directions_run

โครงการ เกษตรมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนวัดท่าประดู่)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการ เกษตรมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนวัดท่าประดู่) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพิเชต และหลี (0818978948)

ชื่อโครงการ โครงการ เกษตรมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนวัดท่าประดู่)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เกษตรมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนวัดท่าประดู่) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เกษตรมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนวัดท่าประดู่)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เกษตรมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนวัดท่าประดู่) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดำเนินกิจกรรมอาหารกลางวันสำหรับนักเรียนในโรงเรียนวัดท่าประดู่ นักเรียนส่วนใหญ่ผู้ปกครองมีอาชีพตัดยาง ต้องออกจากบ้านไปทำงานตั้งแต่เช้า ส่งผลให้ไม่ได้จัดเตรียมอาหารให้กับนักเรียน
- ร้อยละ 80 ของนักเรียนไม่ได้รับประทานอาหารเช้าซึ่งเป็นอาหารมือสำคัญ
- ร้อยละ 30 นักเรียนมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์
- ร้อยละ 70 นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัยตามเกณฑ์ที่กำหนด
  การดำเนินกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาให้กับนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าโดยทางโรงเรียนได้จัดสรรงบประมาณส่วนหนึ่งในการทำอาหารเช้าให้กับนักเรียนซึ่งก็ยังมีปริมาณไม่เพียงพอและอาหารบางอย่างต้องไปจัดหาซื้อมาจากตลาดทำให้เป็นภาระที่เพิ่มมากขึ้น จึงมีแนวทางในการจัดกิจกรรมโครงการเพื่ออาหารกลางวันที่ ยั่งยืน และมีผลผลิตให้กับโรงอาหารได้ตลอดทั้งปี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน
  2. เพื่อให้มีวัตุดิบเพียงพอต่อการประกอบอาหารกลางวัน
  3. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามช่วงวัยตรงตามเกณฑ์ที่กหนด
  4. เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพให้กับนักเรียน
  5. เพื่อเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยังยืน ของการดำเนินกิจกรรมอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ผักพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวา(เตรีบมแปลงปลูกผักในล้อยางรถยนต์)
  2. เลี้ยงปลาดุกในบ่อซิเมนต์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 150

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้า ทุกคน
  • มีวัตถุดิบในการประกอบอาหารอย่างเพียงพอ
  • นักรียนทุกคนมีภาวะโภชนาการตามช่วงวัย ตรงตามเกณฑ์ที่กำหนด
  • นักเรียนมีทักษะความรู้นำไปประกอบอาชีพหารายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
  • มีการดำเนินกิจกรรมย่างยั่งยืนและตลอดไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ผักพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวา(เตรีบมแปลงปลูกผักในล้อยางรถยนต์)

วันที่ 4 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนตั้งแต่ชั้นป.1-ป.6 เตรียมดินในกะบะล้อรถยนต์ โดยจะให้นักเรียนติดป้ายชื่อของตนเองตามกะบะล้อรถยนต์ที่ตนเองรับผิดชอบ 1 คนต่อ 1 กะบะล้อรถยนต์

เพื่อเตรียมในการปลูกผักบุ้ง ผักกาดขาว ฯลฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1นักเรียนได้เรียนรู้การเตรียมแปลงผักโดยใช้วัสดุที่เป็นล้อยางรถยนต์ 2 มีแปลงผักจำนวน 150 แปลง เพื่อใช้ปลูกผักปลอดสารพิษ 3 นักเรียนและครู มีส่วนร่วมในการทำแปลงปลูกผัก

 

150 0

2. เลี้ยงปลาดุกในบ่อซิเมนต์

วันที่ 4 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนและครูทำการเตรียมน้ำในบ่อเลี้ยงปลา 2.นำลูกปลาดุกมาเลี้ยงในบ่อที่เตรียมไว้ และให้นักเรียนแบ่งเวรให้อาหารประจำวันโดยมีครูคอยชี้แนะ 3.เมื่อปลาดุกโต ทำการขายให้กับสหกรณ์โรงเรียนเพื่อเข้าสู่การทำอาหารกลางวันของนักเรียน บางส่วนก็จะทำการแปรรูปเป็นปลาดุกแดดเดียว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนรู้ถึงขั้นตอนการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์รวมถึงการได้รับประทานปลาดุกในมื้อกลางวันของโรงเรียน และได้ปฏิบัติจริงถึงการนำปลาดุกไปแปรรูปเป็นปลาดุกแดดเดียวเพื่อนำไปต่อยอดให้นักเรียนต่อไป ในการทำกิจกรรมมีารปล่อยปลาดุก 500 ตัว เกี่ยวได้ครั้งละ 5 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ รวมตลอดการทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวได้ทั้งหมด 120 กิโลกรัม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน
ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์
80.00 150.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อให้มีวัตุดิบเพียงพอต่อการประกอบอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : มีวัตถุดบประกอบอาหารกลางันอย่างเพียงพอ
70.00 100.00

มีวัตถุดิบเข้าสู่โครงการอาหารกลางวันอย่างเพียงพอ

3 เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามช่วงวัยตรงตามเกณฑ์ที่กหนด
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามช่วงวัยตรงตามเกณฑ์ที่กหนด
30.00 150.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

4 เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และมีทักษะ นำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพ หารายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
100.00 150.00

นักเรียนมีความรู้ละทักษะในการเพาะเลี้ยงปลาและเพาะปลูก

5 เพื่อเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยังยืน ของการดำเนินกิจกรรมอาหารกลางวันให้กับนักเรียน
ตัวชี้วัด : มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและตลอดไป
0.00 150.00

มีวัตถุดิบส่งเข้าสู่อาหารกลางวันอย่างต่อเนื่อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 150

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าทุกคน (2) เพื่อให้มีวัตุดิบเพียงพอต่อการประกอบอาหารกลางวัน (3) เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามช่วงวัยตรงตามเกณฑ์ที่กหนด (4) เพื่อส่งเสริมการประกอบอาชีพให้กับนักเรียน (5) เพื่อเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยังยืน ของการดำเนินกิจกรรมอาหารกลางวันให้กับนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผักพอเพียงหล่อเลี้ยงชีวา(เตรีบมแปลงปลูกผักในล้อยางรถยนต์) (2) เลี้ยงปลาดุกในบ่อซิเมนต์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เกษตรมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่ออาหารกลางวันนักเรียน (โรงเรียนวัดท่าประดู่) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพิเชต และหลี (0818978948) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด