แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ ชุมชนสีเขียว ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ชุมชนสีเขียว

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"ชุมชนสีเขียว จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชุมชนสีเขียว



บทคัดย่อ

โครงการ " ชุมชนสีเขียว " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 500,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมจัดทำข้อมูลถอดบทเรียนชุมชนสีเขียว
  2. ประชุมวางแผนขับเคลื่อนสมัชชาชุมชนสีเขียวร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพ
  3. ประชุมจัดทำแผนขับเคลื่อนชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหาร
  4. ประชุมจัดทำแผนขับเคลื่อนชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมผ่านทาง Zoom ออนไลน์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมจัดทำข้อมูลถอดบทเรียนชุมชนสีเขียว

วันที่ 10 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมร่วมกับ อ.พงค์เทพ หารือการจัดทำข้อมูลประเมินผลชุมชนสีเขียว เพื่อเตรียมเข้าที่ประชุมทำแผนชุมชนสีเขียว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดเตรียมข้อมูลดังนี้ - ทบทวนผลการประเมินพื้นที่นำร่องชุมชนสีเขียว 5 พื้นที่

 

5 5

2. ประชุมวางแผนขับเคลื่อนสมัชชาชุมชนสีเขียวร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพ

วันที่ 11 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สสส. สช.ทีมประเมิน และทีมขับเคลื่อนระดับพื้นที่ ออกแบบการขับเคลื่อนงานสมัชชาชุมชนสีเขียว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางการหารือ - การเคลื่อนเรื่องชุมชนสีเขียวทั้งประเทศไปไม่รอด กลับมาเคลื่อนทีละประเด็น โพกัสเชิงประเด็น หรือเชิงพื้นที่ ทำเฉพาะภาคใต้ ต่อยอดจากมติงานสร้างสุขภาคใต้ เรื่องชุมชนสีเขียว จัดเป็นสมัชชาเชิงพื้นที่ หรือ สมัชชาเชิงประเด็น เฉพาะภาคใต้ จะจัดแยกหรือจัดร่วมกับงานสร้างสุขในปีหน้า - พื้นที่ปฏิบัติการ 5 พื้นที่ มีข้อเสนอเชิงนโยบายอะไรบ้าง ทบทวนข้อเสนอ ข้อมูล ให้เครือข่ายในพื้นที่ดูอีกครั้ง - ทั้ง 5 พื้นที่ บูรณาการความมั่นคงในประเด็นอื่นด้วย โดยใช้อาหารเป็นตัวนำเชื่อมกับประเด็นอื่น - เอาข้อเสนอไปขับเคลื่อนต่อ หรือเอาข้อเสนอเดิมมาเคลื่อนในเชิงนโยบาย ถอดบทเรียนการขับเคลื่อน
- ในเวทีงานสร้างสุขภาคใต้ทำข้อเสนอเชิงนโยบาย เข้ามติ คสช.อีกครั้ง - ใช้งบของโครงการงานสร้างสุขภาคใต้ และงบของ ศวนส. - การเชื่อมกับเครือข่าย/องค์กร : กยท. สปก. เครือข่ายลุ่มน้ำ สภาพัฒน์ และ TPLab เพื่อจับประเด็นชุมชนสีเขียวเข้าแผนชาติ - จัดตั้งคณะทำงาน ประกอบด้วย พี่เผือก อ.ชุมพล อ.อนิรุต บังรอซีดี และเครือข่ายอาหารภาคใต้ ร่วมทั้งสำนักงานสภาพัฒน์ และ สช.

 

11 11

3. ประชุมจัดทำแผนขับเคลื่อนชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหาร

วันที่ 23 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมวิชาการ และตัวแทนพื้นที่ชุมชนสีเขียว 5 พื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เป้าหมายและวัตถุประสงค์การทำแผนชุมชนสีเขียว
  1. เพื่อทบทวนข้อมูลผลการขับเคลื่อนงานชุมชนสีเขียว 5 พื้นที่ และข้อเสนอเชิงนโยบายระดับพื้นที่ ได้แก่ ชุมชนท่องเที่ยวบ้านไหนหนัง จ.กระบี่ ชุมชนเกษตรอัตลักษณ์กลุ่มชาติพันธ์มานิ ชุมชนการจัดการลุ่มน้ำจะรังตาดง  จ.ยะลา ชุมชนประมงยั่งยืน จ.สุราษฎร์ธานี และชุมชนสวนยางยั่งยืน จ.พัทลุง
  2. เพื่อจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนงานชุมชนสีเขียวและ และจัดทำแนวทางการขับเคลื่อนสมัชชาเชิงประเด็นชุมชนสีเขียวในระดับภาคใต้
  • แนวทางการขับเคลื่อนงานชุมชนสีเขียว
  1. จัดตั้งทีมคณะทำงานระดับภาคใต้และระดับพื้นที่

  2. พัฒนาข้อมูล สถานการณ์ ทบทวนเกณฑ์ ตัวชี้วัด นิยาม ขอบเขต คุณลักษณะ ชุมชนสีเขียวแต่ละประเภท ต้นแบบแต่ละพื้นที่ โดยใช้คุณลักษณะเป็นกรอบ วิเคราะห์ปัจจัยเสริม ปัจจัยอุปสรรค ปัจจัยความสำเร็จ และจุดเด่นแต่ละประเภท Mapping เครือข่าย ผลการดำเนินงาน

  3. Mapping พื้นที่ งานภาคีเครือข่าย เพิ่มจำนวนพื้นที่ต้นแบบชุมชนสีเขียว จาก 5 พื้นที่ ขยายเป็น 20 พื้นที่ ให้มีพื้นที่ต้นแบบอย่างน้อยจังหวัดละ 1 พื้นที่ (ตัวแบบตามกรอบ BCG ความมั่นคงทางอาหาร และ เกษตรอัตลักษณ์ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อเป็นข้อมูลต้นแบบของพื้นที่อาหารในภาคใต้ และเป็นข้อมูลสำหรับนำเข้าในงานสมัชชาสุขภาพเชิงประเด็น

  4. เชื่อมโยงบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยงานเชิงนโยบายและแหล่งทุน (สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ UNDP)

  5. คณะทำงาน/ทีมวิชาการ สังเคราะห์ข้อมูลยกร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย จัดทำยุทธศาสตร์ แผนการขับเคลื่อน และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในแต่ละประเด็น

  6. เวทีทบทวนข้อมูล สถานการณ์ และจัดทำร่างข้อเสนอเชิงนโยบาย

  7. จัดงานสมัชชาเชิงประเด็นชุมชนสีเขียว บูรณาการจัดร่วมกับงานสร้างสุขภาคใต้ ครั้งที่ 14

 

20 21

4. ประชุมจัดทำแผนขับเคลื่อนชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมผ่านทาง Zoom ออนไลน์

วันที่ 23 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทาง Zoom

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลการดำเนินงานพื้นที่ชุมชนสีเขียว 5 พื้นที่
  • แผนการขับเคลื่อนงานชุมชนสีเขียว

 

3 3

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมจัดทำข้อมูลถอดบทเรียนชุมชนสีเขียว (2) ประชุมวางแผนขับเคลื่อนสมัชชาชุมชนสีเขียวร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพ (3) ประชุมจัดทำแผนขับเคลื่อนชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหาร (4) ประชุมจัดทำแผนขับเคลื่อนชุมชนสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนด้านความมั่นคงทางอาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประชุมผ่านทาง Zoom ออนไลน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ชุมชนสีเขียว จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด