directions_run

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี) ”

93/2 ม.1 ต.นาหมอศรี อ.นาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประดิษฐ์ เยี่ยมยกกุล

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี)

ที่อยู่ 93/2 ม.1 ต.นาหมอศรี อ.นาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 93/2 ม.1 ต.นาหมอศรี อ.นาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี) " ดำเนินการในพื้นที่ 93/2 ม.1 ต.นาหมอศรี อ.นาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชนจนถึงระดับรัฐทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปแนวทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจให้ทันต่อยุคโลกาภิวัฒน์ที่มีเป้าหมายมุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม โดยยึดหลักการความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างูมิคุ้มกันในตัวที่ดีภายใต้เงื่อนไขความรู้คู่คุณธรรมที่ต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังในการนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน ตลอดจนเสริมสร้างจิตใจของคนทั้งชาติทุกีะดับชั้นให้มีจิตสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่เหาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงต่างๆ โรงเรียนวัดนาหมอศรี มีนโยบายปฏิรูปการศึกษา โดยยึกคุณธรรมนำความรู้ เห็นความสำคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงได้น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาบูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนรู้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการหลากหลาย สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำการเพาะเห็ด และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
  3. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้และสามารถสร้างอาชีพและรายได้เสริมให้กับครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ทำโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า
  2. เตรียมกระชังและบ่อเลี้ยงปลา
  3. สั่งซื้อพันธุ์ปลา
  4. การดูแลรักษาปลาดุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
นักเรียน 63

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครูนักเรียนและชุมชนได้รับการปลูกฝั่งความรู้ตามแนวทางการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2.ครูนักเรียนได้รับการปรับเปลี่ยนการสอนให้มีความสอดคล้องกับแนวทางตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ว่าด้วยเรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3.ครูนักเรียนชุมชนสามารถสามารถนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในสถานศึกษา และสามารถนำไปปฏิบัติใช้ได้กับชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ทำโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า

วันที่ 10 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ทำโรงเรือนจำนวน 1 โรงเรือน ขนาด 3 คูณ 6 เมตร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีโรงเรือนในการเพาะเห็ด จำนวน 1 หลัง พร้อมชั้นว่างเห็ด และติดตั้งระบบน้ำเพื่อใช้ในการรดก้อนเห็ด

 

29 0

2. จัดซื้อก้อนเห็ดนางฟ้า

วันที่ 15 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • สั่งซื้อก้อนเห็ด จำนวน 455 ก้อน จากร้านทวีคูณการเกษตรนาทวี
  • ร้านทวีคูณการเกษตรจัดส่งให้กับโรงเรียนจำนวน 455 ก้อน
  • ครูและนักเรียนนำก้อนเห็ดมาว่างบนชั้นว่างที่ได้เตรียมไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลผลิต เพาะเห็ดจำนวน 455 ก้อน
  • ผลลัพธ์ โรงเรียนสั่งซื้อก้อนเห็ดจากร้านทวีคูณการเกษตรนาทวี ทางร้านจัดส่งก้อนเห็ดให้กับโรงเรียนครูและนักเรียนนำเห็ดว่างบนชั้นว่างที่ได้เตรียมไว้

 

20 0

3. การดูแลรักษาก้อนเห็ดนางฟ้า

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.แบ่งครูและนักเรียนเพื่อดูแลรักษาก้อนเห็ด 2.ให้เวรในแต่ละวันดูแลรักษาก้อนเห็ด 3.ในการเก็บเกี่ยวในแต่วันให้เวรที่รับผิดชอบดูแล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและนักเรียนแบ่งเวรกันดูแลรักษาก้อนเห็ด เมื่อผลผลิตออกแล้วให้นักเรียนของเวรแต่ละวันเป็บผู้เก็บผลผลิตที่ได้ มาประกอบอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนภายในโรงเรียนและเห็กที่ได้ในแต่ละวันหลือทางโรงเรียนจะนำมาผลิตเป็นน้ำพริกเห็ดอบสมุนไพรเพื่อจำหน่ายให้กับผู้ปกครองและนำรายได้มาหมุนเวียนในอาหารกลางวันของนักเรียน โดยผลผลิตที่สามารถส่งโรงครัวสัปดาห์ละ 2 กิโลกรัมต่อสัปดาห์ ตลอดระยะเวลาทำโครงการ ได้ผลผลิตทั้งหมด 10 กิโลกรัม ปัญหาที่พบในการเพาะเห็นคือ มีมดเข้ามากินเชื้อเห็ดและเชื่อเห็นที่สั่งมาไม่แข็งแรง ปัญหาความชื้น

 

29 0

4. สั่งซื้อพันธุ์ปลา

วันที่ 6 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สั่งซื้อพันธุ์ปลาจำนวน 3000 ตัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผิตที่ได้ คือ ได้ปลาจำนวน 3000 ตัว

 

15 0

5. การดูแลรักษาปลาดุก

วันที่ 7 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้นักเรียนดูแลพันธ์ปลาที่นำมาปล่อยโดยการแบ่งเวรกันให้อาหารวันละ 2 รอบ ปลาดุกมีการปล่อยจำนวน 3000 ตัว โดยปล่อยพันธ์ปลาดุก จำนวน 500 ตัวต่อกระชัง มีการเก็บเกี่ยวเข้าสู่โรงครัวจำนวนสัปดาห์ละ 1ครั้งๆ ละ5-6 กิโลกรัม ตลอดการทำโครงการสามารถเก็บเกี่ยวผลผลตได้ 60 กิโลกรัม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการดูแลพันธ์ปลาให้อาหารปลา

 

50 0

6. เตรียมกระชังและบ่อเลี้ยงปลา

วันที่ 27 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ครู นักเรียน และชาวบ้านร่วมกันเตรียมกระชังในบ่อดินเพื่อเลี้ยงปลาดุก 1 บ่อ โดยมีการใส่กระชังไปทั้งหมด 6 กระชัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิตที่ได้ ได้ กระชังจำนวน 6 กระชัง ผลลัพธ์ เกิดกระชังปลาขึ้นมา และเกิดการร่วมแรงร่วมใจระหว่างคุณครู นักเรียน และชาวบ้าน

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการหลากหลาย สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ80 เกิดประสบการณ์ทำการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
80.00 80.00

นักเรียนมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำการเพาะเห็ด และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 80 มีความรู้ ความเข้าใจหลักการปรัชญาเศรษบกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
80.00 455.00

นักเรียนมีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม และนำผลผลิตที่ได้มาทำอาหารกลางวัน และได้รับโปรตีนที่เหมาะสมตามวัย

3 เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้และสามารถสร้างอาชีพและรายได้เสริมให้กับครอบครัว
ตัวชี้วัด : นักเรียน คณะครู บุคคลากรในโรงเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลักการปรัชญาเศรษบกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ที่น่าพึงพอใจ
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 63
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียน 63

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการหลากหลาย สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการทำการเพาะเห็ด และสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (3) เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้และสามารถสร้างอาชีพและรายได้เสริมให้กับครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ทำโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า (2) เตรียมกระชังและบ่อเลี้ยงปลา (3) สั่งซื้อพันธุ์ปลา (4) การดูแลรักษาปลาดุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนวัดนาหมอศรี (โรงเรียนวัดนาหมอศรี) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประดิษฐ์ เยี่ยมยกกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด