directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย) ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศิริวรรณ จิตรอักษร (0980147175)

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย)

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

  1. นักเรียน จำนวน 12 คน มีลักษณะร่างกาย ผอม คิดเป็นร้อยละ 21.36
  2. นักเรียน จำนวน 5 คน มีลักษณะร่างกายอ้วน คิดเป็นร้อยละ 8.90
  3. การประกอบอาหารกลางวัน โรงเรียนต้องซื้อผักจากภายนอก ซึ่งอาจมีสารตกค้างจากยาฆ่าแมลงหรืออื่นๆ
  4. โรงเรียนบ้านโมย มีพื้นที่น้อย ค่อนข้างมีข้อจำกัดในการปลูกพืช


    เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัส แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนา และบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจให้ทันต่อยุคโลกาภิวัฒน์ ที่มีเป้าหมายมุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม โดยยึดหลักการ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุมกันในตัวที่ดี ภายใต้เงื่อนไข ความรู้คู่คุณธรรม ที่ต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน ตลอดจนเสริมสร้างจิตใจของคนทั้งชาติทุกระดับชั้น ให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ โรงเรียนบ้านพอบิด มีนโยบายปฏิรูปการศึกษา โดยยึดคุณธรรมนำความรู้ เห็นความสำคัญของหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปี โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร และนักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เพาะต้นอ่อนพืชออร์แกนิค
  2. ปลูกผักปลอดสารพิษ
  3. เลี้ยงปลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียนชั้นอนุบาล 1-ป.6 178

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ปลาดุกเป็นปลาที่ให้ประโยชน์ต่อสุขภาพ มีปริมาณแคลอรีและไขมันต่ำ ธาตุปรอทต่ำ มีทั้งวิตามินบี 12 โอเมก้า ทรี และโอเมก้า ซิกซ์ (Omega 6) ซึ่งเป็นกรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัวที่ร่างกายของเราสร้างเองไม่ได้
2.นักเรียนได้รับประทานปลาที่ปลอดสารพิษ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปลูกผักปลอดสารพิษ

วันที่ 3 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมสถานที่เพื่อตั้งล้อยาง 2.ครูและนักเรียนตั้งล้อยางเพื่อเตรียมใส่ส่วนผสม 3.เอาดินคลุกเคล้ากับปุ๋ยคอกและขุยมะพร้าวใส่ลงในล้อยางรดน้ำให้ชุ่ม 4.เอาเมล็ดพันธุ์แช่น้ำไว้ 1 คืน 5.เอาเมล็ดพันธุ์มาตั้งผึ่งลมไว้ให้แห้ง 6.เอาเมล็ดพันธุ์หว่านลงในล้อยางกลบด้วยปุ๋ยคอกและรดน้ำให้ชุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-นำผักที่ได้มาเข้าโครงการอาหารกลางวันและจำหน่ายให้กับผู้ปกครองในราคาต้นทุนและแจกให้นักเรียนนำกลับไปรับประทานที่บ้าน

  • ผลผลิตที่ได้
  • ปลูกผักบุ้ง 20 ล้อ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 10 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 50 กิโลกรัม
  • ปลูกผักกาดขาว ท่อ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม
  • ปลูกผักกาดเขียว ท่อ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม

 

178 0

2. เลี้ยงปลา

วันที่ 18 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.-ขุดบ่อขนาด 2.50×4.50 เมตร ลึก 70 ซ.ม -คลุมชนิดผ้ายาง
-ใช้น้ำประปา พักน้ำ 1 อาทิตย์ ปรับสภาพน้ำด้วย EM และกากน้ำตาล -ปล่อยพันธ์ุปลาผสมสวาย 1500 ตัว 1 บ่อ – งบประมาณในการทำทั้งหมดรวมพันธ์ปลาดุก 4700 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนได้รับความรู้ในการเตรียมทำบ่อปลา
  • นักเรียนเกิดทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
  • นักเรียนมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
  • นักเรียนมีความรู้ด้านการเลี้ยงปลาและต่อยอดไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  • ผลผลิต ได้ปลาดุกสำหรับส่งเข้าโรงครัวใช้ทำอาหารกลางวันสัปดาห์ละ 12 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการ 50 กิโลกรัม

 

178 0

3. เพาะต้นอ่อนพืชออร์แกนิค

วันที่ 4 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นตอนในการเพาะต้นอ่อนพืชอออร์แกนิค

  1. เตรียมดิน
  2. เลือกพืชที่ปลูก
  3. ดูแลรดน้ำใส่ปุ๋ยธรรมชาติ
  4. เก็บเกี่ยวผลผลิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิตที่ได้
  • ปลูกผักโรสโอค 1แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม
  • ปลูกผักเรสโอค 1 แปลง เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตป้อนสู่โรงครัวเพื่อทำอาหารให้เด็กรับประทานสัปดาห์ละ 5 กิโลกรัม ตลอดระยะเวลาทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ 20 กิโลกรัม

 

178 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปี โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร และนักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีอาหารกลางวันที่ถูกหักโภชนาการและมีโภชนาการสมวัย
178.00 178.00

น้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ดูจากบันทึกภาวะทางโภชนาการ

2 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารที่ดีขึ้น
178.00 178.00

สังเตจากพฤติกรรมของนักเรียนในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 178
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้นอนุบาล 1-ป.6 178

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีอาหารกลางวัน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดปี โดยใช้ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียนมาประกอบอาหาร และนักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพาะต้นอ่อนพืชออร์แกนิค (2) ปลูกผักปลอดสารพิษ (3) เลี้ยงปลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนบ้านโมย (โรงเรียนบ้านโมย) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศิริวรรณ จิตรอักษร (0980147175) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด