แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง ”
จังหวัดสงขลา และพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
น.ส.ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
ชื่อโครงการ การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา และพัทลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา และพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา และพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,500,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมออกแบบกลไกการขับเคลื่อนงานระบบอาหารร่วมกับสำนัก 5
- ประชุมวางระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงทางอาหารภาคใต้
- ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบอาหารในจังหวัดสงขลา
- ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในจังหวัดพัทลุง (เตรียมเวที โชว์ แชร์ เชื่อม แผนงานอาหาร)
- ประชุมร่วมกับ สสส. สรุปเวทีแผนอาหารและเตรียมงาน โชว์ แชร์ เชื่อม
- ประชุมเตรียมงานบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารตลอดห่วงโซ่อาหารในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด
- กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ บูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมออกแบบกลไกการขับเคลื่อนงานระบบอาหารร่วมกับสำนัก 5
วันที่ 6 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมออกแบบแนวทางการบูรณาการงานอาหารตลอดห่วงโซ่ในภาคใต้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- แนวทางการบูรณาการงานอาหารร่วมกัน มีดังนี้
Mapping ภาคีเครือข่าย
Mapping แหล่งเรียนรู้ /พื้นที่ต้นแบบ /เกษตรกรต้นแบบ 14 จังหวัดภาคใต้
ชุดความรู้ คู่มือ (เกษตรกรรมยั่งยืน การจัดการดิน น้ำ)
การสื่อสารเชิงนโยบายสาธารณะ
20
10
2. ประชุมวางระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงทางอาหารภาคใต้
วันที่ 7 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมหารือ 2 ประเด็น คือ 1. พัฒนาระบบสนับสนุนภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางอาหาร 2. กลไกสนับสนุนการทำงานภาคีเครือข่ายอาหารในภาคใต้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประเด็นขับเคลื่อนเรื่องความมั่นคงทางอาหารในภาคใต้ มี 4 ประเด็นคือ
- 1) ข้าว พื้นที่ทำงาน จ.พัทลุง นครศรีธรรมราช สงขลา ตรัง ชุมพร ปัตตานี ยะลา นราธิวาส
- 2) ประมงน้ำจืดลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ประมงชายฝั่ง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และสุขภาวะชาวประมง
- 3) ปศุสัตว์ : แพะ โค ไก่ ไข่ บูรณาการใน Model เกษตรผสมผสานในพืชร่วมยาง
- 4) พืชผักในสวนยาง พืชร่วมยาง เกษตรผสมผสานในสวนยาง
ระบบสนับสนุนกลไกแต่ละประเด็น - ข้าว 1) ต้นน่ำ ทำเรื่องการผลิต การคัดเลือกพันธุ์ และการพัฒนางานวิจัย 2) กลางน้ำ ทำเรื่องการแปรรูป การพัฒนาให้ได้มาตรฐาน และ 3) ปลายน้ำ การสร้างเครือข่าย - เกษตรกรรมยั่งยืนในพืชเชิงเดี่ยว : ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ไม้ผล 1) ต้นน้ำ การผลิตเกษตรและอาหารปลอดภัย 2) กลางน้ำ การสร้างมูลค่าเพิ่ม เน้นการประกอบการ และ 3) ยกระดับสถาบันเกษตรกร และการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง - ประมงพื้นบ้าน 1) การอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ 2) กลางน้ำ การแปรรูปอาหาร การเฝ้าระวังเครื่องมือประมงผิดกฎหมาย และ 3) การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายประมง - ปศุสัตว์ (แพะ โค ไก่ ไข่) 1) ต้นน้ำ การผลิตอาหารสัตว์ การคัดเลือกสายพันธ์ุ การเพิ่มพื้นที่ปลูกอาหาร 2) กลางน้ำ การแปรรูป การพัฒนาโรงเชือด
กลไกการสนับสนุน โดยการจัดตั้ง Core team ใน 14 จังหวัดภาคใต้ตาม 4 ประเด็น
ผลลัพธ์ที่อยากเห็น คือ การผลิตที่มีคุณภาพ อาหารปลอดภัย และมีความเพียงพอในการบริโภค
0
30
3. ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบอาหารในจังหวัดสงขลา
วันที่ 12 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำข้อมูลสถานการณ์ระบบอาหารในจังหวัดสงขลา ประกอบด้วย ความมั่นคงทางอาหาร อาหารปลอดภัย และโภชนาการสมวัย
- Mapping ต้นทุน ศักยภาพการเคลื่อนงานระบบอาหาร ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ เพื่อบูรณาการทำงานร่วมกัน
- ชี้แจงการจัดเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม และกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมงานของจังหวัดสงขลา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สถานการณ์และต้นทุนการขับเคลื่อนงานความมั่นคงทางอาหารในจังหวัดสงขลา มีเครือข่ายขับเคลื่อนอยู่จำนวน 9 องค์กร ได้แก่
- อบจ.สงขลา ทำวิจัยเพิ่มความสามารถของชุมชนในการพึ่งตนเอง เพื่อพัฒนาขับเคลื่อนชุมชนให้มีความมั่นคงทางอาหาร ร่วมกับกรมวิชาการเกษตร
- เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้ ได้ทำประเด็นชุมชนสีเขียวเป็นนวัตกรรมในการดูแลสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาชีวิต
- เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา ดำเนินนโยบายความมั่นคงทางอาหาร ตามวิสัยทัศน์ของเทศบาล
- สำนักงานสภาเกษตรกรจังหวัดสงขลา เสนอประเด็น “ข้าวอินทรีย์” และทำเรื่องการตลาด เอาเรื่องข้าวเป็นจุดเด่น โดยการพลิกฟื้นนาร้าง ในพื้นที่ที่หายไป
- สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสงขลา รับผิดชอบนโยบายและแผนงาน เสนอช่องทางงบประมาณพัฒนาจังหวัด
- สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา รับผิดชอบเรื่องอาหารปลอดภัยและโภชนาการเป็นหลักขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด ดูแลเรื่องการรับรองมาตรฐานปลอดภัย ดูแลสถานที่ผลิต จำหน่าย นำเข้า ส่งออก การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ การรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยใน 6 ร. (โรงเรียน โรงพยาบาล ร้านอาหาร เรือนจำ รีสอร์ต โรงงาน)
- โครงการความรอบรู้ด้านอาหาร โดยสถาบันวิจัยและพัฒนาสุขภาพภาคใต้ ทำโครงการส่งเสริมเรื่องการบริโภคทำให้คนเข้าถึงอาหารปลอดภัย และเรื่องการกินอาหารเป็นยาเพื่อลดโรค NCD ในโรงเรียนบ้านน้ำเค็ม ส่งเสริมให้ครูผู้ปกครองจัดการอาหารให้มีโภชนาการดีต่อเด็ก
- สถาบันทักษิณคดีศึกษา ทำเรื่อง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้วยอัตลักษณ์ของอาหารเน้นในเรื่องของอาหารและภูมิปัญญา
- ครัวใบโหนด การดำเนินงานในระดับพื้นที่ เริ่มจากทำเรื่องออมทรัพย์ ตอนหลังมาทำครัวใบโหนดเรื่องอาหารปลอดภัย และทำนโยบายอาหารปลอดภัยในโรงเรียน
2. กลไกการทำงานร่วม คือ ทำงานร่วมกันใน 4 ภาคส่วน คือ ภาครัฐท้องถิ่น ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน ขับเคลื่อนงานตามภารกิจ และสนับสนุนกระบวนการพื้นที่กลาง ข้อมูลวิชาการ การจัดการความรู้ โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
30
29
4. ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในจังหวัดพัทลุง (เตรียมเวที โชว์ แชร์ เชื่อม แผนงานอาหาร)
วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
- 09.00 – 09.15 น. ชี้แจงเป้าหมายและวัตถุประสงค์การจัดประชุม กรอบการวิเคราะห์ระบบอาหารตลอดห่วงโซ่ โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- 09.15 – 09.30 น. การขับเคลื่อนงานระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ โดย ผู้แทนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
- 09.30 – 10.30 น. สถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารและทิศทางการขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย
ระบบอาหารภาคใต้ และแนวทางการขับเคลื่อนความมั่นคงทางอาหารของจังหวัดพัทลุง
โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
10.30 – 12.00 น. Mapping ต้นทุน ศักยภาพการเคลื่อนงานระบบอาหาร ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
เพื่อบูรณาการทำงานร่วมกัน และ ออกแบบกลไก การขับเคลื่อนงานระบบอาหารจังหวัดพัทลุง
โดย นายไพฑูรย์ ทองสม นักวิชาการอิสระ
12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.00 น. กำหนดประเด็นการขับเคลื่อน เป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางและกลไกการดำเนินงาน
15.00 – 15.30 น. สรุปประเด็น และการเตรียมเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม
โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการสถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และผู้แทนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- แนวทางการขับเคลื่อนเส้นทางอาหารปลอดภัยจังหวัดพัทลุง พื้นที่ต้นแบบ การจัดการอาหาร ทะเลสาบ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ “บ้านช่องฟืน” ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน และพื้นที่ต้นแหร
- กลไก / ระบบสนับสนุน (การสร้างคน การวิเคราะห์ความท้าทายทั้งเก่าและใหม่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสร้างคน / นวัตกรรม ระบบอาหารสร้างสรรค์ ชุมชน การออกแบบ การสื่อสาร)
- วิธีการการขับเคลื่อน 1) Mapping ข้อมูล (ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายนน้ำ), คน สร้าง Model 2) เส้นทางอาหารเก็บที่ไหน (ฐานข้อมูล) เน้นในเกษตรกรคัดเชิงระบบ ระยะทาง มีปัจจัยอื่น ๆ เก็บข้อมูล
3) ตลาดเชิงระบบ สื่อสาร การจัดการ (ถ้าผู้บริโภค++) , เชื่อมโยง ผู้ค้ารายย่อย สร้างกลไก 4) สร้าง Dream team เป็นการจัดการเชิงระบบ 5) บูรณาการอาหารปลอดภัยจังหวัดพัทลุง เกษตรอินทรีย์ 8 อำเภอ 31 ราย 6) ยกระดับตัวเครือข่าย, Blue baseline
- กำหนดตัวชี้วัดความมั่นคงทางอาหาร
0
30
5. ประชุมร่วมกับ สสส. สรุปเวทีแผนอาหารและเตรียมงาน โชว์ แชร์ เชื่อม
วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมเตรียมการจัดงานเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม งานระบบอาหารจังหวัดพัทลุงและสงขลา หารือ กระบวนการ ข้อมูลการนำเสนอ และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากการจัดเวที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กระบวนการเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม เริ่มด้วยการคืนข้อมูลผลการจัดเวทีเครือข่ายอาหารจังหวัดสงขลาและพัทลุง ที่ผ่านมา และเติมเต็มโดยเครือข่ายใช้เครื่องมือบรรไดผลลัพธ์
- ทางสถาบันนโยบายสาธารณะ ม.อ. เตรียมข้อมูลตั้งต้น และข้อมูลสถานการณ์ระบบอาหารในจังหวัดสงขลาและพัทลุง
- จัดเตรียมแผนที่จังหวัดสงขลา และพัทลุง สำหรับให้เครือข่าย Mapping พื้นที่ที่ดำเนินงานขับเคลื่อนเรื่องอาหารลงในแผนที่
- โจทย์ในการประชุม คือ ยุทธศาสตร์ร่วม และเจ้าภาพแต่ละเรื่อง หน่วยงานที่เข้ามาร่วมสนับสนุนมีบทบาทตรงไหนบ้าง
5
15
6. ประชุมเตรียมงานบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารตลอดห่วงโซ่อาหารในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด
วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เตรียมกระบวนการเวทีบูรณาการความมั่นคงระบบอาหารในจังหวัดสงขลาและพัทลุง
- จัดทำข้อมูล Input และผลลัพธ์ของเวที
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เครื่องมือคำถามสำหรับนำเข้าในเวที และ mapping เครือข่ายที่ทำเรื่องอาหารในจังหวัดสงขลาและพัทลุง ประกอบด้วย
- โครงการ .....ผู้รับผิดชอบ.......แหล่งทุน........ปีที่ดำเนินการ.......
- กิจกรรม อยู่ในต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ หรือตลอดห่วงโซ่
- ผลที่เกิดขึ้น จัดทำนิยามคุณค่า 6 ด้านของการทำโครงการ
10
15
7. กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ บูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด
วันที่ 24 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- 09:00 – 09:30 น. ความเป็นมา วัตถุประสงค์ และความสำคัญของการ “ประชุมบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด” โดย ดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา ผู้อำนวยการอาวุโส สำนักพัฒนาภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สสส.
- 09:30 – 10:00 น. กรอบแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ “แผนการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ยุทธศาสตร์ของแผนอาหารเพื่อสุขภาวะ สสส.” โดย นางสาวนิรมล ราศรี ผู้อำนวยการ สำนักสร้างเสริมวิถีชีวิตสุขภาวะ สสส.
- 10:00 – 10:10 น.ระบบและกลไกสนับสนุนแผนการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะฯ โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก ผู้อำนวยการ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- 10:10 – 10:30 น. นำเสนอผล “การสำรวจสถานการณ์การบริโภคอาหาร ความมั่นคงทางอาหาร และความรอบรู้ด้านอาหารของประชากรไทย” โดย รศ.ดร.สิรินทร์ยา พูลเกิด สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
- 10:30 – 10:45 น. นำเสนอภาพรวม “การบรรลุ SDG ในพื้นที่จังหวัดสงขลา” โดย นางสาวอภิชญา โออินทร์ United Nations Development Program : UNDP
- 10:45 – 12:00 น. แนะนำตัว/องค์กร เพื่อทำความรู้จักเพื่อนภาคีเครือข่ายที่ดำเนินงานในเรื่องอาหารฯ (ใคร/ทำอะไร/ที่ไหน/ผลเป็นอย่างไร/ต้องการเชื่อมกับใคร/สิ่งที่ต้องการสนับสนุน)
- 13:00 – 16:30 น. แบ่งกลุ่มจังหวัด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ภาคีเครือข่ายในจังหวัดสงขลาและพัทลุงที่ดำเนินงานเรื่องระบบอาหาร ตั้งแต่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ
- แผนยุทธศาสตร์และแนวทางการขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่
0
80
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง ”
จังหวัดสงขลา และพัทลุงหัวหน้าโครงการ
น.ส.ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์
ชื่อโครงการ การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง
ที่อยู่ จังหวัดสงขลา และพัทลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา และพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง
บทคัดย่อ
โครงการ " การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา และพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,500,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมออกแบบกลไกการขับเคลื่อนงานระบบอาหารร่วมกับสำนัก 5
- ประชุมวางระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงทางอาหารภาคใต้
- ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบอาหารในจังหวัดสงขลา
- ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในจังหวัดพัทลุง (เตรียมเวที โชว์ แชร์ เชื่อม แผนงานอาหาร)
- ประชุมร่วมกับ สสส. สรุปเวทีแผนอาหารและเตรียมงาน โชว์ แชร์ เชื่อม
- ประชุมเตรียมงานบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารตลอดห่วงโซ่อาหารในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด
- กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ บูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมออกแบบกลไกการขับเคลื่อนงานระบบอาหารร่วมกับสำนัก 5 |
||
วันที่ 6 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมออกแบบแนวทางการบูรณาการงานอาหารตลอดห่วงโซ่ในภาคใต้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 10 |
2. ประชุมวางระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานประเด็นความมั่นคงทางอาหารภาคใต้ |
||
วันที่ 7 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประเด็นขับเคลื่อนเรื่องความมั่นคงทางอาหารในภาคใต้ มี 4 ประเด็นคือ
|
0 | 30 |
3. ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบอาหารในจังหวัดสงขลา |
||
วันที่ 12 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อบจ.สงขลา ทำวิจัยเพิ่มความสามารถของชุมชนในการพึ่งตนเอง เพื่อพัฒนาขับเคลื่อนชุมชนให้มีความมั่นคงทางอาหาร ร่วมกับกรมวิชาการเกษตร
- เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้ ได้ทำประเด็นชุมชนสีเขียวเป็นนวัตกรรมในการดูแลสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาชีวิต
- เทศบาลตำบลปริก อำเภอสะเดา ดำเนินนโยบายความมั่นคงทางอาหาร ตามวิสัยทัศน์ของเทศบาล
|
30 | 29 |
4. ประชุมภาคีเครือข่ายบูรณาการขับเคลื่อนงานระบบอาหารในจังหวัดพัทลุง (เตรียมเวที โชว์ แชร์ เชื่อม แผนงานอาหาร) |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 30 |
5. ประชุมร่วมกับ สสส. สรุปเวทีแผนอาหารและเตรียมงาน โชว์ แชร์ เชื่อม |
||
วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมเตรียมการจัดงานเวทีโชว์ แชร์ เชื่อม งานระบบอาหารจังหวัดพัทลุงและสงขลา หารือ กระบวนการ ข้อมูลการนำเสนอ และผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับจากการจัดเวที ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
5 | 15 |
6. ประชุมเตรียมงานบูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารตลอดห่วงโซ่อาหารในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด |
||
วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 15 |
7. กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ บูรณาการความร่วมมือและขับเคลื่อนระบบอาหารเพื่อสุขภาวะตลอดห่วงโซ่ในพื้นที่ปฏิบัติการระดับจังหวัด |
||
วันที่ 24 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 80 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การบูรณาการความมั่นคงทางอาหารตลอดห่วงโซ่สงขลา-พัทลุง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.ฮามีด๊ะ หวันนุรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......