แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 ”
ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
หัวหน้าโครงการ
นายธนาคาร ผินสู่
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7
ที่อยู่ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด จังหวัด ขอนแก่น
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 จังหวัดขอนแก่น" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 " ดำเนินการในพื้นที่ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 610,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
- ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
- การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
- 2.1 การหารือคณะกรรมการ พชอ.ขอนแก่น
- 2.2 การหารือคณะกรรมการ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 2.3 การหารือคณะกรรมการ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 2.4 การหารือคณะกรรมการ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- การประชุม coaching ทีมระดับเขตสุขภาพที่ 7 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ
- 3.1 เวทีชี้แจงโครงการฯ เทศบาลนครขอนแก่น
- 3.2 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 3.3 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 3.4 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- 4.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ เทศบาลนครขอนแก่น ”
- 4.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 4.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 4.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) เทศบาลนครขอนแก่น
- 5.2 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 5.3 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- 6.การติดตามสนับสนุนพื้นที่
- 7.เวทีสรุปบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การประชุม coaching ทีมระดับเขตสุขภาพที่ 7 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ
วันที่ 20 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกระบวนการดำเนินงานโครงการฯ
- พี่เลี้ยงแต่ละจังหวัดแลกเปลี่ยนสถานการณ์การขับเคลื่อนงานกองทุนฯ และการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
- ผู้ประสานงานเขตนำเสนอร่างแผนและวิธีการดำเนินงานโครงการฯ พร้อมให้ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนและให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- ผู้ประสานงานเขตแนะนำเครื่องมือ/โปรแกรมออนไลน์ต่อผู้เข้าร่วมประชุม
- พี่เลี้ยงแต่ละจังหวัดออกแบบแผนงาน วิธีการทำงานของแต่ละพื้นที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ทีม/แกนนำทำงานโครงการฯ ของเขต จำนวน 15 คน ที่มาจากหลายภาคส่วน ได้แก่ สปสช.เขต 7, สสจ.และ สสอ. แต่ละจังหวัด, ตัวแทน พชอ., เจ้าหน้าที่ รพ.สต. และผู้รับผิดชอบงานกองทุน
- ทีมเข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวธีการดำเนินงานของโครงการฯ ร่วมกัน
- เกิดการมีส่วนร่วมในการออกแบบแผนงาน กิจกรรม และกระบวนการทำงานร่วมกัน และได้แผนการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่หรือสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ จำนวน 4 แผน ที่แตกต่างกัน
- ทีมเข้าใจบทบาท หน้าที่ และมีแนวทางในการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่อย่างชัดเจน โดยการกำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวของในพื้นที่ บทบาทของแต่ละภาคส่วน และรายละเอียดวัน เวลา สถานที่ในการจัดกิจกรรมพัฒนาแผนงานกองทุน
- รับรู้และเข้าใจสถานการณ์ปัจจุบันของการขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ของแต่ละจังหวัด
- ที่ประชุมได้ทำความรู้จักกับเครื่องมือ/โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์เบื้องต้น พร้อมแลกเปลี่ยน และแนะนำวิธีการในการใช้งานอย่างง่ายและสะดวกเมื่อนำไปใช้จริง
- ได้แนวทางในการบูรณาการการขับเคลื่อนงานกองทุนร่วมกับ พชอ. เช่น การจัดเวทีปรึกษาหารือย่อยเพื่อทำความเข้าใจร่วมกัน การจัดเวทีประสานแผนงานโครงการซึ่งแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ 1. แผนงานที่สอดคล้องกับ พชอ. และ 2. การผลักดันแผนงานอื่นๆ ที่ไม่สอดคล้องในปีงบประมาณถัดไป
15
0
2. 3.4 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
วันที่ 17 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงความสำคัญและเป้าหมายโครงการ โดย ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก หัวหน้าโครงการฯ
- นำเสนอรายละเอียดแผนงานโครงการ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนและออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนโครงการร่วมกัน
- แลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย โดยตัวแทนกองทุน จำนวนทั้งสิ้น 10 กองทุน และแลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนการดำเนินงานของ พชอ.โพธิชัย โดยเลขา พชอ.ฯ
- แนะนำและสอนการใช้โปรแกรมออนไลน์ฯ โดยนางสาวจุติมาพร พลพงษ์ ผู้ประสานงานโครงการ
- ทดลองบันทึกข้อมูลการพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนในโปนแกรมออนไลน์ โดยตัวแทนผู้รับผิดชอบงานแต่ละกองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้รับทราบและทำความเข้าใจร่วมกันถึงเป้าหมาย รายละเอียด และวิธีการดำเนินงานโครงการร่วมกัน พร้อมทั้งได้มีส่วนร่วมในการออกแบบวิธีการดำเนินงานในระดับพื้นที่ร่วมกัน
- คณะทำงานโครงการได้ทราบและเข้าใจบทเรียนการขับเคลื่อนงานกองทุนในพื้นที่ และการบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับ พชอ. สามารถนำไปออกแบบแนวทางในการดำเนินงานโครงการได้
- คณะกรรมการ พชอ. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รู้จักโปรแกรมออนไลน์ มองเห็นประโยชน์จากการใช้โปรแกรมออนไลน์ แต่ยังมีข้อกังวลว่าโปรแกรมออนไลน์จะเป็นภาระเพิ่มให้กับผู้รับผิดชอบงานกองทุน เนื่องจากยังไม่ได้บูรณาการให้เป็นโปรแกรมเดียวกับของ สปสช. ซึ่งเป็นโปรแกรมหลักที่กองทุนต้องใช้เมื่อมีการขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนตำบล "ต้องกรอกซ้ำซ้อน"
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสามารถเข้าใจและเข้าใช้โปรแกรมออนไลน์ได้ในเบื้องต้น
- มีการทดลองพัฒนาแผนงาน/โครงการ และบันทึกข้อมูลเบื้องต้นลงในโปนแกรมออนไลน์จำนวน 6 แผนงาน
39
0
3. 4.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
วันที่ 1 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำ
การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด แบ่งออกเป็น 2 ครั้ง (2 โซน) ครั้งละ 5 กองทุน โดยในแต่ละครั้งมีกระบวนการ ดังนี้
- ผู้ประสานงานโครงการทบทวนรายละเอียดโครงการ
- พัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบงานกองทุนเกี่ยวกับการพัฒนาโครงการด้านสุขภาพแต่ละแผนงาน โดยใช้คู่มือจากทีมวิชาการกลาง
- การทบทวนการใช้โปรแกรมออนไลน์ และทดลองพัฒนาแผนงาน/โครงการเพื่อเป็นการทำความเข้าใจการใช้โปรแกรมออนไลน์เบื้องต้น โดยเลือกแผนงานป้องกันฯ โควิด มาทดลองร่วมกัน
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุนบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพตำบลลงในโปรแกรมออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการสุขภาพของแต่ละแผนงานมากขึ้น เช่น เข้าใจว่าการมีกิจกรรมทางกายไม่ได้หมายถึงการออกกำลังกายเพียงอย่างเดียว แต่รวมไปถึงการเดิน การเคลื่อนไหวร่างกายขณะเรียนหรือทำงาน เป็นต้น
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุนเข้าใจและสามารถใช้งานโปรแกรมออนไลน์ได้คล่องแคล่วมากขึ้น ความอึดอัดใจในการใช้โปรแกรมออนไลน์ลดลง ยอมรับได้มากขึ้น เห็นประโยชน์จากการใช้งานโปรแกรมออนไลน์มากขึ้น
- มีการบันทึกข้อมูลแผนงาน โครงการในโปรแกรมออนไลน์ครอบคลุมเกือบทุกแผนงาน จำนวนทั้งสิ้น 55 แผนงาน 61 โครงการ
- มีข้อเสนอในเวทีให้แก้ไขโปรแกรมออนไลน์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น ได้แก่ ข้อมูลสถานการณ์ของกองทุนตำบลกับข้อมูลสถานการณ์ของพื้นที่ดำเนินการ (ในแบบฟอร์มกองทุน) ควรลิ้งค์กัน โดยให้แก้เฉพาะขนาดของปัญหาให้สอดคล้องกับขนาดพื้นที่ปฏิบัติการ เพราะกองทุนส่วนใหญ่ดำเนินการโครงการในระดับตำบล, การพัฒนาโปรแกรมออนไลน์ให้สามารถใช้งานได้บนโทรศัพท์มือถือ และพัฒนาเป็น Application เพราะทำให้ใช้งานได้สะดวกกว่า และโปรแกรมออนไลน์ควรวิเคราะห์และประมวลผลให้ได้ในเบื้องต้นว่าควรดำเนินการโครงการอะไร แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพคืออะไร โดยการพิจารณาจากข้อมูลสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่นั้นๆ
39
0
4. 3.3 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
วันที่ 22 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงความสำคัญและเป้าหมายโครงการ โดย ดร.สมพันธ์ เตชะอธิก หัวหน้าโครงการฯ
- นำเสนอรายละเอียดแผนงานโครงการ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการ พร้อมแลกเปลี่ยนและออกแบบแนวทางการขับเคลื่อนโครงการร่วมกัน
- แลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่อำเภอสมเด็จ โดยตัวแทนกองทุน จำนวนทั้งสิ้น 9 กองทุน และแลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนการดำเนินงานของ พชอ. สมเด็จ โดยเลขา พชอ.ฯ
- แนะนำและสอนการใช้โปรแกรมออนไลน์ฯ โดยนางสาวจุติมาพร พลพงษ์ ผู้ประสานงานโครงการ
- ทดลองบันทึกข้อมูลการพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุนในโปนแกรมออนไลน์ โดยตัวแทนผู้รับผิดชอบงานแต่ละกองทุน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้รับทราบและทำความเข้าใจร่วมกันถึงเป้าหมาย รายละเอียด และวิธีการดำเนินงานโครงการร่วมกัน พร้อมทั้งได้มีส่วนร่วมในการออกแบบวิธีการดำเนินงานในระดับพื้นที่ร่วมกัน
- คณะทำงานโครงการได้ทราบและเข้าใจบทเรียนการขับเคลื่อนงานกองทุนในพื้นที่ และการบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับ พชอ. สามารถนำไปออกแบบแนวทางในการดำเนินงานโครงการได้
- คณะกรรมการ พชอ. ผู้รับผิดชอบงานกองทุน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ รู้จักโปรแกรมออนไลน์ มองเห็นประโยชน์จากการใช้โปรแกรมออนไลน์ แต่ยังมีข้อกังวลว่าโปรแกรมออนไลน์จะเป็นภาระเพิ่มให้กับผู้รับผิดชอบงานกองทุน เนื่องจากยังไม่ได้บูรณาการให้เป็นโปรแกรมเดียวกับของ สปสช. ซึ่งเป็นโปรแกรมหลักที่กองทุนต้องใช้เมื่อมีการขออนุมัติงบประมาณจากกองทุนตำบล "ต้องกรอกซ้ำซ้อน" ทั้งยังมีโปรแกรมออนไลน์อื่นๆ ที่ต้องรับผิดชอบ
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุนสามารถเข้าใจและเข้าใช้โปรแกรมออนไลน์ได้ในเบื้องต้น
36
0
5. 4.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
วันที่ 7 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- ทบทวนรายละเอียดและเป้าหมายโครงการ
- ผู้รับผิดชอบงานแต่ละกองทุนระดมความคิดเห็น และคัดเลือกประเด็นเพื่อนำมาพัฒนาแผนงาน/โครงการ
- บันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการลงในโปรแกรมออนไลน์
- แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพิ่มเติม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้รับผิดชอบงานกองทุน บันทึกแผนได้ 49 แผนงาน 90 โครงการ
36
0
6. 2.2 การหารือคณะกรรมการ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
วันที่ 11 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- ชี้แจงรายละเอียดโครงการ ความสำคัญ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวิธีการดำเนินงานต่อผู้เข้าร่วมประชุม
- แลกเปลี่ยนบทเรียนการขับเคลื่อนงานของ พชอ.บรบือที่ผ่านมา
- ระดมความคิดเห็น เพื่อหาแนวทางในการบูรณาการการขับเคลื่อนงานร่วมกันระหว่างกองทุนตำบล และ พชอ.
- ออกแบบวิธีการดำเนินงานโครงการร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- บทเรียนการขับเคลื่อนงานของ พชอ.บรบือ ที่ผ่านมา คือ การสร้างกลไกท้องถิ่น/ท้องที่ ในการขับเคลื่อน พชอ. เช่น มีอนุกรรมการติดตามงานตามความถนัดหรือความสามารถของแต่ละบุคคล การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ พชอ.อย่างต่อเนื่อง
- ได้แนวทางการขับเคลื่อนงานร่วมกัน คือ การกำหนดประเด็นร่วมระหว่าง พชอ.กับกองทุนตำบล ได้แก่ ความปลอดภัยทางถนน
- นัดหมายผู้รับผิดชอบงานทั้ง 16 กองทุน เพื่อพัฒนาแผน/โครงการ โดยใช้โปรแกรมออนไลน์ วันที่ 26 สิงหาคม 2563
- มีข้อเสนอในการปรับใช้โปรแกรมออนไลน์เพื่อพัฒนาแผนงาน/โครงการกองทุน คือ ประเด็นที่ระบุไว้ในโปรแกรมออนไลน์ ควรครอบคลุมคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกด้าน เช่น สาธารณภัย/ภัยพิบัติ เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
20
0
7. 3.2 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
วันที่ 22 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
1.ชี้แจงความสำคัญและแผนงานฯ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7
2.เปิดเวทีประชุมฯ และแนวทางการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย นายปรีชาพงศ์ ทองมี นายอำเภอบรบือ
3.การออกแนวทางการทำงานร่วมกัน โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
- การแลกเปลี่ยนสถานการณ์ การขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
- ร่วมออกแนวทางการทำงานร่วมกัน ขอความร่วมมือ หาแนวทางยุทธศาสตร์การทำงาน
โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7
4.แนะนำการใช้งานและฝึกปฏิบัติเครื่องมือ/โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดย นางสาวจุติมาพร พลพงษ์ เจ้าหน้าที่โครงการฯ เขต 7
5.การวิเคราะห์และคัดเลือกประเด็นหรือปัญหาที่สนใจนำมาจัดทำแผน/โครงการฯ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7
6.นำแผน/โครงการฯ บันทึกลงโปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดย นางสาวจุติมาพร พลพงษ์ เจ้าหน้าที่โครงการฯ เขต 7
7.สรุปผลการประชุม และสิ่งที่จะขับเคลื่อนต่อไป โดย นางสาวจุติมาพร พลพงษ์ เจ้าหน้าที่โครงการฯ เขต 7
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ พชอ.บรบือ ได้บันทึกแผนงานลงในโปรแกรมออนไลน์จำนวน 17 แผนงาน 9 โครงการ แต่ยังบันทึกข้อมูลไม่สมบูรณ์ ซึ่งมีนัดหมายติดตามในครั้งต่อไปในวันที่ 19 มกราคม 2564 เพื่อทบทวนและบันทึกข้อมูลให้ถูกต้องสมบูรณ์ต่อไป
57
0
8. 6.การติดตามสนับสนุนพื้นที่
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำ
การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ "การติดตามประเมินผลโครงการกองทุนสุขภาพด้วยโปรแกรมออนไลน์" พื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564
การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 2 การติดตามคณภาพข้อมูลที่บันทึกในโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 5 มีนาคม 2564
การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 3 การติดตามประเมินผลโครงการกองทุนสุขภาพด้วยโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอสมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ วันที่ 24 มีนาคม 2564
การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 4 การติดตามคุณภาพข้อมูลที่บันทึกในโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม วันที่ 26 มีนาคม 2564
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ได้ตรวจสอบ ทบทวนและบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการให้ถูกต้องและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ได้เรียนรู้ระบบติดตามประเมิลผลโครงการ พร้อมทั้งทดลองบันทึกข้อมูลในระบบติดตามประเมินผล
236
0
9. 4.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำ
ชี้แจงความสำคัญและเป้าหมายการประชุมฯ ติดตามการขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่พัฒนาแผนและโครงการด้านสุขภาพของกองทุนสุขภาพตำบล จัดทำแผนและโครงการด้านสุขภาพของกองทุนสุขภาพตำบลแต่ละกองทุน นำข้อมูลแผนและโครงการด้านสุขภาพ พร้อมทั้งบันทึกในโปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่
ผู้รับผิดชอบงานกองทุนได้ทดลองบันทึกแผนและโครงการด้านสุขภาพในโปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดยใช้ปีงบประมาณ 2564
57
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
ตัวชี้วัด :
0.00
2
ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 จังหวัด ขอนแก่น
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายธนาคาร ผินสู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 ”
ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ดหัวหน้าโครงการ
นายธนาคาร ผินสู่
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7
ที่อยู่ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด จังหวัด ขอนแก่น
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 สิงหาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 จังหวัดขอนแก่น" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 " ดำเนินการในพื้นที่ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 สิงหาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 610,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ.
- ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
- การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม
- การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.)
- การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ.
- 2.1 การหารือคณะกรรมการ พชอ.ขอนแก่น
- 2.2 การหารือคณะกรรมการ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 2.3 การหารือคณะกรรมการ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 2.4 การหารือคณะกรรมการ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- การประชุม coaching ทีมระดับเขตสุขภาพที่ 7 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ
- 3.1 เวทีชี้แจงโครงการฯ เทศบาลนครขอนแก่น
- 3.2 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 3.3 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 3.4 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- 4.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ เทศบาลนครขอนแก่น ”
- 4.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 4.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 4.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) เทศบาลนครขอนแก่น
- 5.2 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม
- 5.3 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์
- 5.1 การประสานแผนกับ พชอ. (กลไกติดตาม) พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด
- 6.การติดตามสนับสนุนพื้นที่
- 7.เวทีสรุปบทเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การประชุม coaching ทีมระดับเขตสุขภาพที่ 7 เพื่อชี้แจงแผนงานโครงการ |
||
วันที่ 20 มกราคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
15 | 0 |
2. 3.4 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด |
||
วันที่ 17 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
39 | 0 |
3. 4.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2563กิจกรรมที่ทำการทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.โพธิ์ชัย จ.ร้อยเอ็ด แบ่งออกเป็น 2 ครั้ง (2 โซน) ครั้งละ 5 กองทุน โดยในแต่ละครั้งมีกระบวนการ ดังนี้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
39 | 0 |
4. 3.3 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ |
||
วันที่ 22 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
36 | 0 |
5. 4.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.สมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ |
||
วันที่ 7 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
36 | 0 |
6. 2.2 การหารือคณะกรรมการ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม |
||
วันที่ 11 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 0 |
7. 3.2 เวทีชี้แจงโครงการฯ พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม |
||
วันที่ 22 ธันวาคม 2563กิจกรรมที่ทำ1.ชี้แจงความสำคัญและแผนงานฯ โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7
2.เปิดเวทีประชุมฯ และแนวทางการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ โดย นายปรีชาพงศ์ ทองมี นายอำเภอบรบือ
3.การออกแนวทางการทำงานร่วมกัน โดยมีประเด็นสำคัญดังนี้
- การแลกเปลี่ยนสถานการณ์ การขับเคลื่อนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และการขับเคลื่อนงานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.)
- ร่วมออกแนวทางการทำงานร่วมกัน ขอความร่วมมือ หาแนวทางยุทธศาสตร์การทำงาน
โดย นายธนาคาร ผินสู่ ผู้ประสานงานโครงการฯ เขต 7
4.แนะนำการใช้งานและฝึกปฏิบัติเครื่องมือ/โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดย นางสาวจุติมาพร พลพงษ์ เจ้าหน้าที่โครงการฯ เขต 7 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ พชอ.บรบือ ได้บันทึกแผนงานลงในโปรแกรมออนไลน์จำนวน 17 แผนงาน 9 โครงการ แต่ยังบันทึกข้อมูลไม่สมบูรณ์ ซึ่งมีนัดหมายติดตามในครั้งต่อไปในวันที่ 19 มกราคม 2564 เพื่อทบทวนและบันทึกข้อมูลให้ถูกต้องสมบูรณ์ต่อไป
|
57 | 0 |
8. 6.การติดตามสนับสนุนพื้นที่ |
||
วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำการติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการ "การติดตามประเมินผลโครงการกองทุนสุขภาพด้วยโปรแกรมออนไลน์" พื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 2 การติดตามคณภาพข้อมูลที่บันทึกในโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอโพธิ์ชัย จังหวัดร้อยเอ็ด วันที่ 5 มีนาคม 2564 การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 3 การติดตามประเมินผลโครงการกองทุนสุขภาพด้วยโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอสมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ วันที่ 24 มีนาคม 2564 การติดตามสนับสนุนพื้นที่ครั้งที่ 4 การติดตามคุณภาพข้อมูลที่บันทึกในโปรแกรมออนไลน์ พื้นที่อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม วันที่ 26 มีนาคม 2564 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ได้ตรวจสอบ ทบทวนและบันทึกข้อมูลแผนงาน/โครงการให้ถูกต้องและสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ผู้รับผิดชอบงานกองทุนตำบลฯ ได้เรียนรู้ระบบติดตามประเมิลผลโครงการ พร้อมทั้งทดลองบันทึกข้อมูลในระบบติดตามประเมินผล
|
236 | 0 |
9. 4.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการฯ “การทำแผนและโครงการสุขภาพและใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์” พชอ.บรบือ จ.มหาสารคาม |
||
วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564กิจกรรมที่ทำชี้แจงความสำคัญและเป้าหมายการประชุมฯ ติดตามการขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่พัฒนาแผนและโครงการด้านสุขภาพของกองทุนสุขภาพตำบล จัดทำแผนและโครงการด้านสุขภาพของกองทุนสุขภาพตำบลแต่ละกองทุน นำข้อมูลแผนและโครงการด้านสุขภาพ พร้อมทั้งบันทึกในโปรแกรมบันทึกข้อมูลออนไลน์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้รับผิดชอบงานกองทุนได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการขับเคลื่อนงานกองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่
|
57 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. ตัวชี้วัด : |
0.00 | |||
2 | ดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ตัวชี้วัด : |
0.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 7 จังหวัด ขอนแก่น
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายธนาคาร ผินสู่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......