directions_run

โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ) ”

ม.4 ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านกรอบ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

ชื่อโครงการ โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ)

ที่อยู่ ม.4 ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.4 ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ) " ดำเนินการในพื้นที่ ม.4 ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา โดยการบูรณาการอาหารกลางวัน เพื่อให้นักเรียนรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ คุณค่าถูกหลักโภชนาการ ช่วยลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนให้มีพัฒนาการสมวัย   โรงเรียนบ้านกรอบได้เล็งเห็นความสำคัญของการเลี้ยงปลาดุก เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ เห็นคุณค่า และประโยชน์ในการเลี้ยงปลาดุก ซึ่งนักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นการปลูกฝังในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง     ทางโรงเรียน จึงได้ดำเนินการโครงการเลี้ยงปลาดุก เพื่อเป็นการสนับสนุนอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน ทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน
  2. 2.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก
  3. เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
  4. เพื่อสนองนโยบายรัฐบาลในเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ครู 14
นักเรียน 199

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครู นักเรียน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในเลี้ยงปลาดุก 2.นักเรียนมีการเจริญเติบโตสมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก

วันที่ 15 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.นักเรียนชั้นประถมที่4-5 และครูช่วยเตรียมบ่อเลี้ยงปลาดุก จำนวน 1บ่อ (บ่อซีเมนต์) จัดทำบ่อซีเมนต์ นำหยวกกล้วยมาแช่ในท่อซีเมนต์ประมาณ 2 สัปดาห์เพื่อขจัดครบปูนซีเมนต์
ปล่อยน้ำเข้าบ่อซีเมนต์ นำลูกปลาดุกพันธุ์รัฐเซีย จำนวน 1500 ตัว ปล่อยในบ่อซีเมนต์ ระหว่างอนุบาลลูกปลาดุกหาผักตบชวามาใส่บ่อเพราะลูกปลาดุกจะชอบเข้าไปอาศัยในรากของผักตบชวา นักเรียนที่รับผิดชอบให้อาหารสำเร็จรูปแบบเม็ด กินอย่างเต็มที่วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น และเปลี่ยนถ่ายน้ำทุก ๆ 2 สัปดาห์
โดยระยะเวลาในการเลี้ยงประมาณ 2 – 3 เดือน

2.ปลาดุกที่เลี้ยงไว้ยังไม่สามารถจับได้ เนื่องจากยังเล็กอยู่ ซึ่งคาดว่าสามารถจับได้ในเทอมการศึกษานี้ ก่อนปิดภาคเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีการเลี้ยงปลาดุกพันธุ์รัฐเซีย จำนวน 1500 ตัว ในบ่อเลี้ยง จำนวน 1บ่อ รอให้ปลาดุกโตเต็มวัยเพื่อนำผลผลิตที่ได้ส่งโครงการอาหารกลางวัน

2.นักเรียนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุก

3.นักเรียนรู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานร่วมกัน

4.โรงเรียนมีแหล่งผลิตปลาดุกที่มีความปลอดภัย

 

213 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละนักเรียนรับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน
85.00 90.00

สมุดบันทึกสุขภาพ

2 2.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของนักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก
80.00 85.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
85.00 90.00

 

4 เพื่อสนองนโยบายรัฐบาลในเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : จำนวนกิจกรรมที่ตอบสนองนโยบายรัฐบาลในเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2.00 2.00

บัญชีครัวเรือน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 213
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ครู 14
นักเรียน 199

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนรับประทานอาหารกลางวันและได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายทุกคน (2) 2.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้วิธีการเลี้ยงปลาดุก (3) เพื่อให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (4) เพื่อสนองนโยบายรัฐบาลในเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเลี้ยงปลาดุก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเลี้ยงปลาดุกในบ่อซีเมนต์โรงเรียนบ้านกรอบ (โรงเรียนบ้านกรอบ) จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงเรียนบ้านกรอบ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด