directions_run

โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน)

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักข้างรั้วปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านล่องควน (โรงเรียนบ้านล่องควน)
ภายใต้โครงการ แผนงานการบูรณาการระบบอาหารในสถานศึกษาของจังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
แหล่งทุน
ไม่ระบุ
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านล่องควน ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอับดลคอเด เจะหมะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 6 ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.6098605311538,100.8225732place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2561 30 ก.ย. 2562 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละนักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการ
4.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันภาวะทุพโภชนาการในนักเรียนส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นอัตราการเจริญเติบโตไม่ถูกต้อง ทั้งเรื่องของน้ำหนักและส่วนสูง (เลี้ยงไม่โต) พฤติกรรมเปลี่ยน อย่างเช่นมีอารมณ์ฉุนเฉียวผิดปกติ ขี้เกียจ หรือวิตกกังวล สีผมและสีผิวเปลี่ยน สาเหตุสำคัญการเกิดภาวะทุพโภชนาการเป็นได้ทั้งการรับประทานอาหารไม่เพียงพอ ปัญหาการดูดซึมสารอาหารจากอาหาร การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือ ผัก- ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ ดังนั้นทางโรงเรียน จึงได้ร่วมกันจัดตั้งโครงการนี้ขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้รับประทานผักปลอดสารพิษและส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง เพื่อตอบสนองนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการ

นักเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดน้อยลง

250.00
2 เพื่อส่งเสริมและสร้างแรงจูงใจในการปลูกและบริโภคผักปลอดสารพิษ

นักเรียนที่เขาร่วมโครงการมีแรงจูงใจในการปลูกผัก

250.00
3 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปลูกผักท้องถิ่นปลอดสารพิษระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

โรงเรียนละชุมชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปลูกผักในท้องถิ่น

0.00
4 เพื่ออนุรักษ์พืชพันธุ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป

มีการอนุรักษ์พันธ์ุพืชท้องถิ่นในโรงเรียน

0.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 270
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู 20 -
นักเรียน 250 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 19,200.00 0 0.00
27 - 29 พ.ค. 62 เตรียมแปลง ลูกท่อซีเมนต์ในการปลูกผัก 0 15,200.00 -
3 มิ.ย. 62 ลงปลูกต้นพันธ์ที่เตรียมไว้ 0 3,200.00 -
10 มิ.ย. 62 การจัดทำซุ้มครอบคลุมทางเดินให้ต้นกล้าที่ลงปลูก 0 800.00 -
  1. ประชุมชี้แจงและวางแผนการดำเนินงาน
  2. จัดหา/จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์ในการปลูกผัก
  3. แบ่งกลุ่มนักเรียน/ครูผู้รับผิดชอบในการปลูกและดูแลผักปลอดสารพิษ
  4. ดำเนินงานตามแผน/โครงการ
  5. สรุป/วัดและประเมินผล/รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ลดภาวะทุพโภชนาการในนักเรียน
  • นักเรียนมีความรู้ในการปลูกผักสวนครัว
  • ชุมชนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือในการดำเนินงานโครงการ
  • ได้อนุรักษ์พืชพันธุ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ตลอดไป
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2561 14:33 น.