำบล มีการเปลี่ยนแปลงรายชื่อ เนื่องจากการโยกย้ายตำแหน่งหน้าที่การงาน จึงส่งผลต่อการเข้าร่วมเพื่อพัฒนาศักยภาพเกิดความไม่ต่อเนื่องและขาดความเข้าใจในภาพรวมของการขับเคลื่อนงาน การเปลี่ยนแปลงแบบฟอร์มเอกสารทาง สปสช. ส่งผลต่อการติดตามโครงการในระบบเว็บไซต์ไม่เป็นปัจจุบัน  การเก็บข้อมูลและการระบุข้อมูล (ขนาดปัญหา) มีความคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง ส่งผลให้การกำหนดค่าเป้าหมายไม่สอดคล้องความจริง จึงได้มีการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการการกำหนดตัวชี้วัดของโครงการฯ ที่เสนอต่อกองทุนฯ เพื่อ ให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา และความเป็นไปได้จริงของการดำเนินงาน เช่น ระยะเวลา งบประมาณ และงบประมาณที่มีอยู่แล้ว • แลกเปลี่ยนกระบวนการทำงานของกองทุนศูนย์เรียนรู้ เขตสุขภาพที่ 10 (กองทุนตำบลโนนสำราญ อ.กันทรลักษ์, กองทุนตำบลกู่จาน อ.คำเขื่อนแก้ว, กองทุนตำบลสร้างถ่อ อ.เขื่องใน กองทุนตำบลบก อ.โนนคูณ, กองทุนตำบลเหล่าบก อ.ม่วงสามสิบ) o ประเด็นการแลกเปลี่ยน 3 ประเด็น คือ 1) การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น คุณค่าจากผลการดำเนินงาน 2) ปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่ความสำเร็จและที่เป็นอุปสรรค 3) แนวทางการแก้ไขและการพัฒนา o กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ นำเสนอแผนงานการจัดการขยะ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (Reduce) เพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน เพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (Reuse) เพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (Recycle) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพ เพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ มีระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 3 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2566 (ตามรอบปีงบประมาณ 2566) โดยมีกิจกรรมสำคัญ เช่น การประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยระดับตำบล เพื่อพิจารณาแนวทางการดำเนินงานการจัดการขยะในพื้นที่ ระดับหมู่บ้าน /ตำบล สอดคล้องกับแผนงาน ระดับอำเภอ และจังหวัด การส่งเสริมและการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน ตามนโยบาย รัฐบาล ภายใต้โครงการ "ถังขยะเปียกลดโลกร้อนของ อปท. ประเทศไทย ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย โดยเกิดผลสำเร็จจากการดำเนินงานกองทุนฯ คือ อบต.โนนสำราญ ได้แจ้งความประสงค์เสนอซื้อขายคาร์บอนเครดิตจากโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ
o กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เหล่าบก อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี นำเสนอแผนงานการการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เช่น โครงการโรงเรียนส่งเสริมคุณภาพชีวอตผู้สูงอายุตำบลเหล่าบก โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ เป็นต้น o กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สร้างถ่อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี นำเสนอแผนงานมลพิษทางอากาศ โดยยกตัวอย่างกรณีโครงการป้องกัน และดูแลสุขภาพจากภัยฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) เนื่องจากสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ที่แพร่กระจายครอบคลุมพื้นที่อำเภอเขื่องใน โดยส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคระดับตำบลสร้างถ่อ ได้พิจารณาแล้วว่า หากไม่รีบดำเนินการจัดการปัญหาดังกล่าว อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ทั้งในระยะสั้น และในระยะยาว จึงเสนอโครงการปี 2567 เพื่อป้องกันสุขภาพของประชาชนจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) และให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตัวเอง สามารถป้องกันตนเองจากจากอันตรายของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) และเพื่อป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่ทันต่อสถานการณ์ โดยกำหนดกิจกรรมสำคัญ เช่น การอบรม สื่อสารประชาสัมพันธ์ สร้างความรอบรู้แก่ประชาชนในพื้นที่
• อภิปราย แลกเปลี่ยน และร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน ในระยะต่อไป โดย  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และคณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10 o โจทย์แลกเปลี่ยน (โดยการแบ่งกลุ่มตามพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยน และนำเสนอรายอำเภอ) ถ้าจะมีการเพิ่มศักยภาพการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น/ตำบล  ควรทำอย่างไร 1.พัฒนาศักยภาพของคน ควรทำอย่างไรบ้าง (กรรมการกองทุน/ผู้รับผิดชอบกองทุน/ผู้ขอทุนจากกองทุน) 2.การสร้างชุดความรู้ นวัตกรรมต่อการสร้างสุขภาพ ควรทำอะไร อย่างไร
3.การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพควรทำอย่างไร (การทำแผน/การเขียนโครงการ/การทำโครงการ/การติดตาม ประเมินโครงการ) 4.กลไกสนับสนุน/การขับเคลื่อนงานกองทุน ควรมีกลไกอะไรบ้าง/บทบาท/อย่างไร (กลไกวิชาการ/ กลไกพี่เลี้ยง/ กลไก พชอ.)

1.อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี การพัฒนาศักยภาพของคน - จัดการศึกษาดูงานกรรมการกองทุน ศึกษาดูงานกองทุนต้นแบบ และอบรมเพิ่มศักยภาพระเบียบกฏหมาย ระเบียบการเบิกจ่ายกับกองทุน ให้กับคณะกรรมการกองทุน - ฝึกอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้รับผิดชอบกองทุนแต่ละตำบล - มีการจัดประชุมผู้ขอรับทุนโครงการ ชี้แจงการเขียนโครงการ การขอรับงบประมาณจากกองทุน การสร้างชุดความรู้ นวัตกรรมต่อการสร้างสุขภาพ -จัดทำสื่อความรู้โดยใช้ทรัพยากรในชุมชน (เช่น ลานนวดเท้าจากกะลาไม้ไผ่) การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ • การวางแผน : ทำแผนสุขภาพให้สอดคล้องกับปัญหาในชุมชน มีการจัดเวทีประชาคมทุกภาคีเครือข่าย • การเขียนโครงการ : ต้องสอดคล้องกับแผน ถูกต้องตามระเบียบสามารถตรวจสอบได้ • การทำโครงการ : ดำเนินงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ และตรงตามระยะเวลาที่กำหนด • การติดตามและประมินผลโครงการ : แต่งตั้งคณะกรรมการติดตาม ประเมินผลโครงการ และออกติตามเพื่อควบคุมและกำกับตามวัตถุประสงค์ กลไกสนับสนุน/การขับเคลื่อนงานกองทุน • กลไกวิชาการ จัดทำข้อมูลวิชาการโครงการต้นแบบที่เป็นตัวอย่าง พัฒนาต้นแบบที่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนอื่น ๆ ได้ • กลไกพี่เลี้ยง ช่วยกำกับ ติดตาม ดูแลให้คำแนะนำโครงการกับกองทุนตำบล • กลไก พชอ. นำประเด็นที่ต้องการมาพัฒนา และแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่อง เสนอต่อคณะกรรมการ พชอ. ระดับอำเภอ 2.อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี การพัฒนาศักยภาพของคน - จัดเวทีแลกเปลี่ยนระดับอำเภอ เรื่องการบริหารจัดการกองทุนให้กับคณะกรรมการ และผุ้ขอรับทุนกองทุน - จัดอบรมการจัดทำแผนโครงการสำหรับผู้ขอรับทุน การสร้างชุดความรู้ นวัตกรรมต่อการสร้างสุขภาพ -เลือกสื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย จัดเวทีถอดบทเรียนจัดการความรู้ การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ • การวางแผน : ค้นหาสถานการณ์ปัญหา จัดลำดับความสำคัญ มีการประชุมเพื่อแก้ไขปัญหา • การทำโครงการ : พิจารณาอนุมัติโครงการให้เร็วขึ้น • การติดตามและประมินผลโครงการ : ลงติดตามผลเป็นระยะ ๆ กลไกสนับสนุน/การขับเคลื่อนงานกองทุน • กลไกวิชาการ เชื่อมประสานกับ สปสช. และส่วนกลาง สร้างเป็นกลไกวิชาการ คอยกลั่นกรองแลควบคุมคุณภาพวิชาการของโครงการ • กลไกพี่เลี้ยง ดึง ผอ. รพ. นายอำเภอ สธ.อำเภอ ท้องถิ่นอำเภอช่วยเป็นพี่เลี้ยงกองทุน
• กลไก พชอ. บูรณาการระดับอำเภอสู่ตำบลขับเคลื่อนนโยบายระดับอำเภอ 3.อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ การพัฒนาศักยภาพของคน - อบรมพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างความเข้าใจปัญหาของพื้นที่ - จัดอบรมผู้รับผิดชอบกองทุนให้มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนโครงการ ให้ความรู้เรื่องระเบียบที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการโครงการ การสร้างชุดความรู้ นวัตกรรมต่อการสร้างสุขภาพ - อบรมพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างความเข้าใจปัญหาของพื้นที่ - จัดอบรมผู้รับผิดชอบกองทุนให้มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนโครงการ ให้ความรู้เรื่องระเบียบที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการโครงการ - วิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย สร้างสื่อที่ทันสมัยและเข้าใจง่ายให้เหมาะกับคนทุกกลุ่มวัย - แสวงหาความร่วมมือในการพัฒนา (ผู้รู้/ผุ้มีความสามารถ) - นำชุดความรู้ที่ได้นำมาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ร่วมกัน พัฒนาเป้นชุดความรู้ การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ • การวางแผน : เขียนแผนให้สอดคล้องกับปัญหา • การเขียนโครงการ : เขียนวัตถุประสงค์ชัดเจน ตรงประเด็น มีเป้าหมายที่ชัดเจน งบประมาณสมเหตุสมผล • การทำโครงการ : ดำเนินโครงการตามแผน • การติดตามและประมินผลโครงการ : มีการติดตามประเมินผล และมีการรายงานต่อคณะกรรมการ กลไกสนับสนุน/การขับเคลื่อนงานกองทุน • กลไกวิชาการ สร้างองค์ความรู้ตามบริบทของพื้นที่ สร้างสื่อวิชาการเพื่อการประชาสัมพันธ์หลากหลายรูปแบบ • กลไกพี่เลี้ยง สร้างช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างพี่เลี้ยงและกองทุนโดยมีการกำหนดผู้รับผิดชอบ (Admin) เพื่อประสาน
• กลไก พชอ. แต่งตั้งคณะทำงานแยกแต่ละด้าน 4.อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ การพัฒนาศักยภาพของคน - พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ขอรับทุนในกองทุน ในการบริหารจัดการโครงการ ให้รู้ถึงการตั้งปัญหา และกำหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับปัญหา ระเบียบการบริหารจัดการการเงินการบัญชี ต่าง ๆ
การสร้างชุดความรู้ นวัตกรรมต่อการสร้างสุขภาพ - การใช้สื่อที่หลากหลายรูปแบบ เช่น สื่อโปสเตอร์แผ่นพับ สื่อออนไลน์ สื่อวิดีโอ เป็นต้น - จัดทำบันทึกข้อตกลความร่วมมือ MOU กับผู้ขอรับทุนในการดำเนินงานโครงการ - ให้ อสม. เป็นสื่อกลางในการถ่ายถอดข้อมูลข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ในชุมชน
การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ • การวางแผน : จัดทำแผนให้สอดคล้องกับปัญหา และปัญหาต้องมาจากพื้นที่ ชุมชน หรือหน่วยงานในพื้นที่ เป็นผู้นำเสนอ งบประมาณไม่ควรสำรองไว้ 10 % ควรใช้ให้ครอบคลุม • การเขียนโครงการ : ต้องสอดคล้องกับแผนงาน ผู้ที่ขอรับทุนจะต้องเป็นผู้เขียนโครงการ ในโครงกการต้องมีผังกำกับงานที่ชัดเจน ต้องมีการต่อยอดโครงการอย่างต่อเนื่อง • การทำโครงการ : ทำตามผังควบคุมกำกับโครงการ เน้นคุณภาพไม่เน้นจำนวน • การติดตามและประมินผลโครงการ : ตั้งคณะกรรมการประเมินผลอย่างชัดเจน  นำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ คัดเลือกโครงการเด่น สร้างแรงจูงใจ มีการให้รางวัล และต่อยอดโครงการ กลไกสนับสนุน/การขับเคลื่อนงานกองทุน • กลไกวิชาการ เน้น สปสช. อบรมนายก อบต. และปลัด เรื่องกลไกของกองทุน อบรมผู้รับผิดชอบงานกองทุน และอบรมคณะกรรมการกองทุนในเรื่องสุขภาพ
• กลไกพี่เลี้ยง สร้างเครือข่ายวิชาการสำหรับพี่เลี้ยง จัดอบรมให้พี่เลี้ยงกองทุน พี่เลี้ยงไปถ่ายทอดต่อให้คณะกรรมการกองทุน มีการประชุม และสื่อสารกันมากขึ้น (ระหว่างพี่เลี้ยงและสปสช.)
• กลไก พชอ. พัฒนาความรู้และศักยภาพ เลขา พชอ. เรื่องการประสานงานกับกองทุน **ควรมีการจัดสรรงบประมาณให้ พชอ.ในเรื่องกองทุน 5.อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร การพัฒนาศักยภาพของคน - เพิ่มองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องกองทุนให้คณะกรรมการกองทุน ให้รู้บทบาทของตนเอง  มีส่วนร่วมในการจัดแผนงาน และแผนสุขภาพระดับตำบล - พัฒนาศักยภาพ แลอบรมให้ความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ กับผู้รับผิดชอบกองทุน ให้รู้บทบาทหน้าที่ และมีความเสียสละ - สำหรับผู้ขอรับทุน จะมีการเพิ่มศักยภาพในการเขียนโครงการ และระเบียบทางการเงิน และรู้บริบทปัญหาที่แท้จริงของพื้นที่ตนเอง
การสร้างชุดความรู้ นวัตกรรมต่อการสร้างสุขภาพ - จัดทำชุดสื่อประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น Tiktok Facebook - มีการวิเคราะห์ชุดความรู้ร่วมกันก่อนเผยแพร่ การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ • การวางแผน : เครือข่ายต้องมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนในตำบล (อบต. ผู้นำชุมชน และประชาชน) • การเขียนโครงการ : มีรูปแบบผังการดำเนินงานของกองทุน มีองค์ความรู้ในการเขียนโครงการ
• การทำโครงการ : ทำตามโครงการตามแผนงานอย่างมีขั้นตอนตามกรอบงบประมาณ และระเวลาการจัดการ จัดเตรียม อุปกรณ์ คน ให้พร้อมดำเนินการ • การติดตามและประมินผลโครงการ :ตั้งคณะกรรมการชุดติดตามประเมินผล ตามวัตถุประสงค์โครงการ กลไกสนับสนุน/การขับเคลื่อนงานกองทุน • กลไกวิชาการ มีการประสานงานระหว่างกลุ่มงาน ผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น line เพื่อแจ้งแผนการปฏิบัติงานรายเดือน
• กลไกพี่เลี้ยง มีการติดตาม และมีความรับผิดชอบต่องาน คอยสนับสนุนงาน ให้ความช่วยเหลือ
• กลไก พชอ. ควบคุม กำกับติดตามพื้นที่ แก้ไขปัญหาเพิ่มเติม แจ้งให้ดำเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ 6.อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร การพัฒนาศักยภาพของคน - เพิ่มองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องกองทุนให้คณะกรรมการกองทุน ให้รู้บทบาทของตนเอง  มีส่วนร่วมในการจัดแผนงาน และแผนสุขภาพระดับตำบล - พัฒนาศักยภาพ แลอบรมให้ความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ กับผู้รับผิดชอบกองทุน ให้รู้บทบาทหน้าที่ และมีความเสียสละ - สำหรับผู้ขอรับทุน จะมีการเพิ่มศักยภาพในการเขียนโครงการ และระเบียบทางการเงิน และรู้บริบทปัญหาที่แท้จริงของพื้นที่ตนเอง
การสร้างชุดความรู้ นวัตกรรมต่อการสร้างสุขภาพ - จัดทำชุดสื่อประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น Tiktok Facebook - มีการวิเคราะห์ชุดความรู้ร่วมกันก่อนเผยแพร่ การบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ • การวางแผน : เครือข่ายต้องมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนในตำบล (อบต. ผู้นำชุมชน และประชาชน) • การเขียนโครงการ : มีรูปแบบผังการดำเนินงานของกองทุน มีองค์ความรู้ในการเขียนโครงการ
• การทำโครงการ : ทำตามโครงการตามแผนงานอย่างมีขั้นตอนตามกรอบงบประมาณ และระเวลาการจัดการ จัดเตรียม อุปกรณ์ คน ให้พร้อมดำเนินการ • การติดตามและประมินผลโครงการ :ตั้งคณะกรรมการชุดติดตามประเมินผล ตามวัตถุประสงค์โครงการ กลไกสนับสนุน/การขับเคลื่อนงานกองทุน • กลไกวิชาการ มีการประสานงานระหว่างกลุ่มงาน ผ่านช่องทางออนไลน์ เช่น line เพื่อแจ้งแผนการปฏิบัติงานรายเดือน
• กลไกพี่เลี้ยง มีการติดตาม และมีความรับผิดชอบต่องาน คอยสนับสนุนงาน ให้ความช่วยเหลือ
• กลไก พชอ. ควบคุม กำกับติดตามพื้นที่ แก้ไขปัญหาเพิ่มเติม แจ้งให้ดำเนินงานไปตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : ผู้เข้าร่วมจำนวน 126 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับอำเภอและระดับตำบลจากพื้นที่ 5 อำเภอ 3 จังหวัด คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบลระดับเขต (เขต 10) และผู้เข้าร่วมผ่านทางระบบ Zoom Meeting จากคณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบลระดับเขต (เขต 7, เขต 9) • ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : คณะทำงานและทีมพี่เลี้ยงกองทุนตำบล ได้รับทราบความก้าวหน้าของโครงการ ได้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันถึงปัจจัยที่จะส่งผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนงาน จากการนำเสนอการทำงาน 5 พื้นที่ และร่วมกันแลกเปลี่ยนวางแผนการดำเนินงานให้เกิดความสำเร็จตามเป้าหมายการเป็นพื้นที่กองทุนศูนย์เรียนรู้ และเกิดพื้นที่กองทุนขยายผลต่อไป • ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม o น.ส.จงกลนี ศิริรัตน์ (คณะทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 10) : จากการจัดประชุมครั้งนี้มีความคาดหวังว่าพี่เลี้ยงระดับตำบลและอำเภอจะสามารถนำข้อมูลที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของพื้นที่ต่างๆ ไปปรับใช้กับการเขียนแผนงาน/โครงการที่มีคุณภาพในระบบเว็บไซต์ สามารถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ผู้เขียนโครงการได้  และมีการติดตามและสามารถขยายผลการดำเนินโครงการภายใต้กองทุนฯ ในปีต่อไป ให้เกิดความยั่งยืน โดยการผลักดันหนุนเสริมประเด็นสุขภาวะ 8 ประเด็น คือ 1. การจัดการระบบอาหาร 2. การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3. การจัดการปัจจัยเสี่ยงเหล้า บุหรี่ สารเสพติด 4. การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน  5. สุขภาพจิต 6. มลพิษทางอากาศ 7. การจัดการขยะ 8. การป้องกันโรคอุบัติใหม่ เข้าสู่แผนงานการขับเคลื่อนด้วยกลไกการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ (พชอ.) o ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ (สถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลานครินทร์) : จากการสะท้อนปัญหาการดำเนินการจากหลายพื้นที่ มีประเด็นที่สำคัญคือ ความเข้าใจของผู้บริหารหน่วยงาน ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในฐานะผู้พิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการของพื้นที่ ที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนแผนงานให้เกิดความต่อเนื่อง จึงเสนอแนะหากมีการจัดประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับตำบล/อำเภอ หรือ การประชุมเพื่อวางแผนเตรียมการจัดกิจกรรมติดตามความก้าวหน้าและสรุปผลการดำเนินงาน หรือการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ อยากให้เรียนเชิญระดับผู้บริหารหรือผู้เกี่ยงข้องกับการพิจารณาอนุมัติแผนงงาน/โครงการ เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เช่น นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น

 

50 0

20. ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 32 กองทุน

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ ร่างแผน Check Plan “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์”

วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม: เพื่อสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และเพื่อวางแผนการจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2567

กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อที่: ข้อที่  1 และข้อที่ 2 และตัวชี้วัดผลงานของโครงการข้อที่: ข้อที่ 4

จำนวนผู้เข้าร่วม 75 คน ประกอบด้วย
1) ทีมวิชาการระดับเขต 2) คณะทำงานมูลนิธิประชาสังคม จังหวัดอุบลราชธานี 3) พี่เลี้ยงอำเภอ 5 อำเภอ ได้แก่
3.1 พี่เลี้ยงอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ 3.2 พี่เลี้ยงอำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 3.3 พี่เลี้ยงอำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี 3.4 พี่เลี้ยงอำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
3.5 พี่เลี้ยงอำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ 4) พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบล 10 ตำบล
4.1 พื้นที่อำเภอกันทรลักษ์: ต.สวนกล้วย ต.ตระกาจ ต.น้ำอ้อม, ต.ขนุน, ต.รุง, ต.กุดเสลา, ต.โนนสำราญ 4.2 พื้นที่อำเภอเขื่องใน: ต.สร้าถ่อ, ต.ชีทวน, ต.โนนรัง, ต.บ้านไทย, ต.ยางขี้นก, ต.หนองเหล่า, ต.หัวดอน, ต.สหธาตุ 4.3 พื้นที่อำเภอม่วงสามสิบ: ต.เหล่าบก, ต.ดุมใหญ่, ต.หนองเหล่า. ต.ยางสักกะโพหลุ่ม, ต.ยางโยภาพ 4.4 พื้นที่อำเภอคำเขื่อนแก้ว: ต.โพนทัน, ต.ทุ่งมน, ต.สงเปือย, ต.ดงแคนใหญ่, ต.กู่จาน, ต.นาคำ, ต.เหล่าไฮ 4.5 อำเภอโนนคูณ : ต.บก, ต.เหล่ากวาง, ต.โนนค้อ, ต.หนองกุง, ต.โพธิ์

รายละเอียดกิจกรรม : วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567
เริ่มเข้าสู่กระบวนการ โดย นายอรรถพล ต่องสุพรรณ เตรียมความพร้อม “เรียนรู้ เข้าใจ สุขภาวะชุมชน” ให้ผู้เข้าร่วมผ่านการสร้างความรู้จักสร้างความคุ้นเคย นันทนาการให้เกิดการเคลื่อนไหวของร่างกาย และกิจกรรมองค์ประกอบการพัฒนาสุขภาวะ 4 มิติ การจับกลุ่มสภาพปัญหาสุขภาวะว่าอยู่ในมิติใด (สังคม กาย จิต ปัญญา) จากนั้น นางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ ชี้แจงวัตถุประสงค์และกระบวนการในการประชุม หลังจากนั้นเข้าสู่การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาแผนโครงการ โดย ตัวแทนพี่เลี้ยงกองทุนตำบลฯ นำเสนอผลการดำเนินงานจัดทำแผนงาน/โครงการ ซึ่งมีประเด็น/โจทย์ ดังนี้ 1) สถานการณ์ด้านสุขภาพในอำเภอของท่านมีสถานการณ์อย่างไรบ้าง 2) ท่านมีแผนในการจัดการสถานการณ์ปัญหาจำนวนเท่าไหร่ อย่างไร 3) มีการจัดทำโครงการ หรือกิจกรรมอะไร เพื่อรองรับแผนในการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาอย่างไร 4) ผลลัพธ์ หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในภาพรวมระดับอำเภอเป็นอย่างไร 5) กิจกรรมเด่น ๆ ที่ท่านคิดว่าเป็นส่วนสำคัญในความสำเร็จ 6) บทเรียน (ปัญหาอุปสรรค, แนวทางแก้ปัญหา) และข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนแผนงานอำเภอในปี 2567 นำเข้ากระบวนการในช่วงบ่าย นายอรรถพล ต่องสุพรรณ ชวนผู้เข้าร่วม “ผ่อนพัก ตระหนักรู้” โดยการเคลื่อนไหวทางกายเพื่อเตรียมความพร้อม ได้แก่กิจกรรมจีบ-L, กำ-แบ สลับไปมาตามจังหวะ, ปรบมือตามจังหวะ ฯลฯ จากนั้น ทบทวนโครงการบนเว็บไซต์ร่วมกัน โดย อาจารย์สงกา สามารถ ผ่านการบรรยายหลักการ การเก็บข้อมูล เพื่อนำไปจัดทำแผนกองทุนและการพัฒนาโครงการ นำไปสู่โครงการติดตาม พร้อมฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อมูลในระบบเว็บไซต์ “พาดู พาทำ” โดยให้ผู้เข้าร่วมเปิดหน้าเว็บไซต์โครงการตัวเอง เพื่อทบทวน และวิเคราะห์ข้อมูลไปพร้อม ๆ กัน หลังจากนั้น นายรพินทร์ ยืนยาว สรุปผลการพัฒนาแผนงาน และโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 โดยระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยตามอำเภอ 4 กลุ่ม ผ่านโจทย์/ประเด็นร่วมดังนี้
1) การเก็บข้อมูลในปีที่ผ่านมา (เช่น คนเก็บข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย หลักเกณฑ์การเก็บ การบริหารจัดการ)
2) ผลการพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ปี 2566 3) แผนและโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุน ในปี 2566 4) การประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะประชาชนในพื้นที่ 5) สิ่งที่ทำได้ดี เพราะอะไร 6) สิ่งที่ยังทำได้ไม่ดี เพราะอะไร

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2567
เข้าสู่กระบวนการโดยการทบทวน ผลการเรียนรู้กิจกรรมวันแรก โดย นายอรรถพล ต่องสุพรรณ จากนั้นทบทวนผลการระดมสมอง ในเรื่องของปัญหาอุปสรรค เพื่อหาแนวทางแก้ไขและพัฒนาในปี 2567 โดย นายรพินทร์ ยืนยาว และ ตัวแทนพี่เลี้ยงอำเภอนำเสนอผลการ “สรุปผลการพัฒนาแผนงาน และโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 ของแต่ละอำเภอ” และจากนั้นระดมจัดทำแผน และพัฒนาโครงการกองทุนตำบล ปี 2567 โดย อาจารย์วินัย วงศ์อาสา บรรยายและฝึกปฏิบัติการ โดยให้ผู้เข้าร่วมเปิดหน้าระบบเว็บไซต์เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน เริ่มตั้งแต่การวางแผนการจัดเก็บข้อมูลออกแบบ จัดทำแผนสุขภาวะระดับตำบล (การจัดทำแผนที่ดี) พัฒนาโครงการ ให้สอดคล้องกับแผนงาน (การพัฒนาโครงการที่ดี) โครงการที่คาดว่าจะได้รับการอนุมัติ สนับสนุน ปี 2567 การติดตามประเมินผลที่ดี (ประเมินคุณค่า) และแนวทางการขับเคลื่อน แผนตำบลสู่แผนอำเภอ (พชอ.) (Timeline การดำเนินงานแต่ละตำบล สู่แผนอำเภอ) โดยวิทยากรเปิดโอกาสให้พี่เลี้ยงแลกเปลี่ยน ซักถามเพื่อสร้างความเข้าใจให้ตรงกัน พร้อมรับความเห็นจากผู้ตรวจกกลาง โดยการให้ดาวสำหรับโครงการเด่น ทั้งนี้ พิจารณาจากโครงการที่แล้วเสร็จ ที่กดรายงานผลการดำเนินงานเข้าระบบ ซึ่งกระบวนการพิจารณาให้ดาวนี้ ส่วนกลางทำหน้าอ่านรายงานในระบบ และพี่เลี้ยงให้ข้อมูลเพิ่มเติมในวงใหญ่ เพื่อนำข้อมูลมาร่วมพิจารณาการให้คะแนน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลลัพธ์เชิงปริมาณ
ผู้เข้าร่วมจำนวน 75 คน ประกอบด้วย พี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับอำเภอและระดับตำบลจากพื้นที่ 5 อำเภอ 3 จังหวัด
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ คณะทำงานทีมพี่เลี้ยงกองทุนตำบลได้ทบทวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การพัฒนาแผนโครงการ การพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ที่มีการดำเนินงานในปี 2566 และได้ทบทวนผลลัพธ์การดำเนินงานจากกระบวนการระดมความเห็นร่วมกัน ทั้งสิ่งที่สามารถดำเนินการผ่านไปได้ด้วยดีและปัญหาอุปสรรคที่ทำให้การดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนงาน และการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนาแผนงาน/โครงการ ในระบบเว็บไซต์ localfund.happynetwork.org ตามพื้นที่อำเภอ-ตำบล ของทีมพี่เลี้ยง เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน และเกิดความรู้ความเข้าใจในการใช้งานโปรแกรมติดตามงานโครงการตามแผนงานของกองทุน และมีการร่วมกันออกแบบการพัฒนาแผนงาน/โครงการที่คาดว่าจะได้รับการอนุมัติ สนับสนุน ปี 2567

 

120 0

21. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ

วันที่ 14 พฤษภาคม 2567 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม/ประชุม: การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม: เพื่อสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และเพื่อวางแผนการจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2567 กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อที่: ข้อที่ 2
และตัวชี้วัดผลงานของโครงการข้อที่: ข้อที่ 4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ประชุม จำนวน 40 คน ประกอบด้วย
1) พี่เลี้ยงกองทุนตำบล อำเภอโนนคูณ 2) วิทยากร 3) คณะทำงาน

รายละเอียดการจัดกิจกรรม - เวลา 14.00 - 14.30 น. กล่าวต้อนรับพร้อมรายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการและการนำประเด็นไปสู่แผนของพชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) โดย นางสาวยุพยงค์  พาหา สาธารณสุขอำเภอโนนคูณ - เวลา 14.30 - 15.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการในการประชุม โดย นางสาวจงกลนี  ศิริรัตน์  คณะทำงานรับผิดชอบโครงการพื้นที่เขต 10 - เวลา 15.00 - 15.30 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 5 ตำบล ๆ ละ 6 นาทีตัวแทนคณะทำงานพี่เลี้ยงกองทุนตำบลกองทุนตำบลบก / ต.เหล่ากวาง / ต.โนนค้อ / ต.หนองกุง/ ต. โพธิ์ โดยมีประเด็นในการชวนแลกเปลี่ยน คือ 1. ผลการพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ปี 2566 2. แผนและโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุน ในปี 2566 3. ประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. การเรียนรู้ การจัดทำแผน และการพัฒนาโครงการ และ5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ - เวลา15.30 - 16.30 น. ทบทวนและนำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการพัฒนาโครงการและแผนงานติดตามและสรุปผลการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์ โดย อาจารย์อภิรดี  ดอนอ่อนเบ้า  มหาวิทยาลัยกาฬสินธิ์ และนายรพินทร์ ยืนยาว พี่เลี้ยงระดับเขต - เวลา16.30 -17.00 น. ร่วมแลกเปลี่ยน/ข้อเสนอแนะการพัฒนาโครงการและแผนงาน โดย คุณจินดาวรรณ  รามทอง คณะทำงานโครงการ จากสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลาฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบล และกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ฯ
        โดย นางสาวยุพยงค์  พาหา สาธารณสุขอำเภอโนนคูณ ได้รายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการ จากการนำประเด็นไปสู่แผนของ พชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) ในที่ประชุมรับทราบ และเสนอแนะร่วมกัน คือ ในส่วนท้องถิ่น ในอำเภอโนนคูณนั้น มีทุก อบต.ให้ความสนใจ ในโครงการ ที่จะมาช่วยนบริหารจัดการ การบริหารงานกองทุน ซึ่งที่ผ่านมา การดำเนินงานประเด็นสุขภาพ อาจยังไม่ครอบคลุม กับ ประเด็นยุทธศาสตร์ ทั้ง 8 ประเด็นที่ทางโครงการได้กำหนดเป้าหมายไว้ ในฐานะที่ตนเป็นพี่เลี้ยงกองทุน ทั้ง 5 กองทุนในอำเภอโนนคูณ ก็จะมีการร่วมประชุม และติดตามโครงการที่เกี่ยวข้องของกองทุนทุกแห่ง และได้มีการตรวจสอบการรายงานการเขียนข้อเสนอโครงการในกองทุน ว่ามีแผนงานที่สอดคล้องกันกับแผนพัฒนาสุขภาพในระดับตำบล หรือไม่ เมื่อ ช่วงเช้าวันนี้ พชอ.โนนคูณ นำโดยนายอำเภอ ได้มีการนำประเด็นที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในอำเภอโนนคูณ ภายใต้วิสัยทัศน์ 15 ดี ศรีโนนคูณ โดยมีเป้าหมายการดำเนินโครงการพัฒนาสุขภาวะประชาชน 15 โครงการ คือ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน สู่ 2500 วัน, การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน, การป้องกันอุบัติเหตุการจมน้ำในเด็ก, การป้องกันปัญหายาเสพติด และการส่งเสริม โครงการ To be number one, โครงการเบาหวานความดันเพื่อชลอไตเสื่อม, โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ, โครงการอำเภอปลอดโรคพิษสุนัขบ้า, โครงการการดูแลระยะยาว(Long–term care) ผู้ป่วยผู้สูงอายุ, โครงการเกษตรปลอดภัย, โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน, โครงการการส่งเสริมการท่องเที่ยวท้องถิ่นและวัฒนธรรม, โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อสร้างนวัตกรรม, โครงการบริหารจัดการการขยะ, โครงการการจัดการสิ่งรบกวนจากการประกอบอาชีพ, โครงการบริหารจัดการน้ำ และโครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดโรคร้อน ซึ่งโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับระบบสุขภาพจะมีการถ่ายทอดต่อไปยัง รพ.สต. และกองทุนตำบลให้ได้ดำเนินการต่อไป ซึ่งหากจะให้มีความครอบคลุม ให้สอดคล้องกับสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ อาจจะต้องพึ่งพาอาศัยกระบวนการเพิ่มเติมจากทางโครงการต่อไป ทางเรายินดีให้ความร่วมมือ

• จากกระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 5 ตำบล ได้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของโครงการ ในข้อ 4 คือ พี่เลี้ยงมีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ ของกองทุนฯ
        โดย จากกระบวนการแลกเปลี่ยน พี่เลี้ยงกองทุนตำบลทั้ง 5 ตำบลในอำเภอโนนคูณ พี่เลี้ยงได้ทบทวนการพัฒนาแผนงาน ในปี 2566 และการพัฒนาโครงการรวมถึงการร่วมกันประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในระดับพื้นที่ การทบทวนการเรียนรู้การใช้งานระบบเว็บไซต์ และปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงาน ยังพบว่าพี่เลี้ยงยังขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้งานระบบเว็บไซต์ และการนำข้อมูลมาจัดทำแผน ทางคณะวิทยากรจงได้มีการปรับแผนกระบวนการ ชวนพื้นที่ทบทวนการใช้งานระบบเว็บไซต์ และอธิบาย ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพให้พี่เลี้ยงในพื้นที่ ได้เข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น นอกจากนี้ วิทยากรได้ช่วยพื้นที่พัฒนาแผนงาน ปี 2567 ในระบบเว็บไซต์ ทำให้พี่เลี้ยงเกิดความเข้าใจเพิ่มเติมมากขึ้น และสามารถพัฒนาแผนสุขภาพในปี 2567 ได้ดังนี้ ตำบลเหล่ากวางพัฒนาแผนงานได้ 27 แผนงาน ตำบลโนนค้อพัฒนาแผนงานได้ 10 แผนงาน ตำบลหนองกุงพัฒนาแผนงานได้ 10 แผนงาน ตำบลโพธิ์ พัฒนาแผนงานได้ 10 แผนงาน โดย มีแผนงานที่ครอบคลุมสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ ที่ได้มีการเก็บข้อมูล และครอบคลุมทั้ง 8 ประเด็น เป้าหมายยุทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาวะของโครงการ

 

40 0

22. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

วันที่ 14 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม/ประชุม: การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม: เพื่อสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และเพื่อวางแผนการจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2567 กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อที่: ข้อที่ 2
และตัวชี้วัดผลงานของโครงการข้อที่: ข้อที่ 4

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ประชุม จำนวน 50 คน ประกอบด้วย
1) พี่เลี้ยงกองทุนตำบล อำเภอกันทรลักษ์ 2) วิทยากร 3) คณะทำงาน

รายละเอียดการจัดกิจกรรม - เวลา 08.30 - 09.00 น. กล่าวต้อนรับพร้อมรายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการและการนำประเด็นไปสู่แผนของพชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) โดย นายธีรศักดิ์  แย้มศรี  สาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ์ - เวลา 09.00 - 09.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการในการประชุม โดย นางสาวจงกลนี  ศิริรัตน์  คณะทำงานรับผิดชอบโครงการพื้นที่เขต 10 - เวลา 09.30 - 10.30 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 7 ตำบล ๆ ละ 6 นาทีตัวแทนคณะทำงานพี่เลี้ยงกองทุนตำบลโนนสำราญ/ ต.สวนกล้วย/ต.ตระกาจ/ ทต.น้ำอ้อม/ต.ขนุน/ต.รุง/ต.กุดเสลา โดยมีประเด็นในการชวนแลกเปลี่ยน คือ 1. ผลการพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ปี 2566 2. แผนและโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุน ในปี 2566 3. ประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. การเรียนรู้ การจัดทำแผน และการพัฒนาโครงการ และ5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ - เวลา10.30 - 11.30 น. ทบทวนและนำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการพัฒนาโครงการและแผนงานติดตามและสรุปผลการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์ โดย อาจารย์อภิรดี  ดอนอ่อนเบ้า  มหาวิทยาลัยกาฬสินธิ์ และนายรพินทร์ ยืนยาว พี่เลี้ยงระดับเขต - เวลา11.30 -12.00 น. ร่วมแลกเปลี่ยน/ข้อเสนอแนะการพัฒนาโครงการและแผนงาน โดย คุณจินดาวรรณ  รามทอง คณะทำงานโครงการ จากสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลาฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบล และกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ฯ
        โดย นายธีรศักดิ์  แย้มศรี สาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ์ ได้รายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการ จากการนำประเด็นไปสู่แผนของ พชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) ในที่ประชุมรับทราบ และเสนอแนะร่วมกัน คือ แผนงานกองทุน ปี 2566 ที่ได้ดำเนินการ มีทั้งหมด 7 แห่ง เขียนแผนลงในโปรแกรมเว็บไซต์ ทั้งสิ้น 84 แผน มีโครงการที่เสนอ 47 โครงการ และได้มีการติดตาม 35 โครงการ จำนวนงบประมาณ 1,126,363 บาท โดยแผนงานที่ได้มีการดำเนินงานมากที่สุด คือ แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด ซึ่งได้ดำเนินการไปทั้งสิ้น 9 แผน รองลงมาคือแผนงานกิจกรรมทางการที่ได้มีการดำเนินงานไปทั้งหมด 7 แผนงาน และแผนงานอื่นๆ ตามลำดับ ส่วนแผนงานที่ยังมีการดำเนินการที่น้อยอยู่นั้นก็คือ แผนงานยาสูบ กับสุรา ขณะนี้ในการดำเนินงานในพื้นที่เองที่ได้รับการขอความร่วมมือมาก็ยังไม่ได้ดำเนินงาน เช่น สุขศาลา Health Station และพัฒนาการเด็ก ที่หลายพื้นที่ยังไม่ได้ดำเนินการ และอีกหลาย ๆ เรื่อง อยากจะขอความร่วมมือ พื้นที่ตำบลอื่น ๆ ช่วยเพิ่มเติมแผนงานเหล่านี้เข้าไปด้วย แล้วปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมาที่เราค้นพบคือ เรื่องการปัญหาการใช้งานระบบ โปรแกรมเว็บไซต์ยังค่อนข้างเป็นปัญหากับพื้นที่เนื่องจาก ระบบค่อนข้างมีความซับซ้อน และยังใหม่กับพื้นที่ แต่ก็ได้มีการพัฒนา จากพี่เลี้ยงระดับเขต และทางคณะทำงานของโครงการที่มาพัฒนาให้ อีก 1 เรื่อง คือ ปัญหาจากการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ อาจจะต้องมาดูและวิเคราะห์กันอีกครั้ง ในส่วนของผลงานเด่น ของอำเภอกันทรลักษ์ ก็จะเป็นเรื่องของผู้สูงอายุไร้รอยต่อ ก็จะมีการรายงานในที่ประชุมท้องถิ่นต่อไป

• จากกระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 7 ตำบล ได้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของโครงการ ในข้อ 4 คือ พี่เลี้ยงมีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ ของกองทุนฯ
        โดย จากกระบวนการแลกเปลี่ยน พี่เลี้ยงกองทุนตำบลทั้ง 7 ตำบลในอำเภอกันทรลักษ์ พี่เลี้ยงได้ทบทวนการพัฒนาแผนงาน ในปี 2566 และการพัฒนาโครงการรวมถึงการร่วมกันประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในระดับพื้นที่ การทบทวนการเรียนรู้การใช้งานระบบเว็บไซต์ และปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงาน นอกจากนี้ วิทยากรได้ช่วยพื้นที่พัฒนาแผนงาน ปี 2567 ในระบบเว็บไซต์ ดังนี้

  • ตำบลโนนสำราญ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 11 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้รับการอนุมัติดำเนินการ 3 โครงการ โดยเกิดผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชน คือ ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การลดการก่อให้เกิดขยะ เกิดการจัดการขยะในครัวเรือน ลดการเผา และ เกิดการควบคุมดูแลตนเองในการป้องกันโรคไข้เลือดออก จาการดำเนินงานได้เรียนรู้การใช้งานข้อมูลสถานการณ์สุขภาพมาออกแบบ กิจกรรม และตัวชี้วัด ยังคงพบปัญหาอุปสรรคอยู่ คือ ไม่สามารถจัดสรรงบประมาณได้ทุกแผนงาน และภาระงานซ้ำซ้อนจาการใช้งานระบบเว็บไซต์ในโครงการ กับระบบเว็บไซต์ในกองทุนของ สปสช. ส่วนในปี 2567 ได้มีการพัฒนาแผนงานสุขภาพ 10 แผนงาน
  • ต.สวนกล้วย ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 11 แผนงาน แต่ได้รับการอนุมัติ 1 แผนงานโครงการ คือ แผนงานความปลอดภัยทางถนน พื้นที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้งานระบบ และมีการเปลี่ยนแปลงพี่เลี้ยงบ่อยครั้ง ทำให้การทำเนินงานไม่ต่อเนื่อง แต่สำหรับในปี 2567 ได้มีการพัฒนาแผนงาน จำนวน 10 แผนงาน
  • ต.ตระกาจ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 5 แผนงาน โดยสอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 4 ประเด็น คือ แผนงาน การจัดการระบบอาหาร มลพิษทางอากาศ การจัดการขยะ และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ ได้รับการอนุมัติ 2 โครงการ คือ แผนงานการจัดการขยะ และแผนงานผู้สูงอายุ จากการพัฒนาโครงการ ในการจัดการขยะ ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม 12 หมู่บ้าน ในการจัดการ ขยะในหมู่บ้านตนเอง ลดการใช้ขยะ สิ่งแวดล้อมในชุมชนดีขึ้น ในส่วนแผนงานของผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุ สามารถดูแลตัวเองได้เบื้องต้น และมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้นจากการที่ได้เข้ามาร่วมในกิจกรรม จากการดำเนินงานพัฒนาแผนในปี 2566 กองทุนมีความเข้าใจมากขึ้นในการนำข้อมูลสุขภาพมาวิเคราะห์และใช้ในการพัฒนาแผนงานในระบบเว็บไซต์ ในปี 2567 มีการพัฒนาแผนทั้งสิ้น 8 แผนงาน
  • ทต.น้ำอ้อม ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 10 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น พัฒนาโครงการไปทั้งสิ้น 3 โครงการ ใน 3 แผนงาน คือ แผนงานยาเสพติด การป้องกันโรคระบาด และการจัดการขยะ ปัญหาที่พบ คือ คณะทำงานพี่เลี้ยงเปลี่ยนใหม่ ทำให้ยังขาดข้อมูลอื่น มานำเสนอแลกเปลี่ยน เบื้องต้นของ ปี 2566 ส่วนในปี 2567 ได้เรียนรู้และเข้าใจมากขึ้นจากวิทยากร และได้พัฒนาแผนงานทั้งสิ้น 8 แผนงาน จากการนำเอาข้อมูลสถานการณ์สุขภาพมาพัฒนาแผน
  • ต.ขนุน ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 9 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น โดยแผนงานในปี 2566 นำเข้าเสนอกองทุนไม่ทัน โดยจะนำเข้าเสนอกองทุนในปี 2567 ปัจจุบันได้นำแผนงานขยะไปจัดทำข้อบัญญัติรายจ่าย อบต.ขนุน 60,000 บาท และแผนงานสุขภาพอุบัติใหม่ 100,000 บาท สถานการณ์สุขภาวะในพื้นที่ตอนนี้จากการขับเคลื่อนงานของ อบต. ในประเด็นการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประชาชนมีความตระหนัก และดูแลสภาพแวดล้อมตัวเองมากขึ้น เกิดการรณรงค์ โดยการประกวดหมู่บ้านปลอดยุงลาย ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่กองทุนมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย กลุ่มประชาชนที่เสนอโครงการเข้ามาไม่สอดคล้องกับข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ อาจจะต้องมีการพัฒนาศักยภาพกลุ่มประชาชนที่เสนอโครงการในกองทุนเพิ่มเติม สำหรับในปี 2567 นี้ ยังไม่ได้มีการพัฒนาแผนงานโครงการ อยู่ระหว่างการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่
  • ต.รุง ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 11 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น กำลังพัฒนาอยู่ 2 โครงการ ยังไม่ได้รับการอนุมัติในระบบ ได้เรียนรู้การพัฒนาโครงการในระบบ แต่ยังไม่ค่อยเข้าใจ ในปี 2567 วิทยากรได้ช่วยให้คำแนะนำ และพัฒนาแผนงาน ได้ 10 แผนงาน
  • ต.กุดเสลา ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 15 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้รับการอนุมัติ 10 แผน อนุมัติโครงการในระบบ 22 โครงการ จากการดำเนินงานโครงการประชาชนมีความตระหนักในเรื่องสุขภาพ และไม่มีความประมาทในการดำรงชีวิตประจำวัน คณะทำงานกองทุนตำบลได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม ได้เรียนรู้และแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ปัญหาที่พบคือ บุคลากรมีน้อย แบ่งงานตามความสามารถค่อนข้างยาก

 

50 0

23. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์”อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

วันที่ 15 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม/ประชุม: การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม: เพื่อสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และเพื่อวางแผนการจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2567 กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อที่: ข้อที่ 2
และตัวชี้วัดผลงานของโครงการข้อที่: ข้อที่ 4

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ประชุม จำนวน 45 คน ประกอบด้วย
1) พี่เลี้ยงกองทุนตำบล อำเภอเขื่องใน 2) วิทยากร 3) คณะทำงาน

รายละเอียดการจัดกิจกรรม - เวลา 08.00 - 08.30 น. กล่าวต้อนรับพร้อมรายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการและการนำประเด็นไปสู่แผนของพชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) โดย ผู้ช่วย สสอ.เขื่องใน นายพีรพล เหนือเกาะหวาย
- เวลา 08.30 - 09.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการในการประชุม โดย นางสาวจงกลนี  ศิริรัตน์  คณะทำงานรับผิดชอบโครงการพื้นที่เขต 10 - เวลา 09.00 - 10.00 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 8 ตำบล ๆ ละ 6 นาทีตัวแทนคณะทำงานพี่เลี้ยงกองทุนตำบลสร้างถ่อ/ชีทวน/โนนรัง/บ้านไทย/ยางขี้นก/หนองเหล่า/หัวดอน/สหธาตุ โดยมีประเด็นในการชวนแลกเปลี่ยน คือ 1. ผลการพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ปี 2566 2. แผนและโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุน ในปี 2566 3. ประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. การเรียนรู้ การจัดทำแผน และการพัฒนาโครงการ และ5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ - เวลา10.00 - 11.30 น. ทบทวนและนำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการพัฒนาโครงการและแผนงานติดตามและสรุปผลการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์ โดย อาจารย์อภิรดี  ดอนอ่อนเบ้า  มหาวิทยาลัยกาฬสินธิ์ และนายรพินทร์ ยืนยาว พี่เลี้ยงระดับเขต - เวลา11.30 -12.00 น. ร่วมแลกเปลี่ยน/ข้อเสนอแนะการพัฒนาโครงการและแผนงาน โดย คุณจินดาวรรณ  รามทอง คณะทำงานโครงการ จากสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลาฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบล และกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ฯ
        โดย นายพีรพล เหนือเกาะหวาย ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอเขื่องใน  ได้รายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการ จากการนำประเด็นไปสู่แผนของ พชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) ในที่ประชุมรับทราบ และเสนอแนะร่วมกัน คือ ที่ผ่านมาได้มีการประชุม ณ ที่ว่าการอำเภอ โดยมีนายอำเภอเขื่องในเป็นประธาน โดย ท่านก็ได้มีการกล่าวถึง และขอความร่วมมือไปยัง อปท. ทุก อปท. ในอำเภอได้รับทราบ ถึงโครงการที่ดำเนินการอยู่ ทุกพื้นที่ ก็ให้การตอบรับถึงแนวนโยบายที่จะร่วมดำเนินการในครั้งนี้ เรามีความพยายามที่จะกับเคลื่อนกองทุนต่าง ๆ ในพื้นที่ได้ใช้รูปแบบ การพัฒนาแผนงาน ในระบบเว็บไซต์เป็นตัวอย่าง ซึ่งที่ผ่านมา หลายกองทุนก็ได้เข้าไปติดตามดู หลายตัวอย่าง ที่มันสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหาในพื้นที่ของตัวเอง สำหรับวันนี้เอง สำหรับ ใน 8 ตำบลที่เข้าร่วมประชุมในวันนี้ถือว่าเป็นตำบลต้นแบบ ถือ ว่าเป็นแกนนำ ในการที่นำพากองทุนอื่น ๆ ได้ขับเคลื่อนในการเขียนโครงการ ซึ่งแนวทางทางในปี 2567 – 2568 ก็ได้มีแนวทางตามที่ทีมพี่เลี้ยงโครงการได้พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงตำบล ซึ่งทางเราก็จะมีการขยายให้ครอบคลุมทั้ง 18 อปท. ในรูปแบบการดำเนินการที่พื้นที่ต้นแบบของเราได้ดำเนินการ ในพื้นที่อำเภอเขื่องใน ตามที่ในโครงการ ได้กำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาวะไว้ 8 ประเด็น เราก็นำมาเป็นประเด็นหลักในการแก้ไขปัญหา เพราะถือว่า ในอำเภอเขื่องในเองก็เป้นพื้นที่ที่มีปัญหาตามประเด็นทั้ง 8 ประเด็น ซึ่งในเดือน มิถุนายน ก็จะได้มีการประชุมพิจารณาทบทวนประเด็นการพัฒนา พชอ. ที่จะมีการขับเคลื่อนในปี 2567 – 2568 ก็จะได้นำเอาข้อมูลสถานการณ์ปัญหาที่ พี่เลี้ยงกองทุนตำบลที่รายงานในระบบเว็บไซต์ นำมาวิเคราะห์ถึงประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องกับประเด็นของ พชอ. ต่อไป

• จากกระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 8 ตำบล ได้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของโครงการ ในข้อ 4 คือ พี่เลี้ยงมีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ ของกองทุนฯ
        โดย จากกระบวนการแลกเปลี่ยน พี่เลี้ยงกองทุนตำบลทั้ง 8 ตำบลในอำเภอเขื่องใน พี่เลี้ยงได้ชวนทบทวนการพัฒนาแผนงาน ในปี 2566 และการพัฒนาโครงการรวมถึงการร่วมกันประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในระดับพื้นที่ การทบทวนการเรียนรู้การใช้งานระบบเว็บไซต์ และปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงาน ซึ่งได้มีการอธิบายการใช้งานระบบเว็บไซต์ การกล่าวถึงความสำคัญของข้อมูลสถานการณ์ที่จะนำมาพัฒนาแผนงาน เพื่อแก้ไขปัญหา ให้ตรงจุดตามสถานการณ์ปัญหาที่เกิดขขึ้น นอกจากนี้ วิทยากรได้ช่วยพื้นที่พัฒนาแผนงาน ปี 2567 ในระบบเว็บไซต์ ดังนี้

  • ตำบลสร้างถ่อ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 13 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้รับการอนุมัติดำเนินการ 22 โครงการ โดยการดำเนินงานที่ผ่านมาในส่วนของการใช้งานในระบบเว็บไซต์ไม่ได้พบปัญหาอะไร การเก็บข้อมูล ก็เก็บผ่านระบบเลย คณะทำงานกองทุนมีความตระหนักในการใช้ข้อมูลมาจัดทำแผนงานโครงการ เพื่อให้มันสอดคล้อมและแก้ไขตามสถานการณ์ปัญหาได้ตรงจุด และในปี 2567 – 2568  ได้มีการพัฒนาแผนงานสุขภาพปี 2567 10 แผนงาน ปี 2568 10 แผนงาน
  • ตำบลชีทวน ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 12 แผนงาน กำลังพัฒนาอยู่ 1 โครงการ ซึ่งเสนอไม่ทัน ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ยังไม่เรียบร้อยดี ทำให้ยังไม่สามารถพัฒนาแผนงานในปี 2567 ได้
  • ตำบลโนนรัง ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 13 แผนงาน พัฒนาโครงการ 4 โครงการ แต่ยังไม่ได้ยื่นเสนอ ในปี 2567 การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพยังไม่ได้เรียบร้อยสมบูรณ์ ยังไม่ได้มีการพัฒนาแผนงาน แต่ได้มีการพัฒนาโครงการอยู่ 3 โครงการ ยังคงต้องปรับ และเรียนรู้การใช้งานระบบ และพัฒนาศักภาพพี่เลี้ยง
  • ตำบลบ้านไทย ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 10 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น พัฒนาโครงการไปทั้งสิ้น 4 โครงการ แต่ยังไม่ได้รับการอนุมัติ ส่วนในปี 2567 ได้เรียนรู้และเข้าใจมากขึ้นจากวิทยากร และได้พัฒนาแผนงานทั้งสิ้น 5 แผนงาน จากการนำเอาข้อมูลสถานการณ์สุขภาพมาพัฒนาแผน
  • ตำบลยางขี้นก ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 13 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น โดยแผนงานในปี 2566 พัฒนาโครงการ 9 โครงการ ได้รับการอนุมัติ 2 โครงการ สำหรับในปี 2567 นี้ ได้มีการพัฒนาแผนงาน 9 แผนงาน
  • ตำบลหนองเหล่า ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 14 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น พัฒนา 10 โครงการ อนุมัติ 8 โครงการ  ในปี 2567 พัฒนาแผนงาน 12 แผนงาน ครอบคลุมประเด็นยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น
  • ตำบลหัวดอน ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 10 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น พัฒนาโครงการ แต่ไม่ได้เสนอ และในปี 2567 นี้ วิทยากรได้มีการทดลองพาพี่เลี้ยงพัฒนาแผนงาน อยู่ 2 แผนงาน เนื่องจากข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ยังไม่สมบูรณ์
  • ตำบลสหธาตุ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 17 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น พัฒนาโครงการ แต่ไม่ได้เสนอ และในปี 2567 นี้ วิทยากรได้มีการทดลองพาพี่เลี้ยงพัฒนาแผนงาน อยู่ 9 แผนงาน เนื่องจากข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ยังไม่สมบูรณ์

        จากการดำเนินงานในเวทีพบว่าพี่เลี้ยงกองทุนตำบล ทั้ง 8 ตำบลยังมีการพัฒนาโครงการที่ขาดการใช้ข้อมูลมาวิเคราะห์ คณะวิทยากร พี่เลี้ยงระดับเขต และคุณจินดาวรรณ  รามทอง คณะทำงานโครงการ จากสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลาฯ ได้ร่วมแลกเปลี่ยนกับพี่เลี้ยงตำบล ในการเก็บข้อมูล และการนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์

 

45 0

24. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์”อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

วันที่ 15 พฤษภาคม 2567 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม/ประชุม: การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม: เพื่อสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และเพื่อวางแผนการจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2567 กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อที่: ข้อที่ 2
และตัวชี้วัดผลงานของโครงการข้อที่: ข้อที่ 4

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ประชุม จำนวน 35 คน ประกอบด้วย
1) พี่เลี้ยงกองทุนตำบล อำเภอม่วงสามสิบ 2) วิทยากร 3) คณะทำงาน

รายละเอียดการจัดกิจกรรม - เวลา 14.00 - 14.30 น. กล่าวต้อนรับพร้อมรายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการและการนำประเด็นไปสู่แผนของพชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) โดย นายอลงกต ตังคะวานิช สาธารณสุขอำเภอเขื่องใน - เวลา 14.30 - 15.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการในการประชุม โดย นางสาวจงกลนี  ศิริรัตน์  คณะทำงานรับผิดชอบโครงการพื้นที่เขต 10 - เวลา 15.00 - 15.30 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 5 ตำบล ๆ ละ 6 นาทีตัวแทนคณะทำงานพี่เลี้ยงกองทุนตำบลกองทุนเหล่าบก/ดุมใหญ่/หนองเหล่า/ยางสักกะโพหลุ่มและยางโยภาพ โดยมีประเด็นในการชวนแลกเปลี่ยน คือ 1. ผลการพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ปี 2566 2. แผนและโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุน ในปี 2566 3. ประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. การเรียนรู้ การจัดทำแผน และการพัฒนาโครงการ และ5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ - เวลา15.30 - 16.30 น. ทบทวนและนำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการพัฒนาโครงการและแผนงานติดตามและสรุปผลการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์ โดย อาจารย์อภิรดี  ดอนอ่อนเบ้า  มหาวิทยาลัยกาฬสินธิ์ และนายรพินทร์ ยืนยาว พี่เลี้ยงระดับเขต - เวลา16.30 -17.00 น. ร่วมแลกเปลี่ยน/ข้อเสนอแนะการพัฒนาโครงการและแผนงาน โดย คุณจินดาวรรณ  รามทอง คณะทำงานโครงการ จากสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลาฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• จากการดำเนินงานในเวที พบปัญหาอุปสรรค คือ สถานที่อยู่ในช่วงการปรับปรุงอาคาร และเจ้าหน้าที่ติดภารกิจด่วนทำให้กระบวนการในเวทีเกิดความล่าช้า ไม่เป็นไปตามแผนที่ตั้งไว้  แต่ได้มีการปรับแผน เป็นการชวนพี่เลี้ยงตำบลทบทวนการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ และการกรอกข้อมูลลงในระบบเว็บไซต์ เนื่องจากพี่เลี้ยงยังไม่ต้องกรอกข้อมูลในระบบ จากนั้นได้เติมเต็มข้อมูลร่วมกัน ทำให้พี่เลี้ยงมีความเข้าใจมากขึ้น และได้ทบทวนการใช้งานระบบเว็บไซต์ และแนวทางการนำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่มาพัฒนาแผนงานในปี 2567

• จากกระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 5 ตำบล ได้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของโครงการ ในข้อ 4 คือ พี่เลี้ยงมีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ ของกองทุนฯ
        โดย พี่เลี้ยงได้เกิดความรู้ความเข้าใจถึงการใช้งานในระบบเว็บไซต์ และ สามารถนำข้อมูลสถานการณ์ มาพัฒนาแผน ปี 2567 ได้ดังนี้
- ตำบลเหล่าบก จากการทบทวนการพัฒนาแผนงานในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงาน 15 แผนงาน ได้รับการอนุมัติ 12 โครงการ ในปี 2567 ได้พัฒนาแผนงาน 12 แผนงาน ซึ่งครอบคลุมทั้ง 8 ประเด็น  เป้าหมายยุทธศาสตร์ การพัฒนาสุขภาวะ ซึ่งพื้นที่ตำบลเหล่าบกเป็นพื้นที่ที่มีความเข้าใจระบบ และแนวทางการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่มาพัฒนาเป็นแผนงาน เลยให้พี่เลี้ยงตำบลเหล่าบกช่วยดูแล และแนะนำพี่เลี้ยงกองทุนอื่น ๆ ร่วมด้วย - ตำบลดุมใหญ่ ในปี 2566 พัฒนาแผนงานได้ 13 แผนงาน วิทยากรได้ชวนทบทวน ถึงการพัฒนาแผนที่สอดคล้องกับข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ และได้ทดลองพัฒนาแผนงานในปี 2567 ได้ 1 แผน เนื่องจากการเก็บข้อมูลในพื้นที่ยังไม่สมบูรณ์ - ตำบลหนองเหล่า ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งหมด 11 แผนงาน พัฒนาโครงการ ไป 4 โครงการ แต่ยังไม่ได้ยื่นเสนอ วิทยากรได้ชวนทบทวน และแนะนำการเก็บข้อมูลสถานการณ์ในระบบเว็บไซต์ ทำให้พีเลี้ยงเข้าใจมากขึ้น และมีแผนในการเก็บข้อมูลต่อไป - ตำบลยางสักกระโพหลุ่ม ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งหมด 11 แผนงาน ดำเนินโครงการอยู่ 1 โครงการ อีก 3 โครงการกำลังพัฒนา วิทยากรได้ชวนทบทวน และแนะนำการเก็บข้อมูลสถานการณ์ในระบบเว็บไซต์ ทำให้พีเลี้ยงเข้าใจมากขึ้น และมีแผนในการเก็บข้อมูลต่อไป - ตำบลยางโยภาพ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งหมด 6 แผนงาน ได้รับอนุมัติ 1 โครงการ วิทยากรได้ชวนทบทวน และแนะนำการเก็บข้อมูลสถานการณ์ในระบบเว็บไซต์ ทำให้พีเลี้ยงเข้าใจมากขึ้น และมีแผนในการเก็บข้อมูลต่อไป จากการทำเนินงาน และแลกเปลี่ยนพบว่า พี่เลี้ยงกองทุนตำบล อำเภอม่วงสามสิบยังขาดความเข้าใจในการเก็บข้อมูลในระบบเว็บไซต์ และการดึงเอาข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ มาพัฒนาแผนงาน วิทยากรและคุณจินดาวรรณ  รามทอง คณะทำงานโครงการ จากสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลาฯ จึงได้ช่วยเติมเต็มข้อมูลสร้างความเข้าใจ และชวนวางแผนในการเก็บข้อมูล และการนำข้อมูลมาพัฒนาแผน

 

35 0

25. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร

วันที่ 16 พฤษภาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม/ประชุม: การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม: เพื่อสรุปผลการดำเนินงานจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2566 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดทำแผนและพัฒนาโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และเพื่อวางแผนการจัดทำแผน และโครงการของกองทุนตำบล ปี 2567 กิจกรรมนี้เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการข้อที่: ข้อที่ 2
และตัวชี้วัดผลงานของโครงการข้อที่: ข้อที่ 4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม/ประชุม จำนวน 45 คน ประกอบด้วย
1) พี่เลี้ยงกองทุนตำบล อำเภอคำเขื่อนแก้ว 2) วิทยากร 3) คณะทำงาน

รายละเอียดการจัดกิจกรรม - เวลา 08.30 - 09.00 น. กล่าวต้อนรับพร้อมรายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการและการนำประเด็นไปสู่แผนของพชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) โดย นายพันธ์ทอง  จันทร์สว่าง  สสอ.คำเขื่อนแก้ว - เวลา 09.00 - 09.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการในการประชุม โดย นางสาวจงกลนี  ศิริรัตน์  คณะทำงานรับผิดชอบโครงการพื้นที่เขต 10 - เวลา 09.30 - 10.30 น. กระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 7 ตำบล ๆ ละ 6 นาทีตัวแทนคณะทำงานพี่เลี้ยงกองทุนตำบลโพนทัน/ทุ่งมน/สงเปือย/ดงแคนใหญ่/กู่จาน/นาคำ/เหล่าไฮ โดยมีประเด็นในการชวนแลกเปลี่ยน คือ 1. ผลการพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ปี 2566 2. แผนและโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุน ในปี 2566 3. ประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4. การเรียนรู้ การจัดทำแผน และการพัฒนาโครงการ และ5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ - เวลา10.30 - 11.30 น. ทบทวนและนำเสนอข้อมูลความคืบหน้าการพัฒนาโครงการและแผนงานติดตามและสรุปผลการพัฒนาโครงการในระบบเว็บไซต์ โดย นายสงกา สามารถ และนายรพินทร์ ยืนยาว พี่เลี้ยงระดับเขต - เวลา11.30 -12.00 น. ร่วมแลกเปลี่ยน/ข้อเสนอแนะการพัฒนาโครงการและแผนงาน โดย คุณจินดาวรรณ  รามทอง คณะทำงานโครงการ จากสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.สงขลาฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• ผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบล และกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ฯ
        โดย นายพันธ์ทอง  จันทร์สว่าง  สสอ.คำเขื่อนแก้ว ได้รายงานผลการพัฒนาแผนงานและการพัฒนาโครงการ จากการนำประเด็นไปสู่แผนของ พชอ.กองทุนตำบลปี 2566 (ภาพรวมของอำเภอ) ในที่ประชุมรับทราบ และเสนอแนะร่วมกัน คือ อำเภอคำเขื่อนแก้วได้ดำเนินงานการพัฒนาแผนงานกองทุนในระบบเว็บไซต์มาอย่างต่อเนื่อง หลายปี ซึ่งส่วนหนึ่งในการดำเนินงานครั้งนี้ คือพี่เลี้ยงกองทุนตำบล ของเราได้รับการพัฒนาศักยภาพจากทางโครงการ โดย ในปี 2566 กองทุนในอำเภอคำเขื่อนแก้วเป็น อำเภอที่มีประสิทธิภาพการใช้เงินของกองทุน เป็นอันดับที่ 1 ในจังหวัดยโสธร ในขณะเดียวกัน จังหวัดยโสธรเป้นอันดับ 1 ของเขต และในเขต 10 เป็นอันดับ 1 ของประเทศ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการที่พี่เลี้ยงกองทุนตำบลของเราได้ทุ่มเท จากการที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ จากทางพี่เลี้ยงโครงการ ทางนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยโสธร ได้มีการชื่นชม และมีแผนจะมีเวทีในการแลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนงานกัน โดย ในปี 2567 นี้ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอคำเขื่อนแก้ว ได้ประกาศนโยบาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ว่า
1. ขับเคลื่อนการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 10 และนโยบาย/แนวทางการขับเคลื่อนระบบสุขภาพจังหวัดยโสธร ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน
2. มุ่งเน้นพัฒนาระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง ประกอบด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) พัฒนาเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ และสถานบริการผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความเขียวชาญและทำงานอย่างมีความสุข 4. มุ่งเน้นการทำงานเป็นทีมและสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทุกระดับ 5. ขับเคลื่อนการบริหารจัดการอย่างโปร่งใส มีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ โดยยืดหลักธรรมาภิบาล ภายใต้วิสัยทัศน์ เครือข่ายสุขภาพอำเภอคำเขื่อนแก้ว เป็นเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ ที่มีเอกภาพและคุณภาพ เพื่อประชาชนโดยยึดหลักธรรมาภิบาล

• จากกระบวนการแลกเปลี่ยนบทเรียนการพัฒนาโครงการที่ดีและแผนที่ดีของกองทุน 7 ตำบล ได้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของโครงการ ในข้อ 4 คือ พี่เลี้ยงมีทักษะในการทำแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตามประเมินผลโครงการ ของกองทุนฯ
        โดย จากกระบวนการแลกเปลี่ยน พี่เลี้ยงกองทุนตำบลทั้ง 7 ตำบลในอำเภอคำเขื่อนแก้ว พี่เลี้ยงได้ทบทวนการพัฒนาแผนงาน ในปี 2566 และการพัฒนาโครงการรวมถึงการร่วมกันประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในระดับพื้นที่ การทบทวนการเรียนรู้การใช้งานระบบเว็บไซต์ และปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงาน นอกจากนี้ วิทยากรได้ช่วยพื้นที่พัฒนาแผนงาน ปี 2567 ในระบบเว็บไซต์ ดังนี้

  • ตำบลโพนทัน ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 6 แผนงาน แต่ยังไม่มีการพัฒนาโครงการในปี 2566 ในปี 2567 ยังอยู่ในช่วงของการเก็บข้อมูล ยังไม่เกิดแผนงาน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบกองทุน และระบบเว็บไซต์มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบบางส่วน ทำให้ยังไม่ค่อยเข้าใจระบบเท่าที่ควร วิทยากร และพี่เลี้ยงได้ช่วยไขความกระจ่าง ให้เข้าใจการใช้งานมากขึ้น
  • ตำบลทุ่งมน ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 9 แผนงาน แต่ยังไม่มีการพัฒนาโครงการในปี 2566 ในปี 2567 ยังอยู่ในช่วงของการเก็บข้อมูล ยังไม่เกิดแผนงาน เนื่องจากมีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบกองทุน และระบบเว็บไซต์มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบบางส่วน ทำให้ยังไม่ค่อยเข้าใจระบบเท่าที่ควร วิทยากร และพี่เลี้ยงได้ช่วยไขความกระจ่าง ให้เข้าใจการใช้งานมากขึ้น
  • ตำบลสงเปือย ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 19 แผนงาน โดยสอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ทั้ง 8 ประเด็น ได้รับอนุมัติดำเนินโครงการ 9 โครงการ ในปี 2566 ซึ่งการดำเนินงานที่ผ่านมา เป็นการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก และการมีกิจกรรมทางกาย ประชาชนตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมโครงการตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และในปี 2567 นี้ ได้มีการพัฒนาแผนงานทั้งสิ้น 15 แผนงาน จากข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ ที่ได้เก็บมาในระบบเว็บไซต์
  • ตำบลดงแคนใหญ่ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 15 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น โดยได้มีการพัฒนาโครงการ 1 โครงการ คือ โครงการความปลอดภัยทางถนน อุปสรรคที่พบในการดำเนินงานครั้งนี้คือ เรารู้สึกว่า มันเป็นภาระที่มากไปที่เราต้องกรอกข้อมูลลงในเว็บไซต์ 2 เว็บไซต์ คือ เว็บไซต์ของ สปสช. เอง และเว็บไซต์ของโครงการ ทางวิทยากรได้ชี้แจงให้เข้าใจถึงจุดประสงค์ และเสริมพลังใจ ทำให้พื้นที่เกิดความเข้าใจ และในปี 2567 ได้มีการพัฒนาแผนงานจากข้อมูลสถานการณ์สุขภาพในพื้นที่ ไปทั้งหมด จำนวน 10 แผนงาน เพื่อเตรียมพัฒนาโครงการต่อไป
  • ต.กู่จาน ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 10 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น ได้รับการอนุมัติ 6 โครงการ ได้รับการติดตามโครงการแล้ว 2 โครงการ จากที่ได้ดำเนินงานในกองทุน ได้ดำเนินการเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชน จากการสังเกตในพื้นที่ ผู้ปกครอง หรือกลุ่มเป้ามายที่เข้าร่วมในโครงการ มีความรู้เรื่องกฎจราจรมากขึ้น มีการสวมหมวกกันน็อคมากขึ้น อุบัติเหตุลดลง จากการสำรวจในรพื้นที่ รพ.สต. ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมาพบว่าเราขาดแคลนบุคลากรในการขับเคลื่อนงาน มีการปรับเปลี่ยนงานบ่อย ทำให้ขาดความต่อเนื่อง โครงการที่เสนอเข้ามาก็ไม่ค่อยได้ตรงกับแผน อาจจะต้องมีการพัฒนาผู้เสนอโครงการ มากขึ้น ในส่วนของระบบเว็บไซต์ อยากให้มีการพัฒนาให้เป็นเว็บไซต์เดียวรวมกันไม่ต้องทำหลายเว็บไซต์และ ออโต้มากขึ้น ในเรื่องของการรายงานผลต่าง ๆ  ในสถานการณ์ข้อมูลสุขภาพในพื้นที่ ในปี 2567 ได้มีการพัฒนาแผนงานทั้งสิ้น 10 แผนงาน
  • ตำบลนาคำ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 15 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น กำลังพัฒนาอยู่ 10 โครงการ ยังไม่ได้รับการอนุมัติในระบบ ได้เรียนรู้การพัฒนาโครงการในระบบ แต่ยังไม่ค่อยเข้าใจ ในปี 2567 วิทยากรได้ช่วยให้คำแนะนำ และพัฒนาแผนงาน ได้ 11 แผนงาน
  • ตำบลเหล่าไฮ ในปี 2566 ได้มีการพัฒนาแผนงานไปทั้งสิ้น 11 แผนงาน โดยมีแผนงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายของโครงการ เชิงยุทธศาสตร์ 8 ประเด็น กำลังพัฒนา โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเเม่เเละเด็กมหัศจรรย์ อยู่แต่ยังไม่ได้เสนอ ได้เรียนรู้การพัฒนาโครงการในระบบ แต่ยังไม่ค่อยเข้าใจ ในปี 2567 วิทยากรได้ช่วยให้คำแนะนำ และพัฒนาแผนงาน ได้ 10 แผนงาน จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ค่อนข้างมีปัญหาเรื่องโปรแกรมเว็บไซต์ ที่ใช้งานยุ่งยากซับซ้อน จากธรรมชาติของหน่วยงานราชการ มีการปรับเปลี่ยนบุคลากร และความรับผิดชอบงานบ่อย ทำให้ คนใหม่ที่มาเรียนรู้ ค่อนข้างต้องใช้เวลาเรียนรู้นาน การดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง อาจจะต้องพัมนาระบบเว็บไซต์ให้ใช้งานง่ายมากกว่านี้

 

45 0

26. ประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์”

วันที่ 18 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าสู่กระบวนการโดยการทักทายผู้เข้าร่วม แนะนำคณะทำงาน และชี้แจงวัตถุประสงค์ และกระบวนการในการประชุม โดย นายวินัย วงศ์อาสา พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด จากนั้นกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วม โดย ปลัดอาวุโสองค์การบริหารส่วนตำบลตระกาจ ต่อด้วย นายภัทธศาสน์ มาสกุล นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตระกาจ อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ และกล่าวรายงานความเป็นมาของการดำเนินงาน โดย นายธีรศักดิ์ แย้มศรี สาธารณสุขอำเภอกันทรลักษ์ และกล่าวเปิดการประชุมและมอบนโยบาย การขับเคลื่อนงานบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ โดย นายสุกิจ เหลืองสกุลไทย นายอำเภอกันทรลักษ์ หลังจากนั้นเข้าสู่ช่วงปฏิบัติการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ ช่วงที่ 1 สรุปผลการพัฒนาแผนงาน และโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และ ปี 2567 โดย พี่เลี้ยงอำเภอ 5 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ, อำเภอเขื่องใน อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี และอำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร ดำเนินกระบวนการโดยวิทยากร นายรพินทร์ ยืนยาว พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด ซึ่งพี่เลี้ยงนำเสนอสรุปผลการพัฒนาแผนงาน และโครงการกองทุนตำบล ปี 2566 และ ปี 2567 ตามลำดับดังนี้ 1) พี่เลี้ยงอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เล่าถึง ผลการดำเนินงานที่ผ่านของพื้นที่อำเภอกันทรลักษ์ โดยเริ่มตั้งแต่บริบทพื้นที่ บริบทพื้นที่เป้าหมาย กระบวนการดำเนินที่ร่วมมือกับ พชอ.ในพื้นที่ และภาคีเครือข่าย ที่เน้นการดำเนินงานแบบปฏิบัติการร่วมกับพื้นที่ ในลักษณธ “บัดดี้พี่เลี้ยงตำบล” งบประมาณและจำนวนที่ได้รับการสนับสนุนและที่อยู่ในสถานะรอดำเนินการ ครอบคลุม ทั้ง 8 ประเด็น บทเรียนการทำงานตลอดโครงการ และแผนงานดำเนินงานต่อ ปี 2567 2) พี่เลี้ยงอำเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานี เล่าถึง การเข้าร่วมโครงการปีแรกของพื้นที่ ในปี 2558 เริ่มต้นด้วยการจัดทำธรรมนูญตำบล ซึ่งมี อบต.หัวดอน สนใจ และได้ประกาศใช้ ในปี 2560 โดยเป็นอำเภอแรกในการขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกับชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของจังหวัดอุบลราชธานี จากนั้นเล่าถึงกระบวนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ยังไม่ครอบคลุมทั้ง 8 ประเด็น ขาดประเด็น PM 2.5 และได้บอกเล่าถึงประสบการณ์การคีย์โครงการเข้าระบบ ทั้งที่สอดคล้องและไม่สอดคล้องกับพื้นที่ ทำให้เห็นถึงชุดบทเรียนที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จ และไม่สำเร็จ
3) พี่เลี้ยงอำเภอม่วงสามสิบจังหวัดอุบลราชธานี เล่าถึง สถานการณ์ขั้นตอน วิธีการ กระบวนการในดำเนินงาน และผลการพัฒนาแผนงาน และโครงการตั้งแต่ปี 2566 ถึงสถานะปัจจุบัน

ช่วงที่ 2 แลกเปลี่ยนการดำเนินงานกองทุนตำบล ปี 2566 และ ปี 2567 (32 ตำบล 5 อำเภอ) โดยวิทยากร นายวินัย วงศ์อาสา พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด ผ่านการบอกเล่า ซึ่งมีโจทย์/ประเด็นร่วม 5 ข้อหลักๆ ดังนี้
1) ผลการพัฒนาแผน และการเขียนโครงการ ปี 2566 และปี 2567 2) แผนและโครงการที่ได้รับการอนุมัติจากกองทุน ในปี 2566 และปี 2567 3) ประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ 4) การเรียนรู้ การจัดทำแผน และการพัฒนาโครงการ 5) ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ในการนำเสนอบอกเล่าการดำเนินงานกองทุนตำบล ปี 2566 และ ปี 2567 ทั้ง 32 ตำบล 5 อำเภอ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะพร้อมแนวทางร่วมกัน ซึ่งวิทยากรให้ผู้เข้ากลุ่มย่อยตามตำบล เพื่อทบทวนข้อมูลร่วมกันก่อนนำเสนอ โดยตัวแทนมีเวลาในการนำเสนอตำบลละ 5 นาที
ช่วงที่ 3 การแลกเปลี่ยนให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะพร้อมแนวทาง
โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยแจกโจทย์ให้ผู้เข้าร่วม แลกเปลี่ยนผ่านโจทย์คำถาม 10 ข้อ ให้ลงคะแนน 1-5 (น้อยที่สุด-มากที่สุด) เป็นการประเมินรายบุคคล
หลังจากนั้น นางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ พี่เลี้ยงระดับเขต/จังหวัด กล่าวปิดประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• เกิดพื้นที่พัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงระดับตำบลและอำเภอ 32 ตำบล 5 อำเภอ • ทีมพี่เลี้ยงระดับตำบลและอำเภอ ได้รับการสนับสนุน ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผล โครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3275
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะกรรมการกองทุนฯ ผู้เสนอโครงการของบจากกองทุนฯ ผู้ 200
คณะทำงานระดับอำเภอ 13
คณะทำงานระดับเขต 12
ทีมกลไกบูรณาการอำเภอ 5 อำเภอ 50
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายภายใต้การดำเนินโครงการกองทุนฯ 3,000

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบูรณาการกลไกระบบสุขภาพระดับตำบลและกลไกระบบสุขภาพระดับอำเภอ ได้แก่ รพ.สต. อสม. โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอำเภอ หน่วยบริการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (2) เพื่อยกระดับศักยภาพกลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการขับเคลื่อนเป้าหมาย เชิงยุทธศาสตร์8 ประเด็น ผ่านการยกระดับคุณภาพของแผน การพัฒนาโครงการ และการติดตาม ประเมินผล โครงการ ทั้งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น และการดำเนินงานของ คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กองทุนศูนย์เรียนรู้ (2) กองทุนสมัครใจเข้าร่วม (3) กองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนสมัครใจเข้าร่่วม (4) ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 1 (5) เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอเขื่องใน จ.อุบลราชธานี (6) เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอคำเขื่อนแก้ว จ.อุบลราชธานี (7) เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี (8) เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอโนนคูณ จ.ศรีสะเกษ (9) เวทีชี้แจงเป้าหมายการดำเนินงานโครงการและลงนามความร่วมมือ (MOU) ระดับอำเภอกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ (10) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนฯศูนย์เรียนรู้ 22 กองทุน (11) สนับสนุนการจัดเก็บข้อมูลและการจัดทำแผน 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ กองทุนฯ เข้าร่วม 10 กองทุน (12) เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี (13) เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร (14) เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.กันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ (15) เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.ม่วงสามสิบ จ.อุบลราชธานี (16) เวทีชี้แจงทำความเข้าใจเครื่องมือเก็บข้อมูลและจัดทำแผนงานให้กับพี่เลี้ยงกองทุน อ.โนนคูณ จ.ศรีสะเกษ (17) ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 2 (18) ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 21 กองทุน (19) ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 10 กองทุนเปิดรับทั่วไป (20) ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 3 (21) พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ  การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์ (22) พัฒนาทักษะพี่เลี้ยงกองทุนในการจัดทำแผน พัฒนาโครงการและเสนอโครงการ  การติดตามประเมินผลโครงการ ในระบบเว็บไซต์ (23) ประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (24) ประชุมสรุปบทเรียนการดำเนินงานและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (25) ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 4 (26) ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 5 (27) ติดตามและสนับสนุนการจัดทำโครงการ การเสนอโครงการ และการรายงานผลในระบบเว็บไซต์ 32 กองทุน (28) ประชุมร่วมคณะทำงานเขตและคณะทำงานอำเภอ เพื่อวางแผน/เตรียมการจัดกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า และสรุปผลการดำเนินงาน ครั้งที่ 6 (29) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ (30) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอกันทรลักษ์  จังหวัดศรีสะเกษ (31) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์”อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (32) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์”อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี (33) การประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนการพัฒนาโครงการและติดตามประเมินผลในระบบเว็บไซต์” อำเภอคำเขื่อนแก้ว  จังหวัดยโสธร (34) ประชุมเชิงปฏิบัติการ “พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับตำบล เพื่อติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนแผนและโครงการในระบบเว็บไซต์”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 10 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวจงกลนี ศิริรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด