directions_run

โครงการส่งเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนวัดโพธาราม (โรงเรียนวัดโพธาราม)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการส่งเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนวัดโพธาราม (โรงเรียนวัดโพธาราม) ”

ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัมพร คงเจริญเมือง (0878373290)

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนวัดโพธาราม (โรงเรียนวัดโพธาราม)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนวัดโพธาราม (โรงเรียนวัดโพธาราม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนวัดโพธาราม (โรงเรียนวัดโพธาราม)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนวัดโพธาราม (โรงเรียนวัดโพธาราม) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งขมิ้น อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนวัดโพธารามเป็นโรงเรียนขยายโอกาส เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นป.1–ม.3 มีนักเรียนจำนวน 177 คน ผู้ปกครองมีรายได้น้อยไม่เพียงพอกับสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน แม้ว่ากระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสนับสนุนงบประมาณช่วยเหลือค่าอาหารกลางวันแต่ก็ยังไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับจำนวนนักเรียน กอปรกับวัตถุดิบในการประกอบอาหารโรงเรียนต้องจัดซื้อจากตลาดจึงประสบปัญหาการขาด แคลนอาหารที่ถูกสุขลักษณะทำให้นักเรียนได้รับสารปนเปื้อนตกค้างในอาหารซึ่งมีผลกระทบต่อพลานามัยและสติปัญญาของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนได้รับอาหารที่ถูกสุขลักษณะปลอดภัยจากสารปนเปื้อน เพราะนักเรียนปลูกเองผลิตเองใช้วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ปุ๋ยคอก น้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักใบสะเดา นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน ปลูกพืชผักสวนครัว
  2. เพื่อให้นักเรียน ได้รับประทาน อาหารที่ถูก สุขลักษณะ
  3. เพื่อนำผลผลิต สนับสนุนโครงการ อาหารกลางวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    นักเรียนระดับชั้น ป.1–ม.3 177

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ปลูกพืชผักสวนครัวและผักยกแคร่

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1.นักเรียนชั้น ม.1-3 จำนวน 20 คน เตรียมแปลงปลูกผักในแปลงเพื่อผักสวนครัว จำนวน 22 แปลง และเตรียมแปลงแบบยกแคร่ จำนวน 4แปลง

    2.ครูผู้รับผิดชอบโครงการให้ความรู้นักเรียนเรื่องกระบวนการขั้นตอนการปลูก การดูแลและเก็บเกี่ยวผลผลิต

    3.นักเรียนชั้น ม.1-3 จำนวน 20 คน ร่วมกันปลูกผักบนแปลง (ผักสวนครัว ) และบนแคร่ผัก (ผักกาด คะน้า ฯลฯ ) ซึ่งนักเรียนจะมีหน้าที่ในการรับผิดชอบดูแลแปลงผัก

    4.นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตบนแปลงผักและบนแคร่ผักส่งโรงอาหาร เพื่อจัดเป็นเมนูอาหารให้กับนักเรียนในโรงเรียน และจัดส่งสหกรณ์โรงเรียนจำหน่ายให้ผู้ปกครอง นักเรียนและชุมชนในกรณีที่ผักเหลือจากโครงการอาหารกลางวัน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต:
    1.โรงเรียนมีพื้นที่แปลงผักจำนวน 22 แปลง และผักยกแคร่จำนวน 4 แคร่
    2.ผักที่เก็บเกี่ยวได้จำนวน 50 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ และส่งต่อให้โครงการอาหารกลางวันในโรงเรียน

    ผลลัพธ์:
    1.นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารเคมีที่มีคุณภาพ จำนวน 50 กิโลกรัม/สัปดาห์

    2.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผัก

     

    177 0

    2. ปลูกมะนาวในท่อบ่อ

    วันที่ 12 ธันวาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูที่รับผิดชอบโครงการ ให้ความรู้นักเรียนชั้น ม.2-3 เรื่องการปลูกมะนาวในท่อบ่อ
    2. นักเรียนเตรียมดินและท่อบ่อเพื่อปลูกมะนาว จำนวน 10ต้น
    3. แบ่งบทบาทหน้าที่นักเรียน ม.2-3 จำนวน 50 คน ในการปลูกและดูแลรักษา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต: นักเรียนชั้น ม.2-3 ปลูกมะนาวในท่อบ่อ จำนวน 10 ต้น
    ผลลัพธ์:

    1.นักเรียนมีความรู้ในการปลูกมะนาว

    2.โรงเรียนมีแหล่งผลิตมะนาวที่ปลอดภัย เพื่อใช่ในโครงการอาหารกลางวัน

     

    42 0

    3. เพาะถั่วงอก

    วันที่ 15 มกราคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้ความรู้นักเรียนชั้นม. 2-3 จำนวน 50 คน เรื่องการเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติแบบควบคุมอุณหภูมิ
    2. นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติแบบควบคุมอุณหภูมิ
    3. นักเรียนลงมือปฏิบัติการเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติแบบควบคุมอุณหภูมิ
    4. นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตภายใน 48 ชั่วโมง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต:
    1.นักเรียนชั้นม. 2-3 จำนวน 50 คน ร่วมกันเพาะถั่วงอกระบบน้ำหมุนเวียนอัตโนมัติแบบควบคุมอุณหภูมิ

    2.ได้ถั่วงอกจำนวน 101 กิโลกรัม เป็นอาหารกลางวันให้กับนักเรียนวันละ 10กิโลกรัมแม่ครัวทำเป็นอาหารมื้อกลางวันให้กับนักเรียน 177 คน ส่วนที่เหลือจากโครงการอาหารกลางวันได้นำส่งโรงพยาบาลนาหม่อม และร้านค้าทั่วไปในพื้นที่จังหวัดสงขลา

    ผลลัพธ์:
    1.นักเรียนโรงเรียนวัดโพธารามทุกคน มีเมนูอาหารกลางวันที่มีถั่วงอกเป็นส่วนประกอบ
    2.โรงเรียนมีแหล่งผลิตถั่วงอกที่มีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมี

     

    42 0

    4. เลี้ยงไก่ไข่

    วันที่ 19 พฤษภาคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ให้ความรู้นักเรียนชั้น ม.1 จำนวน 20 คน ในกระบวนการ ขั้นตอนเลี้ยงไก่ไข่
    2. เตรียมโรงเรือน จำนวน 1โรงเรือน และวัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงไก่ไข่ 700 ตัว
    3. แบ่งหน้าที่นักเรียน ม.1 จำนวน 20 คน ลงมือปฏิบัติการเลี้ยงไก่ไข่ โดยนำไก่สาวอายุ 18 สัปดาห์ ลงสู่โรงเรือน และให้อาหาร 2 เวลา เช้า เย็น
    4. นักเรียนเก็บเกี่ยวผลผลิตในสัปดาห์ที่ 23 และนำผลผลิตส่งเป็นอาหารกลางวันของโรงเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต: มีไก่ไข่จำนวน 700 ตัว และได้ไข่ไก่จำนวน 650 ฟอง/วัน

    ผลลัพธ์:
    1.นักเรียนได้รับประทานโปรตีนจากไข่ไก่ที่มีคุณภาพโดยไข่ไก่เป็นไข่ไก่สดไม่มีการรมควัน ไม่มีการเคลือบสารเคมี

    2.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงไก่ไข่

    3.โรงเรียนเป็นแหล่งผลิตไก่ไข่ที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย

     

    18 0

    5. เลี้ยงปลาดุก

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2562

    กิจกรรมที่ทำ

    1. ครูผู้รับผิดชอบโครงการให้ความรู้แก่นักเรียนชั้น ม.1 จำนวน 20 คน เกี่ยวกับการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์
    2. นักเรียนเตรียมบ่อซีเมนต์ ทำความสะอาดจำนวน 2 บ่อ
    3. นำปลาดุกพันธ์บิ๊กอุยจำนวน 700 ตัว ลงสู่บ่อเลี้ยง แบ่งหน้าที่ให้นักเรียน 20 คน ในการดูแลเลี้ยงปลา การให้อาหารปลาดุกขนาดเล็ก กลาง และใหญ่
    4. ปลาดุกอายุครบ 4 เดือน สามารถนำปลาดุกเป็นอาหารกลางวันนักเรียน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต:

    1.มีปลาดุกพันธ์บิ๊กอุยจำนวน 700 ตัว ในบ่อเลี้ยง 2บ่อ

    2.ได้ปลาดุกจำนวน 620 กก./สัปดาห์ ส่งโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน

    3.แม่ครัวสามารถจัดเมนูอาหารกลางวันที่มีปลาดุกเป็นส่วนประกอบให้กับนักเรียน

    ผลลัพธ์: นักเรียนได้รับประทานโปรตีนจากปลาดุกที่มีคุณภาพ

     

    18 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียน ปลูกพืชผักสวนครัว
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของนักเรียนชั้นป.1-ม.3 ที่ปลูกพืชผักสวนครัว
    60.00 70.00

    การคัดกรองสุขภาพ

    2 เพื่อให้นักเรียน ได้รับประทาน อาหารที่ถูก สุขลักษณะ
    ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของนักเรียนที่ได้รับอาหารที่มีคุณค่า ถูกสุขลักษณะ
    100.00 70.00

    -

    3 เพื่อนำผลผลิต สนับสนุนโครงการ อาหารกลางวัน
    ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของผลผลิตจากโครงการที่ใช้ในการปรุงอาหารกลางวันเมื่อเทียบกับผลผลิตที่ซื้อจากภายนอก
    80.00 80.00

    -

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 177
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    นักเรียนระดับชั้น ป.1–ม.3 177

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ปลูกพืชผักสวนครัว (2) เพื่อให้นักเรียน  ได้รับประทาน  อาหารที่ถูก  สุขลักษณะ (3) เพื่อนำผลผลิต  สนับสนุนโครงการ  อาหารกลางวัน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนวัดโพธาราม (โรงเรียนวัดโพธาราม) จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอัมพร คงเจริญเมือง (0878373290) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด