directions_run

การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน ”

ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (จังหวัดระนอง, จังหวัดพังงา, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดกระบี่, จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล)

หัวหน้าโครงการ
อาจารย์มาฆฤกษ์ ชูช่วย

ชื่อโครงการ การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน

ที่อยู่ ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (จังหวัดระนอง, จังหวัดพังงา, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดกระบี่, จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล) จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง เลขที่ 62-ข-001

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (จังหวัดระนอง, จังหวัดพังงา, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดกระบี่, จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล)

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (จังหวัดระนอง, จังหวัดพังงา, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดกระบี่, จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2562 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 446 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
  2. ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
  3. ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT

    วันที่ 15 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ศึกษาข้อมูล การจัดทำหลักสูตร ทั้ง หมดที่มีความเกี่ยวข้องกับ รูปแบบหลักสูตร CBT ในปัจจุบัน
      ผลผลิต : ได้ข้อมูลจากการศึกษา การจัดกทำหลักสูตร ในแบบ degree และ non degree ทั้ง 4 รุปแบบ คือ ตำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี และหลักสูตรระยะสั้น ผลลัพธ์ : ข้อมูลของการจัดทำหลักสูตร ในปัจจุบัน ที่เกี่ยวข้องและสอดคล้องกับหลักสูตร CBT มี รุปแบบหลักสูตรระยะสั้น ภายใต้ความรับผิดชอบและดำเนินการโดยหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ และสถาบันการศึกษา

     

    5 0

    2. ทบทวนหลักสูตร CBT

    วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนหลักสูตร CBT

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้แนวทางในการศึกษาข้อมูล ของการจัดทำหลักสูตร รวมทั้งกรอบข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ ภายในหน่วยงาน สจรส มอ. เกี่ยวกับข้อมูล ในการทบทวน

     

    5 5

    3. ทบทวนหลักสูตร CBT

    วันที่ 23 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ทบทวนข้อมูลจากข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ เพิ่มเติมเกี่ยวกับ ข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมทั้ง แนวทางของหลักสูตรที่เป็นไปได้

     

    5 5

    4. กิจกรรม Mapping

    วันที่ 2 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กิจกรรม Mapping

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรม Mapping

     

    5 5

    5. ทบทวนหลักสูตร (Mapping)

    วันที่ 29 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • เกิดการสังเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน ได้ดังนี้ ผลผลิต (Output) : คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค
      ผลลัพธ์ (Outcome) : หลักสูตรที่พึงประสงค์ และมีความสอดคล้องกับการท่องเที่ยวโดยชุมชนในปัจจุบัน ควรเป็นหลักสูตรระยะสั้น ด้วยองค์ประกอบและขีดจำกัดของการพัฒนาชุมชนหลายๆ ด้าน เช่น ด้านระยะเวลา ด้านต้นทุนค่าใช้จ่าย และด้านการจัดการความรู้ในระยะยาว ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม: ความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน เป็นหลักสูตรรูปแบบระยะสั้น ซึ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในชุมชน ด้านต่างๆ เช่น ทักษะด้านภาษา ทักษะด้านการบริการ ด้านการตลาด และด้านเทคโรชนโลนี ซึ่งมาจากหน่วยงานที่ศักยภาพและความพร้อมที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา ต่างๆ เช่น สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจัดหวัด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยสำนักงานจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด และมหาวิทยาลัยในเขตภูมภาคภาคใต้ฝั่งอันดามัน อีก 6 แห่ง เป็นต้น ซึ่งได้จัดทำโครงการพัฒนา เป็นหลักสูตรระยะสั้น หลากหลายโครงการ ตามรอบระยะเวลาของปีงบประมาณ ที่ได้รับการจัดสรร

     

    5 5

    6. กิจกรรม focus group

    วันที่ 3 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    สำรวจศักยภาพ ความพร้อม และความต้องการหลักสูตร ใช้วิธี rapid survey ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ดังนี้ 1. สำรวจศักยภาพ ความพร้อม ของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT เช่น สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย อปท. อบจ.ภาคเอกชนที่สนใจ ฯลฯ ด้วยกระบวนการสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม 2. สำรวจความต้องการบุคลกรด้าน CBT (สอบถามผู้ใช้บริการนักศึกษาหรือบัณฑิต เช่น สมาคมท่องเที่ยว ผู้ประกอบการ เจ้าของธุกิจ ภาครัฐ เอกชน สมาคมท่องเที่ยวชุมชน ฯลฯ) ด้วยกระบวนการณ์สัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม 3. สำรวจความต้องการเรียนด้าน CBT (สอบถามผู้ที่ต้องการเรียนลักสูตร ) การตอบแบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทราบข้อมูลที่สำคัฐต่อการพัฒนาการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน
      ผลผลิต (Output) : ศักยภาพและความพร้อมของผู้มีส่วนสำคัญในการจัดหลักสูตร CBT cและความต้องการของบุคลากรด้าน CBT ที่ได้รับการพัฒนาหลักสูตรหรืออบรม รวมถึงความต้องการเรียน อบรมและพัฒนาด้าน CBT ของกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลลัพธ์ (Outcome) : 1.มีการจัดสรรงบประมาณในการสนับสนุน การจัดทำหลักสูตร CBT               2. เกิดการสนับสนุนทรัพยากรบุคคลในการเข้ามาพัฒนาและจัดทำหลักสูตร               3.เกิดการสนับสนุนการจ้างงาน มีการยอมรับในกระบวนการ และทักษะการทำงานของบุคลากรด้าน CBT               4. มีการสร้างรายได้ และกระจายรายได้สู่ชุมชน               5 .ความต้องการและสนใจในการเรียนนั้น เป็นรูปแบบของการพัฒนาแบบการอบรมแบบหลักสูตรระยะสั้น
                    6. หลักสูตรที่เกิดขึ้นเน้นการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถเฉพาะด้านการบริการ การตลาด และการจัดการเชิงธุรกิจ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม : จากการจัดทำเวทีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ทราบประเด็นข้อมูลที่สำคัญๆ เกี่ยวกับ ข้อมูลส่วนความต้องการในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนเช่น ประเด็นด้านศักยภาพของชุมชนต่อการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนในแต่ละด้าน ประเด็นด้านความต้องการของชุมชนต่อการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชน ด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้ของชุมชนเมื่อมีการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน และด้านการสร้างความร่วมมือหรือแนวทางให้แก่ชุมชน

     

    5 5

    7. สังเคราะห์ข้อมูล ประชุมสรุปหลักการ

    วันที่ 19 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนเอกสาร รูปแบบหลักสูตร CBT ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทั้งในแบบ degree และ non degree ทุกระดับ ทั้งต่ำกว่า ป.ตรี ป.ตรี โท เอก รวมทั้งรูปแบบการอบรมระยะสั้น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลที่เกิดขึ้นจริง: ทราบถึงรูปแบบของการจัดการของหลักสูตร ที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในปจจุบัน ที่เกิดขึ้นในภาคใต้ฝั่งอันดามัน ผลผลิต (Output): เป็นการประสานการทำงานกับกลุ่มผู้บริหารของหน่วยงานทั้งรัฐ ท้องถิ่น เอกชน องค์กรสาธารณะประโยชน์ สื่อ เป็นหลัก และเป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีกลไกการทำงานของตนเองอยู่
    ผลลัพธ์ (Outcome) : กลุ่มชุมชนการท่องเที่ยว รวมทั้งผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทั้งกลุ่ม ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาเกิดการประสานงานที่เป็นระบบกลไกผ่านการรับผิดชอบหลักของโครงการ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม: 1. ทราบการประสานงานด้วยระบบกลไกการเชื่อมโยงข้อมูลโครงการในการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน                   2. เกิดความเข้าใจที่มีความคลาดเคลื่อนในวัตถุประสงค์ของโครงการต่อกลุ่มชุมชนการท่องเที่ยว ต่อแนวโน้มการพัฒนาเป็นการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน                   3. ได้แนวทางในการศึกษาโอกาส และความเป็นไปได้ของการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชนภาคใต้ฝั่งอันดามัน

     

    3 3

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

     

    2 ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

     

    3 ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค
    ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ ชุมชนการท่องเที่ยวในภูมิภาค ทั้งรูปแบบของการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่เน้นอัติลักษณ์เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม และเชิงอาหาร ชุมชนการท่องเที่ยวฝั่งอันดามัน เชิงคุณภาพ เกิดข้อเสนอแนะความต้องการของการจำทำหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะ และสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชน และเกิดประสิทธิภาพที่เอื้อต่อการดำเนินกิจกรรมหลักสูตรและสถาบันการเรียนรู้การท่องเที่ยวชุมชนกับสุขภาวะได้อย่างมีประสิทธิผลจริง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาศักยภาพและความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน (2) ศึกษาความต้องการศึกษาในหลักสูตรการท่องเที่ยวชุมชนและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน (3) ศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนชุมชน สังคมและภูมิภาค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การศึกษาศักยภาพและความพร้อมในการจัดทำหลักสูตรและการจัดตั้งสถาบันการเรียนรู้ท่องเที่ยวชุมชน จังหวัด

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อาจารย์มาฆฤกษ์ ชูช่วย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด