directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดโตนดด้วน (โรงเรียนวัดโตนดด้วน)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการพื้นที่ผลิตอาหารในโรงเรียนทั้งด้านเกษตร ปศุสัตว์ และประมง
ตัวชี้วัด : เกิดการจัดการระบบอาหารกลางวันในโรงเรียนตั้งแต่กระบวนการผลิต การปรุงอาหาร และการบริโภคให้ปลอดภัย โดยใช้วัตถุดิบอาหารที่เกิดจากการทำโครงการเกษตรในโรงเรียน
100.00 70.00

1.มีผลผลิตที่เป็นผักกินใบและผักสวนครัว

2.มีการเลี้ยงปลาดุก1500ตัวในบ่อดิน เพื่อใช้เป็นอาหารในโครงการอาหารกลางวัน

นักเรียนได้กินผัก และปลาดุกที่มีความปลอดภัยในเมนูอาหารกลางวัน

เมนูอาหารกลางวันของนักเรียนในแต่ละวัน

2 เพื่อส่งเสริมให้เกิดการจัดการภาวะโภชนาการที่ดี แก่เด็กนักเรียนในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ครู ผู้รับผิดชอบการกำหนด เมนูอาหารกลางวันในโรงเรียนโดยใช้โปรแกรม Thai School Lunch ออกเมนูอาหารกลางวันหมุนเวียนทั้งรายสัปดาห์และรายเดือน โดยเมนูอาหารกลางวันเชื่อมโยงกับ โครงการเกษตรในโรงเรียน
100.00 100.00

1.เกิดเมนูอาหารกลางวันที่แม่ครัวได้นำวัตถุดิบจากโครงการเกษตร เช่น ผักกินใบ ผักสวนครัว และปลาดุก ในมื้ออาหาร

2.วัตถุดิบมีความปลอดภัย ไม่มีสารเคมี

3.นักเรียนได้บริโภคผักเพิ่มขึ้น

1.นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย ตามเกณฑ์

2.นักเรียนมีร่างกายสมบรูณ์แข็งแรง

1.สมุดสุขภาพนักเรียน

2.การคัดกรองสุขภาพ

3 เพื่อลดปัญหา ภาวะ โภชนาการใน เด็กวัยเรียนทั้ง ปัญหาเด็กอ้วน เตี้ยและผอม
ตัวชี้วัด : มีการติดตามเฝ้ำระวังภาวะโภชนาการของนักเรียนร่วมกับผู้ปกครองและหน่วยงานสาธารณสุขในอำเภอ
100.00 100.00

1.เกิดกลไกของหน่วยงานในการเข้ามาดูแล สุขภาพนักเรียน การเฝ้าระวัง และการส่งต่อ

2.เกิดการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน ผู้ปกครองและหน่วยงานในการจัดการระบบสุขภาพในระดับปฐมภูมิ

1.เกิดนโยบายในการจัดการระบบสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียน

2.นักเรียนทุกคนเข้าถึงการจัดบริการคัดกรองสุขภาพ

รพ.สต.ลงพื้นที่คัดกรองสุขภาพของนักเรียน