directions_run

การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ”

เทศบาลตำบลจันดี

หัวหน้าโครงการ
นายคำพร เกตุแก้ว

ชื่อโครงการ การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

ที่อยู่ เทศบาลตำบลจันดี จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-048

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลตำบลจันดี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลตำบลจันดี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 7472 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร โดยการทำข้อมูลพื้นฐานหรือ Mapping แหล่งผลิตอาหารแต่ละประเภทในเทศบาลตำบลจันดี
  2. เพื่อการจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย และข้อมูลด้านภาวะโภชนาการ
  3. เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการความมั่นคงทางด้านอาหารตำบลจันดี

    วันที่ 23 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมชี้แจงโครงการ โดย นายคำพร เกตุแก้ว ได้ชี้แจงที่ประชุมว่า โครงการนี้ตำบลจันดีได้รับการคัดเลือกจาก สจรส.มอ.เป็น ๑ใน ๕ ตำบลของ จ.นครศรีธรรมราช ที่ให้เราเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผลผลิต ที่คนในชุมชนปลูกเพื่อการดำรงชีพ เช่น การปลูกพืช ผัก สมุนไพร ผลไม้ ข้าวไร่ ปาล์ม ยางพารา การเลี้ยงสัตว์และให้ผู้เข้าร่วมประชุมช่วยกันนำเสนอว่าใครทำอะไรที่ไหน
    • วันนี้เชิญครู กศน.ตำบลจันดี ท้องที่ ท้องถิ่น ประธาน อสม. ประธานชุมชน ประธานสภาองค์กรชุมชน ร่วมรับฟังโครงการ เพื่อจัดหาแหล่งข้อมูลในเขตเทศบาลว่าที่ไหนมีกิจกรรมที่เกี่ยวอาหารปลอดภัยบ้าง เช่น ทำไร่ ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ การใช้ปุ๋ยเคมี หรืออินทรีย์เพื่อเป็นทางในการจัดเก็บข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วยเครือข่ายองค์กรชุมชน ทีมครู กศน. อสม. และแกนนำชุมชน ได้ทราบว่าทางหมู่บ้านมีโครงการจัดทำเรื่องความมั่นคงในอาหาร ซึ่งเป็นโครงการที่สอดคล้องกับทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น ผู้เข้าร่วมประชุมยินดีให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
    • ได้แต่งตั้งทีมงานเก็บข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารจำนวน 10 คน เพื่อสำรวจเรื่องแหล่งอาหารที่มีในชุมชน และทราบว่่าข้อมูลที่ได้นำไปสู่ยุทธศาสตร์การจัดการเรื่องอาหารในชุมชน

     

    12 10

    2. ประชุมคณะทำงานประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้ มอ.

    วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมทีมงานทำโครงการทั้ง 5 พื้นที่ เตรียมการจัดนิทรรศการเรื่องอาหารในงานสร้างสุขภาคใต้ ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 3-5 ตุลาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานได้รับรู้ข้อมูลการจัดงานสร้างสุขภาคใต้ และระบุรายชื่อคนที่สามารถเข้าร่วมงานได้
    • คณะทำงานโครงการอาหารปลอดภัยทั้ง 5 พื้นที่ ได้แบ่งงานรับผิดชอบการจัดนิทรรศการ โดยแบ่งกันจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อไปจัดนิทรรศการที่ ม.อ.

     

    3 20

    3. ประชุมคณะทำงาน แต่งตั้งผู้รับผิดชอบ

    วันที่ 29 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน แบ่งหน้าที่รับผิดชอบเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 5 ตำบล และชี้แจงการเดินทางไปจัดบูทนิทรรศการ 5 ตำบล ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ในงานสร้างสุขภาคใต้ วันที่ 3-5 ตุลาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • นิทรรศการที่จะนำไปจัดในงานสร้างสุขภาคใต้ของตำบลจันดี จะนำเสนอเรื่องฝายมีชีวิต นาข้าว ผัก สมุนไพร ก้อนเห็ด ต้นประ ต้นเขลียง ไทร
    • แต่งตั้งคณะทำงานดังนี้ คือ
    1. นายเธียรเมฆ ทัลวัลย์ รองปลัดเทศบาล ตำแหน่ง ที่ปรึกษาโครงการ
    2. นายคำพร เกตุแก้ว สมาชิกสภาฯตำแหน่ง ประธานโครงการ
    3. นายสมโชครัตนบุรีตำแหน่ง รองประธานโครงการ 4 .นางกมลวรรณ ธรรมวาจาตำแหน่ง เลขานุการ
    4. นางนิศาชลลิ้มพันธ์ตำแหน่ง ผู้ช่วยเลขานุการ
    5. นางธัญวลัยคงมา ตำแหน่ง เหรัญญิกึ
    6. น.ส.ศุภวรรณนนทสิทธิ์คณะกรรมการ
    7. น.ส.สุนิสาสุขสวัสดิ์ คณะกรรมการ
    8. นายสมคิดฮั่นวิวัฒน์ คณะกรรมการ
    9. นายสุทินนาคประดิษฐ์ คณะกรรมการ
    10. นางอุ่นใจเทพีคณะกรรมการ
    • นายคำพร เกตุแก้ว ได้ชี้แจงรายการค่าใช้จ่าย ต่าง ๆในการทำกิจกรรมในโครงการ ทำให้คณะทำงานทราบเรื่องงบประมาณที่ได้ในดำเนินโครงการในครั้งนี้

     

    10 8

    4. ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้

    วันที่ 5 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เพื่อเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้และจัดบูธนำเสนอข้อมูลความมั่นคงทางอาหารตำบลจันดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้นำเสนอข้อมูลงานความมั่นคงทางอาหารของเทศบาลตำบลจันดี และได้แลกเปลี่ยนร่วมกับเครือข่ายในงานสร้างสุขภาคใต้

     

    2 1

    5. เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 7 ตุลาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เก็บข้อมูลจากกลุ่มเกษตรกรบ้านนายาวในหมู่ที่ 5 จำนวน 15 ครัวเรือน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ดำเนินการรวบรวมข้อมูลโดย นางกมลวรรณ ธรรมวาจา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ข้อมูลพบในการสำรวจ เกษตรกรบ้านนายาวจำนวน 15 ครัวเรือน มีอาชีพทำสวนยางพารา ปลูกผักส่วนครัว เป็นรูปแบบการทำเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง

     

    25 15

    6. เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นางกมลวรรณธรรมวาจาลงสำรวจจัดเก็บข้อมูลพื้นที่ ม. 5 จำนวน 10 ครัวเรือน
    • นางธัญวลัยคงมาลงสำรวจจัดเก็บข้อมูลพื้นที่ ม. 2, 5จำนวน9ครัวเรีอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เก็บข้อมูลได้ทั้งหมด 19 ครัวเรือน รูปแบบการทำเกษตรเป็นสวนยางพารา และเกษตรแบบเน้นเศรษฐกิจพอเพียง มีการปลูกผักสวนครัว เลี้ยงไก่ ทำไร่ เพื่อไว้บริโภคในครัวเรือนส่วนที่เหลือจะนำไปจำหน่าย และแจกบ้านใกล้เรือนเคียง ส่วนในหมู่ที่ 2 และ 5 มีการทำข้าวไร่ไว้สำหรับบริโภคในครัวเรือน

     

    25 19

    7. ประชุมคณะทำงานการจัดการข้อมูลความมั่นคงทางด้านอาหาร

    วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมคณะทำงานโครงการร่วมกับปลัดเทศบาลตำบลจันดี ณ เทศบาลตำบลจันดี ได้นำเสนอข้อมูลการสำรวจในหมู่ที่ 2 และ 5 ที่ผ่านมาจำนวน 36 ครัวเรือน 80 คน เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 6 - 16 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลการสำรวจข้อมูล พบว่า ทางคณะทำงานได้เก็บข้อมูลได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คือ 36 ครัวเรือน ปัญหาที่พบในการเก้บข้อมูล คือ อยู่ในช่วงหน้าฝน ฝนตกหนักเกือบทุกวัน ทำให้ชาวบ้านไม่กล้าให้ข้อมูลที่แท้จริง ต้องใช้เวลาทำความเข้าใจกันนานกว่าจะได้ข้อมูล ตอนนี้ยังไม่ครอบคลุมทั้ง 5 หมู่ ที่ประชุมเลยแต่งตั้งนายสมคิด ฮั่นวิวํฒน์ และ นส.สาริกา บุตดิพรรณ์ ให้หาคนมาช่วยเก็บข้อมูลเพิ่ม
    • แจ้งที่ประชุมเพิ่มคณะทำงานเพิ่ม 2 คน เพื่อให้งานขับเคลื่อนไปได้ คือ นายสมคิด ฮั่นวิวัฒน์ แบะ น.ส.สาริกา บุตดิพรรณ์

     

    12 9

    8. เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 18 ตุลาคม 2559 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงจัดเก็บข้อมูลกับกลุ่มปลูกข้าวไร่ หมู่ที่ 2 ปลูกผักในที่แคบหมู่ 2, 3, 4, 5 ปลุกผักริมรั้วหมู่ 2, 3, 4, 5 - เพื่อสัมภาษณ์ครัวเรือนการทำเกษตรกรรม การดำรงชีพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ตามเป้าหมาย 23 ครัวเรือนทั้งกลู่มปลูกผักในที่แคบ กลุ่มปลูกแปรรูปสมุนไพร กลู่มปลูกข้าวไร่ และกลู่มปลูกพืชผักริมรั้ว 

     

    25 25

    9. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 19 ตุลาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจ จำนวน 15 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่ ม.5 ม.2สำรวจจำนวน 15 ครัวเรือนส่วนมากทำสวนยางพารา ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงไก่ และทำไร่ข้าว

     

    25 15

    10. ทีมงานวิชาการ สจรส.มอ.ลงพื้นที่ อบต.เขาแกว

    วันที่ 20 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 - 17.00 น. น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงโครงการ ติดตาม ผลการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ และทีม สจรส.ม.อ.ได้ตรวจสอบการจัดทำเอกสารการเงินของแต่ละพื้นที่ ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดทำหลักฐานการเบิกจ่ายเงินที่ถูกต้อง เมื่อพบเอกสารผิด 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมประชุมเกิดความเข้าใจในการจัดทำเอกสารการเงินที่ถูกต้อง โดยได้แนะนำให้แยกเอกสารการเงินเป็นรายกิจกรรม เพื่อความสะดวกในการเรียกตรวจสอบ และให้เบิกค่าใช้ตามรายการที่เกิดขึ้นจริง

     

    20 25

    11. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 22 ตุลาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สำรวจข้อมูลความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่ ม.3 และ ม.5 จำนวน 12 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    พื้นที่ส่วนมากเป็นสวนยางพารา ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงไก่ปลูกข้าวไร่

     

    25 27

    12. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 25 ตุลาคม 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจ ม. 5 จำนวน 15 ครัวเรือน และ ม. 3 จำนวน12 ครัวเรือนรวม 27 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการสำรวจใน ม. 5 และ ม. 3 เป็นพื้นที่การทำสวนยางพรารา ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงไก่ครัวเรือน รวมทั้งหมด 27 ครัวเรือน

     

    25 25

    13. เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจข้อมูลการทำเกษตรในหมู่ที่ 2 และ 3 โดยตั้งเป้าหมายไว้ 20 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สำรวจได้ 19 ครัวเรือน ผลการสำรวจ พบว่า ในหม่ที่ 2 meอาชีพเกษตรกรยางพารา ค้าขาย ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ และทำข้าวไร่ ส่วนหมู่ที่ 3 ส่วนมากค้าขาย มีบางส่วนทำอาชีพเกษตรกรสวนยางพารา

     

    25 19

    14. เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจข้อมูลการทำเกษตรในหมู่ที่ 2 3 และ 5 โดยตั้งเป้าหมายไว้ 28 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สำรวจได้ทั้งหมด 17 ครัวเรือนใน 3 หมู่บ้าน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนยางพารา ปลูกผักสวนครัว และเลี้ยงไก่

     

    25 17

    15. เก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 11 พฤศจิกายน 2559 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่สำรวจ ม. 1 จำนวน 6 ครัวเรือน และ ม. 2 จำนวน 10 ครัวเรือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ข้อมูลการทำเกษตรในหมู่ที่ 1 พื้นที่ส่วนมากเป็นเชาวสวนยางพารา ปลูกผักสวนครัว ส่วนในหมู่ที่ 2 พื้นที่ส่วนมากเป็นเชาวสวนยางพารา และปลูกผักสวนครัวและประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป

     

    25 16

    16. ประชุมคณะทำงาน

    วันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 เวลา 15.00 น น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงาน สรุปผลการลงไปเก็บข้อมูล รายงานผลการเก็บข้อมูลให้คณะกรรมการทราบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รายงานสรุปการลงจัดเก็บข้อมูลทั้ง 5 หมู่บ้าน ได้จำนวน 162 ครัวเรือน จากเป้าหมาย 200 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 81 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรสวนยางพารา ปลูกข้าวไร่ และปลูกผักสวนครัว ซึ่งข้อมูลที่ได้จะส่งให้ สจรส.นำไปวิเคราะห์เพื่อจัดทำเป็นแผนที่ความมั่นคงทางอาหาร

     

    11 11

    17. ประชุมร่วมกับ สจรส.ม.อ.บันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม

    วันที่ 2 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมประชุมกับ สจรส.ม.อ.ในงานประชุมบันทึกข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหาร จัดโดย สจรส.ม.อ.วันที่ 2-3 มีนาคม 2560 ณ ศูนย์อบรมและพัฒนาสุขภาพ (สช.) อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช โดยเข้าร่วมอบรมการบันทึกข้อมูลจากแบบสอบถามลงใน Excel และฝึกวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เรียนรู้การบันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถาม ได้เรียนรู้การทำร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารของตำบลจันดี และได้โครงการของตำบลจันดี ทำเรื่องอาหารเป็นยา มีข้อแนะนำจาก สจรส.ม.อ.ว่า ทำ timeline ชนิดของผักที่มีในแต่ละช่วงเดือน เพื่อสื่อให้เห็นว่าพื้นที่นี้มีผักเด่น และมีทุกฤดูกาล เน้นการสร้างธนาคารเมล็ดพันธุ์ และค้นหาประโยชน์ สรรพคุณของผักแต่ละชนิด

     

    5 4

    18. ประชุมคณะทำงานชี้แจงความคืบหน้าโครงการ

    วันที่ 21 เมษายน 2560 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นายคำพร เกตุแก้ว รายงานการสรุปการทำงานเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2560 ที่ศูนย์ สช.นครศรีธรรมราช แจ้งการคีย์ข้อมูลลงเอ็กเซลล์ และสรุปผลการสำรวจของข้อมูลทั้ง 5 หมู่บ้าน 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะกรรมการรับทราบความก้าวหน้าของการทำโครงการ ทราบผลว่าได้เก็บรวบรวมข้อมูลความมั่นคงทางอาหารจากแบบสอบถามทั้ง 5 หมู่บ้าน และได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเสร็จแล้ว ตอนนี้เหลือการทำข้อมูลแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารของตำบลจันดี ซึ่งจะจัดประชุมในพื้นที่ร่วมกับชาวบ้านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้แผนยุทธศาสตร์อาหารของตำบลจันดี
    • ข้อมูลผลการสำรวจ พบว่า มีการปลูกผักสวนครัวและสมุนไพรไว้ใช้ใครัวเรือนดังนี้ หมู่ 1= 5 ราย หมู่ 2=57 ราย หมู่ 3=14 ราย หมู่4=17 ราย และหมู่ 5=39 ราย คิดเป็นร้อยละ 60 ชนิดของผักสวนครัวและสมุนไพรที่สำรวจ ได้แก่ กระเพรา มะเขือ มะกรูด มะนาว พริกไทย ชะอม ชาพลู ขิ้น เนียง สะตอ ตะไคร้ กฐิน มะม่วงหิมพานต์ ฯลฯ
    • หลังจากนั้นได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลเพิ่มเดิม แบบไทม์ไลน์ เพื่อรู้ว่าพืชผักที่มีอยู่ในชุมชน/ผลิตได้แต่ละเดือนมีอะไรบ้าง/สำรวจทั้งปี

     

    10 8

    19. เก็บข้อมูล Timeline ผัก

    วันที่ 25 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงเก็บข้อมูลแม่ค้าจำหน่ายพืชผักของตลาดชุมชนตำบลจันดี จัดเก็บข้อมูลพืชผักจำหน่ายตลอดปีของตลาดชุมชน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อมูล timeline ผักพื้นบ้านในตำบลจันดี ดังนี้

    1.ปฏิทินพืชผักอาหารแต่ละชนิด

    • ช่วงระหว่างเดือนมกราคม - ธันวาคม : กระเพรา,โหระพา,ใบมะกรูด ตะไคร้, บัวบก  ชะอม, มะเขือ ผักเขลียง
    • ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ : สะเดา (ยอดเทียม)
    • ช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน : ใบมะม่วงหิมพานต์
    • ช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน : ใบชะมวง และผักโขม
    • ช่วงเดือนกรกฎาคม - สิงหาคม : ยอดมะกอก ใบมะม่วง
    • ช่วงเดือนกรกฎาคม - กันยายน : ลูกเนียง มันปู
    • ช่วงเดือนตุลาคม - ธันวาคม : สะตอ หน่อเหรียง หน่อไม้

     

    50 50

    20. เวทีคืนข้อมูลจากแบบสอบถาม

    วันที่ 1 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลทั้หมดเพื่อนำเสนอต่อเทศบาลตำบลจันดี เพื่อบรรจุเข้าแผนพัฒนา 3 ปีของเทศบาล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ปลัดเทศบาล รองปลัด เข้าร่วมรับฟังข้อเสนอ และเกิดแนวทางการหนุนเสริมงานด้านความมั่นคงทางอาหารร่วมกัน โดยจะสนับสนุนการทำโครงการส่งเสริมการปลูกผักและสมุนไพรในตำบลจันดี

     

    30 30

    21. ประชุมคณะทำงานจัดทำเอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์

    วันที่ 22 มิถุนายน 2560 เวลา 16:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    อาจารย์วรวิศ กฐินหอม  นายคำพร  เกตุแก้ว นางกมลวรรณ  ธรรมวาจา  และนางธัญวลัย  คงมา  ได้ช่วยกันระดมความคิดเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลความมั่นคงด้านอาหารเข้าแผนยุทธศาสตร์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ช่วยกันระดมความคิดเพื่อแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลความมั่นคงด้านอาหารเข้าแผนยุทธศาสตร์

     

    4 4

    22. นำเสนอและประชุมระดมความคิดเห็นต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ตำบลจันดี

    วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เข้าร่วมประชุมและนำเสนอแผนยุทธศาสตร์ความ ด้านอาหารเทศบาลตำบลจันดี และอีก 3 พื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นำเสนอแผนยุทธศาสตร์ความ ด้านอาหารเทศบาลตำบลจันดี และอีก 3 พื้นที่

     

    20 15

    23. เวทีคืนข้อมูลร่างแผนยุทธศาสตร์ให้กับชุมชนที่พรุอาใจ ม.5

    วันที่ 24 มิถุนายน 2560 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงผลการดำเนินการความมั่นคงด้านอาหารของเทศบาลตำบลจันดี ขั้นตอนต่อไปคือ เสนอเข้าแผนยุทธศาสตร์ของเทศบาลตำบลจันดี

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้ใหญ่บ้าน ม.1 และผู้ช่วยฯ สมาชิกสภาเทศบาลตำบลจันดี อสม. สมาชิกกลุ่มบ้านนายาวพัฒนาการเกษตร และประชาชน ม.1  ม. 3  ม. 4  ม .5  รวมทั้งหมด 54  คน

     

    60 54

    24. เวทีคืนข้อมูลร่างแผนยุทธศาสตร์ให้กับชุมชนที่ กศน.ตำบลจันดี

    วันที่ 25 มิถุนายน 2560 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมชี้แจงให้ทราบเรื่องการทำโครงการความมั่นคงด้านอาหารให้แก่ประชาชนในหมู่ 2 ,ม. 3 และ ม.4จำนวน 39 คน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สมาชิกสภาเทศบาลอสม. สมาชิกศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรและประชาชนในหมู่ 2 ,ม. 3 และ ม.4 

     

    40 39

    25. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานฉบับสมบูรณ์ 

     

    5 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร โดยการทำข้อมูลพื้นฐานหรือ Mapping แหล่งผลิตอาหารแต่ละประเภทในเทศบาลตำบลจันดี
    ตัวชี้วัด : 1. มีสถานการณ์ของอาหารแต่ละประเภท เช่น พื้นที่การผลิต วัตถุประสงค์การผลิต (เพื่อบริโภคหรือเพื่อจำหน่าย หรือทั้งบริโภคและจำหน่าย รูปแบบการผลิตแบบแินทรีย์ เคมี หรือผสมผสาน) 2. มีกลุ่มเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต จำหน่าย และบริโภค ระบบตลาดภายใน หรือการตลาดภายนอกชุมชน ของอาหารแต่ละประเภท 3. มีระบบการกระจายผลผลิตของอาหารแต่ละประเภท 4. หน่วยงานที่มีหน้าที่ให้การสนับสนุน หรือขับเคลื่อน การดำเนินงานแต่ละประเภทอาหาร

     

    2 เพื่อการจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย และข้อมูลด้านภาวะโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลไก ระบบเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร 2. มีข้อมูลโภชนาการดังต่อไปนี้ - กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ - กลุ่มเด็ก 0-3 ปี - กลุ่มเด็ก 3-5 ปี - กลุ่มเด็ก 6-14 ปี - กลุ่มผู้สูงอายุ

     

    3 เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในเด็กเล็ก
    ตัวชี้วัด : เกิดแผนยุทธศาสตร์ท้องถิ่นใน 3 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย บรรจุเข้าแผนท้องถิ่น นำไปสู่การปฏิบัติการในระยะต่อไป

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดการข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร โดยการทำข้อมูลพื้นฐานหรือ Mapping แหล่งผลิตอาหารแต่ละประเภทในเทศบาลตำบลจันดี (2) เพื่อการจัดทำข้อมูล สถานการณ์ด้านอาหารปลอดภัย และข้อมูลด้านภาวะโภชนาการ (3) เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางอหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในเด็กเล็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

    รหัสสัญญา 59-ข-048 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
    1. ชุดข้อมูลความรู้เรื่องสมุนไพรจากผักพื้นบ้าน
    2. ชุดความรู้ข้อมูลชุมชน ข้อมูลสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารตำบลจันดี
    1. เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี
    1. ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนเลือกรับประทานผักปลอดสารพิษ
    2. เพิ่มพื้นที่อาหาร โดยขยายพื้นที่การเพาะปลูกพืชผักสมุนไพรและเน้นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ แทนการใช้ปุ๋ยเคมี
    3. จัดการอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงวัย โดยเน้นการกินผักเป็นยา
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    กระบวนการนำข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจทำแผนงานโครงการและแผนยุทธศาสตร์ มีการออกสำรวจและทำการจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการปลูกพืชผักสมุนไพรในเขตเทศบาลตำบลจันดี เพื่อนำข้อมูลมาตัดสินใจในการแก้ไขปัญหาของชุมชน

    รายงานบันทึกกิจกรรมสำรวจข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    นำข้อมูลจากการสำรวจ จัดทำเอกสารและนำเสนอในการจัดตั้งเวทีการประชุม เพื่อให้ความรู้แก่ประชาชนในชุมชนตามหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
    1. เกิดวิธีการทำงานใหม่ ด้วยนัดทีมคณะทำงานประชุมวางแผนก่อนทำกิจกรรม และประชุมสรุปงานทุกครั้งหลังเสร็จกิจกรรม
    2. มีกระบวนการทำงานร่วมกับเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยจัดประชุมร่วมกัน เพื่อเชื่อมโยงการทำงานในประเด็นอาหารร่วมกัน
    3. ตั้งคณะกรรมการเพื่อออกสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลในเขตเทศบาลตำบลจันดี
    • รายงานการประชุมคณะกรรมการในโครงการ
    • รายงานการประชุมจัดทำร่างเอกสารแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี

    จัดตั้งคณะกรรมการในการทำโครงการ และจัดตั้งที่ปรึกษาโครงการ เพื่อจัดประชุมร่วมกัน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
    1. กลุ่มผู้สูงอายุในเทศบาลตำบลจันดี
    2. กลุ่มคนรักสุขภาพในตำบลจันดี
    1. รูปภาพการประชุม
    2. บันทึกรายงานการประะชุม

    เปิดรับสมัครสมาชิกในกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มคนรักสุขภาพ เพื่อให้เข้ามาเป็นทีมงานในโครงการอาหารและโภชนาการ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

    กลุ่มผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนหันมาทานผักและสมุนไพร ทำให้มีสุขภาพดีขึ้น

    • ข้อมูลการเข้ารับการรักษาพยาบาลใน รพ.สต.บ้านสวนจีน
    • ข้อมูลการซื้อขายสมุนไพรในศูนย์การเรียนรู้แพทย์พื้นบ้าน

    ออกสำรวจกลุ่มสมาชิกผู้สูงวัยทั้งรายใหม่และรายเก่า เพื่อจัดทำปฏิทินการบริโภคอาหารในแต่ละวันต่อเดือน เพื่อให้ทราบข้อมูลและจัดการแก้ไข ปัญหาสุขภาพที่ไม่ดีจากการบริโภคอาหารได้อย่างถูกต้อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ปรับเปลี่ยนการจัดอาหารว่างในช่วงที่มีการประชุม โดยจัดเมนูน้ำดื่มสมุนไพร ไม่หวาน แทน น้าหวานและน้ำอัดลม

    รูปภาพ รายงานการจัดประชุม และเอกสารการเงินที่ระบุการจัดซื้อน้ำสมุนไพร

    ประชาสัมพันธ์ให้มีการนำน้ำสมุนไพรมาจัดเลี้ยง และขยายสู่หน่วยงานในตำบล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

    ชาวบ้านได้นำพืชผักสมุนไพร ที่เพาะปลูกตามบ้านมาบริโภค และจัดเป็นมื้ออาหารในช่วงที่มีการประชุม

    รูปภาพกิจกรรมสำรวจข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    จัดทำโครงการส่งเสริมการปลูกผักสมุนไพรในครัวเรือนและตามร่องยาง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

    การทำฝายพรุอาใจ

    รูปภาพ และฝายชะลอน้ำที่พรุอาใจ

    บูรณาการการทำฝายร่วมกับชุมชนและเทศบาล โดยบรรจุลงในแผนยุทธศาสตร์งานอาหารของตำบลจันดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

    ชาวบ้านมีรายได้จากการเก็บผักพื้นบ้านขายตลอดปี

    ข้อมูลรายงานสถานการณ์อาหารผักพื้นบ้านในเอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี

    จัดทำโครงการส่งเสริมการปลูกผักพื้นบ้านและสมุนไพรตามครัวเรือนและในสวนยาง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

    มีการวางแผนพัฒนาโครงการความมั่นคงทางอาหารร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ภายในตำบลจันดี

    รูปภาพและเอกสารการร่างแผนยุทธศาสตร์

    จัดทำโครงงานความมั่นคงทางด้านอาหาร ส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนตระหนักถึงความปลดภัยในการบริโภคพืชผักสมุนไพรที่ปลอดสาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี

    นำแผนยุทธศาสตร์บรรจุเข้าสู่เทศบาลตำบลจันดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    เกิดแผนงานโครงการ 3 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี

    นำเสนอโครงการเข้าสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอพื้นที่ในการจัดตั้งตลาดสีเขียวเคี้ยวปลอดภัยและนำพืชผักที่สมาชิกทำการปลูกออกมาจำหน่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    เกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายในการทำงาน ดังนี้

    1. กลุ่มผู้สูงอายุเทศบาลตำบลจันดี
    2. เทศบาลตำบลจันดี
    3. รพ.สต. บ้านสวนจีน
    4. กศน.เทศบาลตำบลจันดี

    รายงานกิจกรรมในโครงการ

    จัดแผนงานและมีการประชุมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยการจัดเวทีคืนข้อมูลข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    มีการนำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี เสนอเพื่อเข้าสู่แผนพัฒนาชุมชนของเทศบาลตำบลจันดี

    รูปภาพและเอกสารประกอบการนำเสนอแผนร่างยุทธศาสตร์ ตามวาระการประชุม

    วางแผนงานและจัดการประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่นเทศบาล

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

    มีการวางแผนงานร่วมกันในกลุ่มสมาชิกในตำบลจันดี

    รูปภาพและเอกสารประกอบการนำเสนอแผนร่างยุทธศาสตร์ ตามวาระการประชุม

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    มีการกำหนดทิศทางและพื้นที่ในออกสำรวจการปลูกพืชผักสมุนไพร ตามแผนงานร่างแผนยุทธศาสตร์

    ข้อมูลรายงานสถานการณ์อาหารผักพื้นบ้านในเอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    เกิดกลุ่มคนรักสุขภาพ ทำการปลูกและมีการบริโภคพืชผักสมุนไพร

    1. ข้อมูลรายงานสถานการณ์อาหารผักพื้นบ้านในเอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี
    2. รูปภาพ
    3. ระเบียนเอกสารการลงบันทึกรายชื่อสมาชิก

    ส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยวกับการนำพืชผักสมุนไพรมาประกอบอาหารปลอดภัย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

    มีการปลูกพืชผักสมุนไพรริมรั้วไว้บริโภคในครัวเรือน ส่วนที่เหลือจากการบริโภคนำไปจำหน่ายสู่ประชาชนในชุมชน

    1. ข้อมูลรายงานสถานการณ์อาหารผักพื้นบ้านในเอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลจันดี
    2. รูปภาพ
    3. ระเบียนเอกสารการลงบันทึกรายชื่อสมาชิก

    มีผักปลอดสารจากกลุ่มสมาชิกออกวางจำหน่ายภายในชุมชนเทศบาลตำบลจันดี

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    สมาชิกในกลุ่มผู้สูงอายุมีการแลกเปลี่ยนต้นกล้าพืชผักภายในกลุ่ม

    1. ต้นกล้าที่สมาชิกทำการขยายพันธ์ุไว้เพื่อทำการเพาะปลูก
    2. รูปภาพ
    3. เอกสารรายงานการประชุม

    ส่งเสริมให้มีการปลูกพืชผักสมุนไพรให้มีหลากชนิดขึ้น เพื่อลดการซื้อผักจากตลาดกลาง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    การจัดการข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการในระดับตำบล (เทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายคำพร เกตุแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด