แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
“ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) ”
อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปัทมพร สุวรรณจำ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม)
ที่อยู่ อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
- 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
- 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมพื้นที่และเตรียมแปลงปลูกผัก
- ปลูกผักปลอดสารพิษ
- ระยะเก็บเกี่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ครู
8
นักการ
1
นักเรียน
94
แม่ครัว
1
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 2
- นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยขน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
- โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
- โรงเรียนมีผักที่ปลอดภัยในการนำมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- โรงเรียนมีพื้นที่ในการเพาะปลูกเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากการได้รับงบเพื่อปรับปรุงพื้นที่และจัดบริเวณในการเพาะปลูกได้ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เตรียมพื้นที่และเตรียมแปลงปลูกผัก
วันที่ 1 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ขั้นเตรียมแปลงเกษตร
1.1 กิจกรรมรอบรั้วครัวกินได้
ปรับพื้นที่ในการวางท่อซีเมนต์ โดยนักเรียนชั้นป.5-6 ร่วมกับนักการโรงเรียน
ผสมดินเพื่อใส่ลงท่อซีเมนต์ และพักดินไว้ เพื่อเตรียมปลูกผัก
1.2 กิจกรรมปลูกผักเรขาคณิต
- เตรียมแปลงปลูกผักโดยก่ออิฐเป็นร่องผัก (งบจากเขตพื้นที่) หลังจากนั้นผสมดินและนำดินที่จัดซื้อมาจากงบ สจรส. ลงแปลงเพื่อเตรียมพักดินและปลูกผัก โดยนักเรียนชั้นป.4-6 และครูผู้เรียนผิดชอบ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต(Output)
มีแปลงปลูกผักจากท่อซีเมนต์ จำนวน 30 ท่อ
มีแปลงปลูกผักโดยการก่ออิฐทำแปลงเกษตร จำนวน 4 แปลง
มีอุปกรณ์ในการปลูกผักพร้อมและเพียงพอต้องความต้องการของนักเรียน
ผลลัพธ์
โรงเรียนมีพื้นที่ในการปลูกผักเป็นสัดส่วน และสามารถปลูกผักได้ในปริมาณที่มากขึ้น
43
0
2. ปลูกผักปลอดสารพิษ
วันที่ 20 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
แบ่งเขตรับผิดชอบโดยแบ่งตามระดับชั้น
ป.1 ปลูกผักในแปลงก่ออิฐ บริเวณ หน้าโรงอาหาร โดบปลูกผักกาดขาว
ป.2 ปลูกบวม ในท่อซีเมนต์ กิจกรรมรอบรั้วครัวกินได้
ป.3 ดูแลโรงเห็ดนางฟ้าของโรงเรียน
ป.4 ดูแลสวนมะนาว ผักเหลียง และสวนกล้วย
ป.5-6 ปลูกผักในแปลงเรขาคณิต ผักไฮโดรโปนิกส์
ทุกกิจกรรมดำเนินการโดยนักเรียน และมีครูประจำชั้นคอยช่วยเหลือเป็นที่ปรึกษา และอำนวยความสะดวก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. ปลูกผักกาดขาวในแปลงก่ออิฐ จำนวน 4 แปลง
2.ปลูกบวมในท่อซีเมนต์ จำนวน 30 ท่อ
3.ปลูกผักไอโดรโปนิกส์ 1 แปลง
4.ปลูกผักกาดสายซิ่ม ในแปลงเรขาคณิต จำนวน 10 แปลง
ผลลัพธ์
1. นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษ
2. นักเรียนเกิดความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ และตระหนักในเรื่องการรักษาสุขภาพโดยการเลือกอาหารรับประทาน
101
0
3. ระยะเก็บเกี่ยว
วันที่ 28 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
นักเรียนที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลแปลงเกษตรแต่ละส่วน จะนำผลผลิตมาขายให้แก่อาหารกลางวันของโรงเรียน
ขายโดยยึดจากราคาในท้องตลาด เพื่อนำเงินที่ได้ไปซื้อพันธุ์ผักมาปลูกในรอบต่อไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
นักเรียนทุกคนรวมทั้งบุคคลากรในโรงเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษ
นักเรียนได้เรียนรู้ในการประกอบอาชีพทางการเกษตร
โรงเรียนมีผักปลอดสารพิษเพียงพอต่อความต้องการในการประกอบอาหารกลางวัน
ผลลัพธ์
1.นักเรียนเกิดทักษะในการทำงาน
2.นักเรียนชื่นชอบในการรับประทานผักมากขึ้น
3.ภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนลดลง
104
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 2
2.00
2
2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยขน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
95.00
3
3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการ
ตัวชี้วัด : 3. โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
104
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู
8
นักการ
1
นักเรียน
94
แม่ครัว
1
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปัทมพร สุวรรณจำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
“ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) ”
อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลาหัวหน้าโครงการ
นางสาวปัทมพร สุวรรณจำ
ชื่อโครงการ โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม)
ที่อยู่ อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน
- 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
- 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เตรียมพื้นที่และเตรียมแปลงปลูกผัก
- ปลูกผักปลอดสารพิษ
- ระยะเก็บเกี่ยว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
ครู | 8 | |
นักการ | 1 | |
นักเรียน | 94 | |
แม่ครัว | 1 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 2
- นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยขน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น
- โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
- โรงเรียนมีผักที่ปลอดภัยในการนำมาเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- โรงเรียนมีพื้นที่ในการเพาะปลูกเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากการได้รับงบเพื่อปรับปรุงพื้นที่และจัดบริเวณในการเพาะปลูกได้ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เตรียมพื้นที่และเตรียมแปลงปลูกผัก |
||
วันที่ 1 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.ขั้นเตรียมแปลงเกษตร 1.1 กิจกรรมรอบรั้วครัวกินได้
1.2 กิจกรรมปลูกผักเรขาคณิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต(Output)
ผลลัพธ์ โรงเรียนมีพื้นที่ในการปลูกผักเป็นสัดส่วน และสามารถปลูกผักได้ในปริมาณที่มากขึ้น
|
43 | 0 |
2. ปลูกผักปลอดสารพิษ |
||
วันที่ 20 พฤษภาคม 2562กิจกรรมที่ทำแบ่งเขตรับผิดชอบโดยแบ่งตามระดับชั้น ป.1 ปลูกผักในแปลงก่ออิฐ บริเวณ หน้าโรงอาหาร โดบปลูกผักกาดขาว ป.2 ปลูกบวม ในท่อซีเมนต์ กิจกรรมรอบรั้วครัวกินได้ ป.3 ดูแลโรงเห็ดนางฟ้าของโรงเรียน ป.4 ดูแลสวนมะนาว ผักเหลียง และสวนกล้วย ป.5-6 ปลูกผักในแปลงเรขาคณิต ผักไฮโดรโปนิกส์ ทุกกิจกรรมดำเนินการโดยนักเรียน และมีครูประจำชั้นคอยช่วยเหลือเป็นที่ปรึกษา และอำนวยความสะดวก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. ปลูกผักกาดขาวในแปลงก่ออิฐ จำนวน 4 แปลง 2.ปลูกบวมในท่อซีเมนต์ จำนวน 30 ท่อ 3.ปลูกผักไอโดรโปนิกส์ 1 แปลง 4.ปลูกผักกาดสายซิ่ม ในแปลงเรขาคณิต จำนวน 10 แปลง ผลลัพธ์ 1. นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการปลูกผักปลอดสารพิษ 2. นักเรียนเกิดความรู้ในการปลูกผักปลอดสารพิษ และตระหนักในเรื่องการรักษาสุขภาพโดยการเลือกอาหารรับประทาน
|
101 | 0 |
3. ระยะเก็บเกี่ยว |
||
วันที่ 28 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำนักเรียนที่ได้รับมอบหมายให้ดูแลแปลงเกษตรแต่ละส่วน จะนำผลผลิตมาขายให้แก่อาหารกลางวันของโรงเรียน ขายโดยยึดจากราคาในท้องตลาด เพื่อนำเงินที่ได้ไปซื้อพันธุ์ผักมาปลูกในรอบต่อไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์ 1.นักเรียนเกิดทักษะในการทำงาน 2.นักเรียนชื่นชอบในการรับประทานผักมากขึ้น 3.ภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนลดลง
|
104 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และปลอดภัย โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรภายในโรงเรียนนำมาประกอบเป็นอาหารกลางวัน ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนอ้วนและนักเรียนผอมมีภาวะเสี่ยงลดลงร้อยละ 2 |
2.00 | |||
2 | 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น ตัวชี้วัด : 2. นักเรียนร้อยละ 90 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารที่มีประโยขน์และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารจำพวกผัก และผลไม้ มากขึ้น |
95.00 | |||
3 | 3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเกษตรในโรงเรียนเพิ่มผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการ ตัวชี้วัด : 3. โรงเรียนจัดกิจกรรมทางการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตสำหรับเป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน |
100.00 |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 104 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ครู | 8 | ||
นักการ | 1 | ||
นักเรียน | 94 | ||
แม่ครัว | 1 |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
โครงการเกษตรปลอดสาร อาหารปลอดภัย โรงเรียนบ้านโคกพยอม (โรงเรียนบ้านโคกพยอม) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปัทมพร สุวรรณจำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......