แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช ”

ตำบลหูล่อง

หัวหน้าโครงการ
นายพรเทพเซ่งรักษา

ชื่อโครงการ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช

ที่อยู่ ตำบลหูล่อง จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-051

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหูล่อง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช



บทคัดย่อ

โครงการ " ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหูล่อง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 550 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. การจัดการความมั่นคงทางอาหาร
  2. การจัดทำข้อมูลสการณ์ด้านอาหารปลอดภัย
  3. การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการ
  4. การกำหนดเป้าหมายหรือภาพอนาคตของชุมชน
  5. การกำหนดยุทสาตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหารอาหารปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมเตรียมออกบู๊ทงานสร้างสุขภาคใต้ 2559

    วันที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมร่วมกับทีมเครือข่ายความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดนครศรีฯ เพื่อเตรียมจัดนิทรรศการในงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ข้อสรุปจากที่ประชุมว่าทางตำบลหูล่อง จะจัดนิทรรศการนำเสนอเกี่ยวกับพันธ์ข้าวพื้นบ้าน และแสดงผลิตภัณฑ์จากต้นจาก ส้มโอพันธ์ุทับทิมสยาม รวมทั้งจำหน่วยผลิตภัณฑ์ชุมชนและผักพื้นบ้านจากตำบลหูล่อง

     

    2 2

    2. ร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ปี 2559

    วันที่ 3 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ ร่วมพิธีเปิด ฟังการบรรยายจากท่านอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และเข้าร่วมเสวนาห้องย่อยความมั่นคงทางอาหาร ร่วมแลกเปลี่ยนงานข้าว และจัดแสดงนิทรรศการของพื้นที่หูล่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้แลกเปลี่ยนการทำงานเรื่องความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่จังหวัดสงขลา และจังหวัดพัทลุง ได้ความรู้มาปรับใช้กับงานในพื้นที่ได้

     

    5 5

    3. จัดเก็บข้อมูลความมั่นคงทางอาหาร

    วันที่ 17 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมข้อมูลความมั่นคงทางอาหารตำบลหูล่องใน 7 หมู่บ้าน โดยถ่ายแบบสอบถามและแบ่งทีมเก็บข้อมูล

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รวบรวมข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารใน 7 หมู่บ้าน ได้แบ่งทีมลงเก็บข้อมูลก่อนนำข้อมูลมาสรุปอีกครั้ง

     

    550 550

    4. ประชุมอบรมการใช้งานเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

    วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ประชุมอบมการใช้งานเว็บไซต์ โดยมีวิทยากรจาก สจรส.ม.อ.ให้ความรู้ต่อการใช้งานบนเว็บไซต์ ได้แก่ การรายงานกิจกรรม การรายงานการใช้เงิน การเพิ่มรูปภาพ โดยมีเครื่อข่ายจากอีก 4 ตำบลเข้าร่วมอบรมด้วยกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้รับความรู้เรื่องการใช้งานเวบไซต์ และการรายงานกิจกรรม การจัดทำรายงาน การส่งเอกสารการเงิน ที่สามารถนำไปใช้ในพื้นที่ได้

     

    3 3

    5. สำรวจข้อมุลความมั่นคงทางด้านอาหารหูล่อง

    วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รวบรวมแบบสอบถามเรื่องความมั่นคงทางอาหารจำนวน 550 ชุด ใน 7 หมู่บ้านของตำบลหูล่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้เก็บข้อมูลเรื่องความมั่นคงทางอาหารได้จำนวน 550 ชุด คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ตามเป้าหมายที่ไว้ จากข้อมูลที่เก็บได้ พบว่า ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนาข้าวเป็นหลักพบทั้ง 550 ครัวเรือน และปลูกผักเป็นอันดับสอง ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดจะนำไปคีย์ลงในโปรแกรม Excel เพื่อประมวลผลก่อนส่งให้ สจรส.ม.อ.นำไปจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ระบบอาหารของตำบลหูล่อง

     

    8 8

    6. ประชุมรายงานความคืบหน้าโครงการอาหารปลอดภัย ที่ กศน.หูล่อง

    วันที่ 16 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการในโครงการ ได้นำเสนอผลการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามที่เก็บมาได้ทั้งหมด 550 ชุด ให้กับคณะกรรมการได้รับทราบ และหารือการบันทึกข้อมูลลงในโปรแกรมและการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คณะกรรมการได้รับทราบผลการเก็บข้อมูล ได้มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลร่วมกัน โดยผลที่พบจากการเก็บข้อมูล จะเป็นประเด็นนาข้าว ที่เป็นอาชีพหลักของชาวบ้านทั้ง 7 หมู่บ้านในตำบลหูล่อง แต่เป็นการทำนาเคมีที่มีต้นทุนสูง ทางทีมจึงมีแนวคิดจะทำเรื่องนาอินทรีย์ให้เกิดขึ้นในชุมชน

     

    8 8

    7. ประชุมสมัชชาคนคอน

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำพื้นผักอาหารปลอดสารพิษในชุมชนของตำบลหูล่องมาจัดนิทรรศการและจำหน่ายในงานสมัชชาคนคอน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ออกร้านจำหน่ายสินค้าอาหารปลอดภัยในชุมชนตำบลหูล่อง รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้อาหารปลอดภัยระหว่างเครือข่าย

     

    5 5

    8. คีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

    วันที่ 12 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำข้อมูลจากแบบสอบถามจำนวน 550 ชุด บันทึกลงในโปรแกรม Excel เพื่อประมวลข้อมูลความมั่นคงทางอาหารในตำบลหูล่อง ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สามารถคีย์ข้อมูลได้ทั้งหมด 550 ชุด และส่งข้อมูลให้ทาง สจรส.ม.อ.รวบรวมเพื่อนำไปวิเคราะห์จัดทำแผนยุทธศาสตร์อาหารในต่อไป

     

    8 8

    9. รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามครั้งที่ 2

    วันที่ 12 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจความมั่งคงทางอาหารทุกหมู่บ้านเพิ่มเติม เนื่องจากเวทีประชุมคณะกรรมการเมือเดือน พ.ย.59 ที่ผ่านมา ข้อมูลที่ได้ยังไม่สมบูรณ์ จึงต้องเก็บข้อมูลเพิ่มเติม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการลงพื้นที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูลของตำบลหูล่องได้รวบรวมข้อมูลตรงตามเป้าหมาย 550 ครัวเรือน จากจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 1540 ครัวเรือนคิดเป็น35.7%ของจำนวนครัวเรือนทั่งหมด

     

    8 8

    10. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการในโครงการ เตรียมการจัดเวทีคืนข้อมูลจากแบบสอบถามและจัดทำข้อมูลที่จะใช้ในเวที

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อตกลงร่วมกันว่าจะจัดเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชนในวันที่ 5 พฤษภาคม 2560 และเตรียมข้อมูลสถานการณ์ตำบลหูล่อง ข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยทำเป็นพาวเวอร์ว้อยนำเสนอ ให้แก้วนำเสนอ และได้ประสานงานผู้เข้าร่วมเวทีประมาณ 40 คน โดยจะจัดที่ อบต.หูล่อง

     

    20 7

    11. ประชุมคณะทำงาน จัดทำแผนยุทธศาสตร์ครั้งที่ 1

    วันที่ 5 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • เสนอข้อมูลสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย โดย น.ส.วิลาวรรณ สุวรรณรัตน์
    • แบ่งกลุ่มระดมความคิดเห็นต่อร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารและโภชนาการตำบลหูล่อง
    • จัดทำยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยของตำบลหูล่อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ร่างยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยของตำบลหูล่อง
    • ได้ประเด็นการทำนาข้าว มะพร้าว พืชผัก โภชนาการของเด็กนักเรียนในโรงเรียน และตลาดพืชผักปลอดภัย

     

    20 0

    12. บริหารจัดการโครงการ ประชุม ทีมทำงาน จัดทำรายงาน /รายงานความก้าวหน้า รวม 8 ครั้ง

    วันที่ 7 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำรายงานกิจกรรมในเว็บไซต์ ประสานงานผู้เข้าร่วมและจัดทำเอกสารการเงิน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รายงานกิจกรรมในเว็บไซต์ทุกกิจกรรมและไม่มีรายงานล่าช้า ได้จัดทำเอกสารการเงินแยกเป็นรายกิจกรรมให้ตรงกับค่าใช้จ่ายและสอดคล้องกับกิจกรรมที่ทำ

     

    10 10

    13. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

    วันที่ 26 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการในโครงการหารือเตรียมการเข้าร่วมเวทีจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในตำบลหูล่อง ที่จะจัดขึ้นในวันที 1-2 มิถุนายน 60 ณ โรงแรมทวินโลตัส

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้เตรียมข้อมูลสถานการณ์ตำบลหูล่อง โดยขอข้อมูลจากทีม อบต. ข้อมูลสถานการณ์อาหารปลอดภัยจาก รพ.สต. และข้อมูลโภชนาการเด็กจาก รพ.สต.และโรงเรียนในตำบลหู่อง
    • ผู้เข้าร่วมที่จะเชิญมาจัดทำเอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง ได้ประสาน ผอ.รพ.สต. ผอ.โรงเรียน อบต. อสม.และเกษตรกรเข้าร่วม โดยประสานด้วยตนเอง และให้ทาง สจรส.ช่วยประสานอีกทางหนึ่ง

     

    25 18

    14. ประชุมคณะทำงานและเครือข่ายทำแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ที่ กศน.ตำบลหูล่อง

    วันที่ 3 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    คณะกรรมการในโครงการ และเครือข่ายครู กศน.ได้ร่วมกันนำเอกสาร ข้อมูล ร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง โดยแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลตามคำแนะนำของทีม สจรส.ม.อ.ร

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่างแผนยุุธศสาตร์ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัยตำบลหูล่อง ที่มีข้อมูล 4 ด้าน คือ สถานการณ์ด้านความมั่นคงทางอาหาร เป้าประสงค์ แผนงานโครงการ และข้อมูลทั่วไปของตำบลหูล่อง และส่งข้อมูลให้ทาง สจรส.ม.อ.นำไปรวบรวมอีกครั้ง

     

    6 6

    15. ประชุมผู้ปกครองให้ความรู้เรื่องโภชนาการอาหารสมวัย

    วันที่ 7 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    7 มิ.ย.60 ประชุมผู้ปกครองชี้แจงและให้ความรู้เรื่องโภชนาการอาหารสมวัย เพื่อให้ผู้ปกครองช่วยดูแลและจัดเตรียมอาหารเช้าให้บุตรหลานก่อนมาโรงเรียน เก็บข้อมูลทางด้านอาหารตามหลักโภชนาการของเด็กนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    โรงเรียนได้ปลูกผักปลอดสารพิษตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ได้แผนยุทธสาตร์ของโรงเรียนวัดสองพี่น้อง ไข้อมูลด้โภชนาการอาหารสมวัยของโรงเรียน เด็กได้รับประธานอาหารเช้ามาโรงเรียน และเกิดการทำงานร่วมกันเรื่องอาหารและโภชนาการปลอดภัยในโรงเรียน

     

    50 50

    16. ประชุมระดมความคิดเห็น ให้ข้อเสนอต่อแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง

    วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดประชุมเชิญหัวหน้าส่วนราชการเข้าร่วมให้คำแนะนำต่อแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง ได้นำเสนอแผนโดย น.ส.วิลาวรรณ สุวรรณรัตน์ และมีการวิพากษ์โดย สสจ. เกษตรและสหกรณ์ ผอ.สปสช.และนายก อบต.ควนรู โดยให้คำแนะนำต่อการปรับแก้เอกสารและการลงปฏิบัติการในปีถัดไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้รับคำแนะนำต่อการแก้ไขเอกสารแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารของตำบลหูล่อง และได้แนวทางในการทำงานปีหน้า คือ ร่วมกับ รพ.สต.และทางโรงเรียน รวมทั้งประเด็นทำนาเป็นงานหลักในปีหน้า

     

    5 9

    17. จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์

    วันที่ 30 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    จัดทำเอกสารายงานฉบับสมบูรณ์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ร่างแผนยุทธศาสตร์ตำบลหูล่อง ที่สามารถนนำไปใช้ปฏิบัติการในปีที่สอง และได้รายงานฉบับสมบูรณ์ที่ส่งให้แหล่งทุนได้

     

    5 5

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 การจัดการความมั่นคงทางอาหาร
    ตัวชี้วัด : จัดทำข้อมูลพื้นฐานเกียวกับแหล่งผลิตอาหารของแต่ละบริบทพื้นที่ในตำบลหูล่องเช่น ข้าว ปศุสัตว์ พืชผัก ผลไม้ ในประเด็นสำคัญดังนี้ 1. สถานการณ์ของอาหารแต่ละประเภท เช่นพื้นที่ผลิต วัตถุประสงค์การผลิต (ผลิตเพื่อบริโภค จำหน่าย หรือทั้งบริโภคและจำหน่าย การแปรรูป ) รูปแบบการผลิต (แบบอินทรีย์ แบบเคมีและแบบผสมผสาน) 2. กลุ่มเครือข่ายที่เกียวข้องกับการผลิต จำหน่าย บริโภค ระบบการตลาดภายในตลาดภายนอกชุมชนของผลผลิตแต่ละประเภท 3. ระบบการกระจายผลผลิตของ ผลผลิตแต่ละประเภท 4. หน่วยงานที่มีหน้าที่ในการให้การสนับสนุน หรือขับเคลื่อนการดำเนินงานแต่ละประเภทของผลผลิต

     

    2 การจัดทำข้อมูลสการณ์ด้านอาหารปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : กลไกระบบการเฝ้าระวังสารปนเปื้อนในอาหาร

     

    3 การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ กลุ่มเด็ก 0 -3 กลุ่มเด็ก 3 -5 กลุ่มเด็ก 6 -14 ผู้สูงอายุ

     

    4 การกำหนดเป้าหมายหรือภาพอนาคตของชุมชน
    ตัวชี้วัด : กำหนดเป้าหมายอนาคตของชุมชนที่ต้องการในเรื่องความมั่นคงทางอาหารที่ปลอดภัย

     

    5 การกำหนดยุทสาตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหารอาหารปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : กำหนดเป้าหมายประเด็นความมั่นคงทางอาหารอาหารปลอดภัยและ โภชนาการที่สมวัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การจัดการความมั่นคงทางอาหาร (2) การจัดทำข้อมูลสการณ์ด้านอาหารปลอดภัย (3) การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านภาวะโภชนาการ (4) การกำหนดเป้าหมายหรือภาพอนาคตของชุมชน (5) การกำหนดยุทสาตร์ของท้องถิ่นประเด็นความมั่นคงทางด้านอาหารอาหารปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช

    รหัสสัญญา 59-ข-051 ระยะเวลาโครงการ 1 กันยายน 2559 - 28 กุมภาพันธ์ 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ได้ชุดข้อมูลสถานการณ์อาหารตำบลหูล่อง ที่สามารถนำไปจัดทำเป็นแผนอาหารปลอดภัยของตำบลได้

    ข้อมูลจากเอกสารวิเคราะห์ตำบลหูล่องที่ใช้ในเวทีคืนข้อมูลเมื่อวันที่ 5พ.ค 60

    นำข้อมูลไปจัดทำร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารของตำบลหูล่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

    เกิดแปลงปลูกผักปลอดสารพิษใน 2 โรงเรียนของตำบลหูล่อง

    1. แปลงผักภายในโรงเรียนวัดสองพี่น้องและโรงเรียนวัดปากตรง
    2. รูปภาพแปลงผักของโรงเรียน
    1. ให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารพิษ
    2. นำผักจากแปลงไปทำเป็นอาหารกลางวัน
    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

    เกิดกระบวนการนำข้อมูลที่ได้จากการลงพื้นที่มาทำแผน/โครงการ อาหารเพื่อบรรจุเข้าแผนของ อบต.

    1. รายงานการจัดกิจกรรมวันที่ 23 มิ.ย 60 บนเว็บไซต์
    2. เอกสารข้อมูลสถานการณ์อาหาร ที่ใช้ในเวทีคืนข้อมูลสู่ชุมชน วันที่ 5 พ.ค.60

    นำแผนงานโครงการเรื่องอาหารที่ได้จากข้อเสนอในเวทีคืนข้อมูล บรรจุเข้าสู่แผน อบต.ปี 61

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

    ได้วิธีการทำงานใหม่ร่วมกับเครือข่าย คือ การทำงานร่วมกับหน่วยงาน รพ.สต. โรงเรียน กศน. และปราชญ์ชุมชน เพื่อนำข้อมูลความรู้ที่มีในชุมชนมาใช้ในการตัดสินใจทำแผนงานโครงการอาหารปลอดภัย

    รายงานกิจกรรมที่อยู่บนเว็บไซต์ http://hsmi2.psu.ac.th/scac/paper/42/info

    ประชุมร่วมกับหน่วยงาน/เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการนำแผนงานโครงการไปปฏิบัติ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

    เกิดกลุ่มคณะทำงานในโครงการ ประกอบด้วย เกษตรกร อสม. และ ส.อบต. มีการประชุมร่วมกันทุกเดือน

    ม.3,ม.4,.ในตำบลหูล่องและสถานศึกษา

    จัดตั้งกลุ่มชาวบ้านปลอดสารพิษ กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อให้เกิดกลุ่มและนำแผนงานโครงการมาปฏิบัติการในพื้นที่ได้จริง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

    ทางโรงเรียนวัดปากตรงและโรงเรียนวัดสองพี่น้อง มีแผนงานการจัดทำโครงการส่งเสริมให้เด็กและผู้ปกครองทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง มีข้อมูลรายละเอียดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กและผู้ปกครองการทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่

    ประชุมร่วมกับ ผอ.และคณุทั้ง 2 โรงเรียน เพื่อนำโครงการนี้ไปสู่การปฎิบัติของโรงเรียนทั้งสอง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

    เกิดร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในตำบลหูล่อง มี 3 ประเด็น คือ ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัยในเด็กเล็ก

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง ใช้นำเสนอในเวทีวันที่ 23 มิถุนายน 60

    นำยุทธศาสตร์ที่ได้ไปบูรณาการแผนกับ อบต. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

    เกิดแผนงาน/โครงการใน 3 ประเด็น ดังนี้

    1.ประเด็นความมั่นคงทางอาหาร

    • โครงการเพิ่มพื้นที่นาปลอดสารเคมีระดับครัวเรือนและชุมชน
    • จัดทำโซนพืชผักปลอดสารพิษระดับครัวเรือน โรงรียน และชุมชน

    2.อาหารปลอดภัย

    • จัดตั้งตลาดสีเขียวขึ้นในตลาดกลางของ ต.หูล่อง

    3.โภชนาการสมวัยในเด็กเล็ก

    • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กและผู้ปกครองในการทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าครบ 5 หมู่

    เอกสารร่างแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารตำบลหูล่อง ใช้นำเสนอในเวทีวันที่ 23 มิถุนายน 60

    นำแผนงานโครงการที่ได้บรรจุเข้าสู่แผน อบต.ปี 61 และประสานประชุมให้เกิดการปฏิบัติการจริงได้ในพื้นที่

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

    มีการเชื่อมโยงระหว่างกลุ่มเครือข่ายรพสต. สภาองค์กรชุมชน สวัสดิการชุมชน ศูนย์ภัยพิบัติตำบล กศน.ตำบล ครูโรงเรียน อบต.อพปร. อสม.

    1. เล่มยุทธศาสตร์การจัดการระบบอาหารและโภชนาการตำบลหูล่อง
    2. มีภาคีร่วมหลายฝ่าย
    3. รายงานการบันทึกกิจกรรมในโครงการที่อยู่ใน http://hsmi2.psu.ac.th/scac/paper/42/info

    ประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลักดันแผนงานโครงการให้ได้รับการสนับสนุนจากภาคีเครือข่าย

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

    ใช้ผู้นำที่มีความสามาถรหลายองค์กรหลายหน่วยงานมาเป็นภาคีร่วมในการทำงานแต่ละกลุ่มในตำบล

    อบต. สภาองค์กรชุมชนตำบล สวัสดิการชุมชนตำบล และศูนย์จัดการภัยพิบัติ รพสต.

    สร้างผู้นำที่มีศักยภาพใหม่ๆ มาเป็นแนวร่วมเพิ่มเติม

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
    1. มีการจัดประชุมภายในตำบล
    2. มีการประชุมนอกสถานที่
    1. บันทึกการประชุม
    2. รูปภาพ

    การนำแผนงานไปปฎิบัตในปี 61

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

    การนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อที่จัดทำแผนแผนยุทธศาสตร์ในตำบล

    มีแผนยุทธศาสตร์ตำบลหูล่อง

    นำแผนยุทธศาสตร์ที่ได้ไปปฎิบัติในปี 61

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

    มีความคิดริเริ่ม/สามัคคีร่วมพัฒนากลุ่ม/ชุนไปในทิศทางเดียวกัน

    ชุมชนให้ความร่วมมือการรับสมาชิกกลุ่มต่างๆเพิ่มขึ้น

    การสร้างความศรัทธาและความเชื่อมั่นให้แก่ชุมชนต่อไป

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

    การนำ/หรือชักชวนบุคคลที่มีจิตสาธรณะมาร่วมกลุ่มองค์กรในตำบล

    การทำงานของบุคคน/กลุ่มที่ปฎิบัติอยู่ในปจุบันนี้

    การปฎิบัติของบุคนในการทำงานอย่างต่อเนื่อง

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
    1. มีการปลูกผักกินเองในครัวเรือน
    2. การทำบัญชีครัวเรือนเพื่อวิเคราะห์รายจ่ายในครัวเรือน
    3. การหาอาหารตามธรรมชาติไว้บริโภคเช่น ปู ปลา ไว้กินเอง

    มีชุมชนพอเพียงในตำบลหูล่องเช่นชุมชนหมู่ที่ 3

    ส่งเสริมอาชีพเสริมให้แก่ชุมชนและครัวเรือน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

    มีการแลกเปลี่ยนผักที่เหลือกินเหลือใช้ให้เพื่อนบ้านข้างเคียง

    การช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการประกอบอาชีพ

    การจุดประกายความคิดเดิมๆของคนในสมัย โบราณ เช่น ประเพณีลงแขก

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

    นำข้อมูลที่เก็บได้มาทำแผน

    เพื่อใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์

    มีข้อมูลแผนยุทธศาสตร์ไปพัฒนาต่อ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    ตำบลบูรณาการอาหารตำบลหูล่อง นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายพรเทพเซ่งรักษา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด