directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านควนจง (โรงเรียนบ้านควนจง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านควนจง (โรงเรียนบ้านควนจง) ”

ม.4 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายบรรจง สุวรรณศรี

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านควนจง (โรงเรียนบ้านควนจง)

ที่อยู่ ม.4 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านควนจง (โรงเรียนบ้านควนจง) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.4 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านควนจง (โรงเรียนบ้านควนจง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านควนจง (โรงเรียนบ้านควนจง) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.4 ตำบลนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรงเรียนบ้านควนจงได้จัดอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนทุกคน โดยมีการควบคุมคุณภาพอาหารให้มีคุณค่าทางโภชนาการ ให้ครบถ้วนและจัดอาหารกลางวันอย่างเพียงพอแก่นักเรียน แต่ยังพบว่านักเรียนยังมีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ และบางส่วนมีน้ำหนักสูงกว่าเกณฑ์ ทางโรงเรียนจึงคิดวิธีการส่งเสริมโภชนาการเพิ่มเติมให้กับนักเรียน โดยให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติการทำกิจกรรมการเพาะเห็ด การทำปุ๋ยหมักแห้ง การปลูกผักปลอดสารพิษ การเลี้ยงไก่ไข่ โดยใช้รูปแบบการเกษตรผสมผสานและชีววิถี ให้มีผลผลิตที่ปลอดภัยและหลากหลายหมุนเวียนกันอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับแผนการประกอบอาหารของโรงเรียนภายใต้โครงการอาหารกลางวันให้นักเรียนได้รับประทานซึ่งถือได้ว่าเป็นการให้นักเรียนฝีกปฏิบัติ และสามารถนำประสบการณ์ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่ใหม่ สด สะอาด มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษโดยผลิตขึ้นในโรงเรียนตลอดปี
  2. เพื่อสร้างทักษะทางด้านการเกษตรให้แก่นักเรียน เพื่อใช้เป็นแนวทางการประกอบอาชีพและขยายผลต่อชุมชนได้
  3. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ การเสียสละ ความอดทน การมีวินัย และความรับผิดชอบ
  4. 4.เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหลงเรียนรู้ด้านการเกษตรให้แก่ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การเลี้ยงไก่ไข่
  2. การทำปุ๋ยหมัก
  3. การเพาะเห็ดนางฟ้า
  4. การปลูกผักปลอดสารพิษ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะครู ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน 80
นักเรียน 112

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.โรงเรียนมีวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่ใหม่ สด สะอาด มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษ

2.นักเรียนมีความรู้ด้านการเกษตรสามารถนำไปประกอบอาชีพและขยายผลสู่ชุมชนได้

3.นักเรียนมีความซื่อสัตย์ รู้จักเสียสละ มีความอดทน มีวินัย และมีความรับผิดชอบ

4.โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การเลี้ยงไก่ไข่

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดหาไก่ไข่ จำนวน 16ตัว

2.จัดหาอาหารไก่ จำนวน 8 กระสอบ

3.จัดทำโรงเรือนเลี้ยงไก่

4.จัดเวรประจำวันให้นักเรียนได้มีส่วนร่วม โดย ในตอนเช้า แต่ละวัน ต้องให้อาหารไก่ และน้ำ ให้กับไก่ที่เลี้ยงไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ไข่ไก่นำมาประกอบอาหารกลางวัน โดยมีการจัดเวรประจำวัน ให้นักเรียนเป็นผู้เก็บผลผลิตไข่ไก่  มาไว้ประกอบอาหารกลางวัน

 

25 0

2. การทำปุ๋ยหมัก

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดหาวัสดุ ได้แก่ มูลไก่ จำนวน 20 กระสอบ มูลวัว 10 กระสอบ แกลบดำ 10 กระสอบ ดินผสม 32 ถุง มะพร้าวสับ 10 กระสอบ

2.จัดหาสถานที่และ ภาชนะสำหรับทำน้ำหมัก โดยใช้ถังขนาดใหญ่

3.นำวัสดุมาจัดทำปุ๋ยหมัก โดยให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง

4.นำปุ๋ยหมักที่ได้ จากการหมัก มาใช้ในกระบวนการเกษตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ปุ๋ยหมักและน้ำหมัก มาใช้เป็นปุ๋ยในการทำการเกษตร ภายในโรงเรียนและชุมชน

 

50 0

3. การเพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดหาก้อนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำนวน 200 ก้อน 2.จัดทำโรงเรือนสำหรับเป็นที่เพาะเห็ด 3.ให้นักเรียนแบ่งเวรประจำวัน ในการดูแล และตรวจสอบความเรียบร้อยภายในโรงเรือนเห็ด 4.จัดเวรประจำวัน สำหรับเก็บผลผลิตที่ได้จากการเพาะเห็ด นำมาประกอบอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลผลิตจากการเพาะเห็ด โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม  เพื่อนำผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวัน

 

48 0

4. การปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 2 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดหาเมล็ดพันธุ์ผัก จำนวน 12 ซอง

2.จัดเตรียมดิน และสถานที่สำหรับ ทำแปลงผัก

3.ให้นักเรียนแบ่งเวรประจำวันในการดูแล แปลงฝัก โดยให้มีการ รดน้ำ ใส่ปุ๋ย และกำจัดวัชพืช รวมถึงดูแลความเรียบร้อยอื่นๆ

4.ให้เวรประจำวัน เก็บผลผลิต จากการปลูกผัก เพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผักที่ปลอดสารพิษ  โดยให้นักเรียน ได้มีส่วนร่วมในดำเนินกิจกรรม  เพื่อนำไปประกอบอาหารกลางวัน

 

69 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่ใหม่ สด สะอาด มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษโดยผลิตขึ้นในโรงเรียนตลอดปี
ตัวชี้วัด : ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรที่โรงเรียนผลิตได้เพียงพอต่อการใช้เป็นวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียน
112.00 112.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 เพื่อสร้างทักษะทางด้านการเกษตรให้แก่นักเรียน เพื่อใช้เป็นแนวทางการประกอบอาชีพและขยายผลต่อชุมชนได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และทักษะด้านการเกษตรอย่างยั่งยืน
112.00 112.00

ครัวเรือนต้นแบบ

3 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ การเสียสละ ความอดทน การมีวินัย และความรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความซื่อสัตย์ รู้จักเสียสละ มีความอดทน มีวินัย และมีความรับผิดชอบ
112.00 112.00

 

4 4.เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหลงเรียนรู้ด้านการเกษตรให้แก่ชุมชน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนสามารถเป็นต้นแบบให้เกษตรกรเข้ามาศึกษาหาความรู้
80.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 192 192
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะครู ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน 80 80
นักเรียน 112 112

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีวัตถุดิบในการประกอบอาหารกลางวันที่ใหม่ สด สะอาด มีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดสารพิษโดยผลิตขึ้นในโรงเรียนตลอดปี (2) เพื่อสร้างทักษะทางด้านการเกษตรให้แก่นักเรียน เพื่อใช้เป็นแนวทางการประกอบอาชีพและขยายผลต่อชุมชนได้ (3) เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ การเสียสละ ความอดทน การมีวินัย และความรับผิดชอบ (4) 4.เพื่อให้โรงเรียนเป็นแหลงเรียนรู้ด้านการเกษตรให้แก่ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเลี้ยงไก่ไข่ (2) การทำปุ๋ยหมัก (3) การเพาะเห็ดนางฟ้า (4) การปลูกผักปลอดสารพิษ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านควนจง (โรงเรียนบ้านควนจง) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบรรจง สุวรรณศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด