directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) ”

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก นุ่นด้วง

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี)

ที่อยู่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 530,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สนับสนุนกลุ่มกิจกรรมข้อ 3 (ที่จ่ายเงินตรงจาก สนส.มอ.โดยมีสัญญาหรือข้อตกลง)
  2. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน)
  3. สนับสนุนให้ท้องถิ่นออกแบบพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมี PA และสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม PA ในชุมชน (ออกแบบพื้นที่ 2 พื้นที่, โครงการ 4 โครงการ)
  4. สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ
  5. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1
  6. จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 1
  7. ประชุมสร้างความเข้าใจการเขาถึงแหล่งทุน
  8. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน
  9. ประชุมทำแผนงานสุขภาพ/ Localfund
  10. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ
  11. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลตะกุกเหนือ
  12. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลไชยคราม ตำบลปากแพรก
  13. ประชุมกลั่นกรองโครงการ ทำข้อตกลงรับทุน
  14. ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 1
  15. ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ตะกุกเหนือ
  16. ประชาคมรับรองการออกแบบทางสถาปัตย์ รร.บ้านเขาพระอินทร์ ต.ปากแพรก
  17. ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ไชยคราม
  18. จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 2
  19. ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2
  20. ประชุมติดตามเขียนรายงานโครงการในระบบ
  21. ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 2
  22. ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3
  23. ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1

วันที่ 16 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการ
08.00-08.30 ลงทะเบียน
08.30-10.30 ทำความเข้าใจกับแผนการดำเนินงาน บทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน
(คณะวิทยากร) 10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 แนะนำการใช้เว็บการพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายผ่านเว็บLocalfund (คณะวิทยากร)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 การสร้างความเข้าใจการเก็บข้อมูลผ่านมือถือ และการเชื่อโยงกับ
เว็บ Localfund  การสรรหาผู้เก็บข้อมูลตำบลละ 4 คน(คณะวิทยากร)
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 การเข้าถึงแหล่งทุนในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่
สุขภาวะ (ดร.ดุริยางค์ วาสนา)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานรู้ และเข้าใจรายละเอียดโครงการและแผนงานกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการสู่ผลลัพธ์
  2. คณะทำงานรับทราบและรับรองแผนกิจกรรม
  3. ได้ผู้ประสานงาน/คณะกลไกขับเคลื่อนโครงการ 8 คน จาก 8 ตำบล
  4. ได้พื้นที่เป้าหมายออกแบบทางสถาปัตย์เพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่สุขภาวะ
          4.1 โรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์ ตำบลปากแพรก
          4.2 ศพด. ไชยคราม ตำบลไชยคราม
  5. ได้พื้นที่โครงการในชุมชน และในสถานศึกษา โครงการละ 35,000 บาท
          5.1 พื้นที่โครงการในชุมชนตำบลน้ำพุ
        5.2 พื้นที่โครงการในชุมชนตำบลป่าร่อน
        5.3 พื้นที่โครงการในสถานศึกษา ศพด. บ้านคราม ตำบลชลคราม
          5.4 พื้นที่โครงการในสถานศึกษา โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา ตำบลตะกุกเหนือ
  6. ได้คนเก็บข้อมูลจากทั้ง 8 ตำบลๆละ 3-4 คน
  7. ได้รู้จักแหล่งทุนที่จะเสนอของบประมาณ จากหน่วยจัดการ สสส จ.สุราษฎร์ธานี
          7.1 โครงการขนาดย่อม 60,000 บาท/โครงการ เข้าได้กับประเด็นลดพติกรรมเสี่ยงของโรค NCDs ด้วยหลัก 2อ. (อาหารและการออกกำลังกาย)
          7.2 โครงการทั่วไป 100,000 บาท/โครงการ

 

23 0

2. ประชุมสร้างความเข้าใจการเขาถึงแหล่งทุน

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสร้างความเข้าใจ เพื่อการเข้าถึงแหล่งทุน การวิเคราะห์ปัญหาชุมชน และการเขียนข้อเสนอโครงการ

ผู้เข้าประชุม คณะทำงาน/ผู้ประสาน/ผู้สนใจจากชุมชน 5 คนจาก 8 ตำบล
1. นายคมพจน์  พิกุลทอง                    โทร  098-6713379      อบต.ตะกุกเหนือ
2. นางสาวทัศณี  มนต์แก้ว                  โทร 085-0694647      อบต.ชลคราม
3. นางสาวศรีสุดา  มุสิก                    โทร 086-0811692      อบต.ชลคราม
4. นางกฤติยาภรณ์  ไทยเสน              โทร 083-6364446      อบต.น้ำพุ
5 นางสาวกานต์รวี  ศิริทอง                โทร 081-7872917      อบต.น้ำพุ
6. นายสมยนึก  นุ่นด้วง  คณะทำงาน/ผู้ประสานงานโครงการฯ

กำหนดการ
08.00-08.30 ลงทะเบียน
08.30-10.30 ชี้แจงรายละเอียด/กรอบการสนับสนุนโครงการขนาดย่อม 60,000 บาท และโครงการทั่วไป 100,000 บาท โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ชี้แจงเงื่อนไข และคุณสมบัติผู้ขอรับทุน โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 การสร้างความเข้าใจวิเคราะห์ปัญหาชุมชนด้วยตัวแบบต้นไม้ปัญหา โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 การเขียนใบเสนอขอรับทุน โดย ดร.ดุริยางค์  วาสนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าประชุมเข้าใจรายละเอียด วิธีการ เงื่อนไข การเขียนข้อเสนอโครงการขอรับทุน
  2. เขียนใบเสนอขอรับทุน 3 พื้นที่     2.1 ตำบลตะกุกเหนือ โครงการเพื่อผลิตและบริโภคผักปลอดภัย     2.2 ตำบลชลคราม โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สุงอายุในชุมชน     2.3 ตำบลน้ำพุ โครงการลดละเลิกบุหรี่โดยชุมชนเป็นฐาน

 

9 0

3. จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวดที่ 1

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จ่ายเงินงวดที่ 1 ให้แก่สถาปนิกส์ ร้อยละ 40 ของสัญญา  เป้นเงิน 36000 บาท เมื่อทั้งคู่ได้ลงนามในสัญญา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สัญญาจ้างออกแบบฯ(สนส.มอ.จะได้แนบไฟล์สัญญาที่ผูกพันแล้วต่อไป)

 

1 0

4. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เก็บข้อมูลทท่ผ่านการอบรมการเก็บข้อมุล จาก 8 ตำบลๆละ 4-5 คน ได้ดำเนินการเก็บข้อมุลผ่านระบบ Google Form  เพื่อบันทึกข้อมุล 3 ระดับคือ
ระดับชุมชน จำนวน 1 ชุดๆละ 50 คำถาม ระดับครัวเรือนไม่น้อยกว่า 100 ชุดๆละ  5 คำถาม
ระดับบุคคลไม่น้อยกว่า 200 ชุดละ 24 คำถาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เก็บข้อมุลครบถ้วนแล้ว  7 ตำบล (ปากแพรก/ชลคราม/ไชยคราม/ป่าร่อน/น้ำพุ/ตะกุกเหนือ/อิปัน) (ขาดของตะเคียนทอง กำลังเร่งรัด)

 

50 0

5. ประชุมทำแผนงานสุขภาพ/ Localfund

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

8.00-08.30 ลงทะเบียน คณะทำงาน
08.30-10.30 ตรวจสอบข้อมูลประเด็นกิจกรรมทางกาย และประเด็นที่เป็นประเด็นยุทธศาสตร์ ตามแบบเก็บข้อมูล  คณะวิทยากร
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 หลักการบริหารแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อการพัฒนาศักยภาพกลไกส่งเสริมสุขภาพ คณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-16.00 ทำแผนสุขภาพตำบลให้ครอบคลุมรายละเอียดสถานการณ์ปัญหา/เป้าหมาย/วัตถุประสงค์-ตัวชี้วัด /แนวทางสู่เป้าหมาย/งบประมาณ /โครงการที่ควรทำ
มีผู้เข้าประชุมจำนวน 21 คน ดังนี้
  คณะทำงานระดับพื้นที่ 8 คน
  เจ้าหน้าที่กองทุน 7 คน
  เจ้าหน้าที่ทีมสื่อ 2 คน
  คณะวิทยากร 4 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีแผนกิจกรรมทางกาย  8 ตำบล (ประกอบด้วยสถานการณ์/เป้าหมาย/งบประมาณ/โครงการที่ควรดำเนินการ/ผู้รับผิดชอบโครงการ)
มีแผนงานประเด็นอื่นๆ

 

30 0

6. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.00-08.30 ลงทะเบียน คณะทำงาน
08.30-10.30 สร้างความข้าใจกระบวนการพัฒนาแผนงาน/โครงการส่งเสริม กิจกรรมทางกาย และความเชื่อมโยงของโครงการกับแผนงาน
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ที่เชื่อมโยงกับแผนงานโดยใช้เครื่องมือเว็บ Localfund  คณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ และการออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ โดยใช้เครื่อมือเว็บ Localfund คณะวิทยากร 14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 นำเสนอโครงการ เพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน คณะวิทยากร
ผู้เข้าร่วมประชุมพัฒนาโครงการ 46 คน ดังนี้
คณะทำงานระดับพื้นที่  8 คน
เจ้าหน้าที่กองทุน 8 คน
ผู้เขียนฏโครงการขอรับทุน 24 คน
สื่อมวลชน  2 คน
คณะวิทยากร  4 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนงานที่สมบูรณ์ / โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ....15....  โครงการ ดังนี้
ตำบลปากแพรก 10 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลชลคราม.10 แผนงานที่สมบูรณ์  3 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลไชยคราม..8 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลป่าร่อน...9 แผนงานที่สมบูรณ์  1 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลตะเคียนทอง..8 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลน้ำพุ..9 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลตะกุกเหนือ..10 แผนงานที่สมบูรณ์  2 โครงการกิจกรรมทางกาย
ตำบลอิปัน...10 แผนงานที่สมบูรณ์  1 โครงการกิจกรรมทางกาย

 

54 0

7. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลตะกุกเหนือ

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 23 ก.พ. 2567 เวลา 09.30-15.30 น. ณ  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิงวิภา  ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอวิภาวดี จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถาบันนโยบายสาธารณะ (สนส.มอ.) ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)  นายสมนึก  นุ่นด้วง  คณะทำงานและผู้ประสานโครงการ ประชุมปฏิบัติการสำรวจ/ให้ความเห็นเพื่อการออกแบบพื้นที่สุขภาวะของพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิงวิภา  ด้วยการสร้างความเข้าใจกระบวนการเพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรมพื้นที่สุขภาวะ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย โดยมี นางสาวสุธิรา  มุขตา  สถาปนิก และผู้ช่วย สำรวจพื้นที่รับฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ชี้แจงรายละเอียดและข้อจำกัดการออกแบบ ปฏิบัติการรังวัดพื้นที่เพื่อการออกแบบ โดยชี้แนะของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หลังจากนั้นได้สรุปผลการสำรวจ รูปแบบและข้อจำกัดแก่ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย คณะทำงาน,ผู้ประสานงานโครงการ, นายกอบต.ตะกุกเหนือและผู้บริหาร,นายช่างโยธา อบต.ตะกุกเหนือ, กำนันตำบลตะกุกเหนือ, ผู้ใหญ่บ้าน,หัวหน้าศพด.บ้านท่านหญิงวิภา,ประธานกรรมการ ศพด.บ้านท่านหญิงวิภา ผู้แทนผู้ปกครอง และสื่อมวลชน เข้าร่วมด้วย จำนวน 19 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความเห้นและความต้องการของผู้เกี่ยวข้องเพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรม ในอาคาร ในรั้วรอบบริเวณ และหลังอาคาร พื้นที่ประมาณ 2 ไร่ สรุปความต้องการดังนี้
ภายในอาคาร
กระดานลื่น(Slider) 1 ชุด
นอกอาคาร
ทางเดิน คสล ทำรูปรอยเท้าน่านเดิน
ลาน/หลุมทรายใต้หลังคา
ชิงช้า วงล้อปีนป่าย กระดานลื่น(Slider)
สนามหญ้า ซุ้มนั่งพักมีหลังคา
หลังอาคาร(ประมาณ 1 ไร่ )
ลานเอนกประสงค์ คสล
ทางเดิน-วิ่ง
ศาลาพัก ห้องน้ำ
เครื่องออกกำลังกาย/ สวนสนุก
ไฟส่งสว่าง

 

15 0

8. กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลไชยคราม ตำบลปากแพรก

วันที่ 6 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-09.30 ลงทะเบียน
09.30-10.30 สร้างความข้าใจกระบวนการเพื่อการออกแบบทางสถาปัตยกรรมพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย การสำรวจพื้นที่ รับฟังความเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง ชี้แจงรายละเอียด และข้อจำกัดการออกแบบ แก่ผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม ตำบลไชยคราม
1 นายกองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม
2 ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม
3 นายช่างโยธาองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม
4 หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
5 ผู้แทนครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
6 ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
7 ผู้แทนกรรมการกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
8 ผู้แทนผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
9 กำนันตำบลไชยคราม
10 ผู้ใหญ่บ้านพื้นที่ที่ตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม
11  คณะทำงาน/ประสานงานโครงการฯตำบลไชยคราม(นางสาวภัททิยา โพธิ์ขวาง)

โรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์ตำบลปากแพรก
1 นายกองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
2 ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
3 นายช่างโยธาองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
4 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
5 ผู้แทนครูโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
6 ประธานกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
7 ผู้แทนกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
8 ผู้แทนผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
9 กำนันตำบลปากแพรก
10 ผู้ใหญ่บ้านพื้นที่ที่ตั้งโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
11.  คณะทำงาน/ประสานงานโครงการฯตำบลปากแพรก(นางสาวณัฐญา ศรีไสยเพชร)

คณะทำงาน 1. นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์ คณะทำงาน
2. นายสมนึก นุ่นด้วง คณะทำงาน/ผู้ประสานงานโครงการ
3. นางสาวธีระนุช มุขตา สถาปนิกส์
4. นายเศกศิลป์ ชูศรีอ่อน ผู้ช่วยสถาปนิก
5. นางปุญญิสา สุวรรณ  สื่อสารมวลชน

10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ปฏิบัติการ รังวัด พื้นที่เพื่อการออกแบบ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ปฏิบัติการ รังวัด พื้นที่เพื่อการออกแบบ โดยการชี้แนะของผู้เกี่ยวข้อง
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 สรุปผลการสำรวจ รูปแบบ และข้อจำกัด แก่ผู้เข้าร่วมประชุม /ถาม-ตอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เกี่ยข้องเข้าร่วมประชุมตามเป้าหมาย สถาปนิกส์ได้รับข้อมุลเพื่อการออกแบบดังนี้
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไชยคราม ตำบลไชยคราม ภายนอกอาคาร
1. ลาน คสล+หญ้าเทียมหน้าผา แทมโพลีน หลุมทราย (หน้า176ตรม)
2 ลานกีฬา คสล+หญ้าเทียม แป้นบาส ปต. บอล (หลัง330ตรม)
3 ในโดม(ทางเดิน จราจร ลู่หญ้าเทียม 480 ตรม
ภายในอาคาร
4 โรงอาหาร 70 ตรม เครื่องเล่น
5 ในห้องครัว (อ่างล้างจาน)

รร บ้านเขาพระอินทร์ ตำบลปากแพรก
1. ลานออกกำลังกายหลังอาคาร 640 ตรม(ลานหิน-สนามเปตอง- ทางเดิน PA)
2 หน้าโรงอาหาร สวนเด็ก หลุมทราย 220 ตรม
3. ลาน BBL ระหว่างอาคาร 6.5x14 m 90 ตรม
4. ข้างโรงอาหาร 150 ตรม ทางเดินต่างระดับ

 

33 0

9. ประชุมกลั่นกรองโครงการ ทำข้อตกลงรับทุน

วันที่ 20 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-10.30 ทบทวนกระบวนการพัฒนาโครงการที่เชื่อมโยงกับแผน และการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ตรวจเอกสารทำข้อตกลง
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 เรียนรู้การเขียนรายงานกิจกรรมผ่าน เว็บ
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 เรียนรู้การจัดทำเอกสารการเงิน และการทำรายงานผ่านเว็บ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมตามแผน 18 คน
  2. โครงการได้รับการทำข้อตกลง 5 โครงการ( ในชุมชน 3 โครงการ /ในสถานศึกษา 2 โครงการ งบประมาร 140,000 บาท)
    2.1 ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-037 โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา 35,000บาท
    2.2 ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-038 โครงการส่งเสริมการการออกกำลังกาย ในกลุ่มเสี่ยง NCDs 35,000บาท
    2.3 ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-039 โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน 35,000บาท
    2.4 ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-040 โครงการพิชิตกายแข็งแรงด้วยกิจกรรมทางกาย 15,000 บาท
    2.5 ข้อตกลงเลขที่ 67-ข-041 โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายผู้สูงอายุตำบลชลคราม 20,000 บาท

 

18 0

10. ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 1

วันที่ 20 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำข้อตกลงเพื่อสนับสนุนการปฏิบัจติงานสร้างเสริมสุขภาพ
โอนเงินเข้าบัญชีผู้รับการสนับสนุนงวดที่ 1 ดังนี้
1. โครงการพิชิตกายแข็งแรงด้วยกิจกรรมทางกาย ต.ชลคราม เป็นเงินทั้งสิ้น 15,000 บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน)
2. โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายผู้สูงอายุตำบลชลคราม  เป็นเงินทั้งสิ้น 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)
3. โครงกรส่งเสริมการการออกกำลังกาย ในกลุ่มเสี่ยง NCDs ต.น้ำพุ เป็นเงินทั้งสิ้น 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)
4. โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มเสี่ยง NCDs ในตำบลป่าร่อน  เป็นเงินทั้งสิ้น 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)
5. โครงการเพิ่มกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาและสันทนาการอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนบ้านท่านหญิงวิภา 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวน 4 พื้นที่ได้รับการสนับสนุน 5 โครงการ รวมเงิน 80,000 บาท

 

5 0

11. ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ตะกุกเหนือ

วันที่ 28 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 28 พฤษภาคม 2567
เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กท่านหญิงวิภา ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอวิภาวดี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน...10.......คน ดังนี้
1.นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตะกุกเหนือ
2 ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลตะกุกเหนือ
3 นายช่างองค์การบริหารส่วนตำบลตะกุกเหนือ
4 หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิง
5 ผู้แทนครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิง
6 ประธานกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิง(กำนัน/ผู้ใหญ่ ตำบลตะกุกเหนือ)
7 ผู้แทนกรรมการกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิง
8 ผู้แทนผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านท่านหญิง 9. พนักงานทั่วไป อบต ตะกุกเหนือ
10.คณะทำงาน/ประสานงานโครงการฯตำบลตะกุกเหนือ
โดยมี นายธีรพล ขวัญพิชิต  นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตะกุกเหนือ เป็นประธานที่ประชุม  ซึ่งที่
ประชุมได้พิจาณารับรองแบบทางสถาปัตย์เพื่อพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ที่คำนึงถึงความปลอดภัย มีนายสมนึก นุ่นด้วง คณะทำงานเป็นวิทยากร นำเสนอแบบสามมิติ แบบแปลน และแบบระบุบอกตำแหน่ง Layout
ที่ประชุมได้ซักถาม ให้ความเห็น และมีมติรับรองแบบมีเงื่อนไข ปรับเพิ่ ปรับแก้ ดังนี้
[  ] รับรองเป็นไปตามที่ได้ตกลง
[ /  ] รับรองแต่มีส่วนขาดจากที่ได้ตกลงและให้ปรับแก้ ดังนี้
1.ตัดที่จอดรถออกจากลาน
2.เพิ่มเสาไฟฟ้าโซล่าเซลรอบสนาม
3.ห้อย(ลูกตบ)ที่เสาไฟในระดับความสูงให้กระโดดตบถึงได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมรับรองแบบมีเงื่อนไขให้ปรับปรุง ดังนี้
1. ตัดลานจอดรถออกจากลานออกกำลังกาย
2. เพิ่มเสาไฟฟ้าให้รอบบริเวณ
3. ที่เสาไฟฟ้าฝั่งทางเดินรอบสนาม ให้มีกิ่งยื่นออกมาแล้วแขวนลูกบอลยางไว้ให้พอกระโดดตบถึงได้ทุกต้น(งานเพิ่ม)

 

15 0

12. ประชาคมรับรองการออกแบบทางสถาปัตย์ รร.บ้านเขาพระอินทร์ ต.ปากแพรก

วันที่ 29 พฤษภาคม 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 29 พฤษภาคม 2567
เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์ ตำบลปากแพรก อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน..9..คน ดังนี้
1 รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
2 รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก
3 นายช่างโยธาองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก(แทน)
4 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
5 ผู้แทนครูโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
6 ประธานกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
7 ผู้แทนกรรมการสถานศึกษาโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
8 ผู้แทนผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านเขาพระอินทร์
9 คณะทำงาน/ประสานงานโครงการฯตำบลปากแพรก(นางสุภัทษา รามอินทร์)
โดยมี นางรินรดี วิชัยดิษฐ  รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลปากแพรก เป็นประธานที่ประชุม
ได้ประชุมพิจาณารับรองแบบทางสถาปัตย์ เพื่อพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ที่คำนึงถึงความปลอดภัย ที่ประชุมมีมติดังนี้
[  / ] รับรองเป็นไปตามที่ได้ตกลง
[  ] รับรองแต่มีส่วนขาดจากที่ได้ตกลงและให้ปรับแก้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมรับรองแบบ /รับรองเป็นไปตามที่ได้ตกลง

 

15 0

13. ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ไชยคราม

วันที่ 30 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 30 พฤษภาคม 2567
เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไชยคราม ตำบลไชยคราม อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน  9 คน ดังนี้
1.รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล(ประธานที่ประชุม)
2 ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล/คณะทำงาน/ประสานงานโครงการฯตำบลไชยคราม
3 นายช่างองค์การบริหารส่วนตำบล
4 หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
5 ผู้แทนครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
6 ผู้รับผิดชอบโครงการตำบลไชยคราม
7 ผู้แทนผู้ปกครองเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
8 ผู้แทน ผอ.กองการศึกษา
9 หัวหน้าสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม
โดยมี นายพิษณุ  ทองสุวรรณ  รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลไชยคราม  เป็นประธานที่ประชุม
ได้ประชุมพิจาณารับรองแบบทางสถาปัตย์ เพื่อพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ที่คำนึงถึงความปลอดภัย ที่ประชุมมีมติดังนี้
[    ] รับรองเป็นไปตามที่ได้ตกลง
[  /  ] รับรองแต่มีส่วนขาดจากที่ได้ตกลงและให้ปรับ ดังนี้
1, BBL ฐานที่ 2 ไต่ตอ เสนอวัสดุเป็นยาง/ยางพารา ป้องกันการกระแทก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ที่ประชุมรับรองแบบบมีเงื่อนไข
ในลาน BBL ฐานที่2 ชื่อไต่ตอ
โดยให้ระบุรายละเอียดตอที่ไม่มีเหลี่ยมคม หรือตอที่ทำจากยางพารา
ทั้งนี้เพื่อป้องกันการกระแทก
รายละเอียดตามบันทึก แนบไฟล์

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1. อปท. มีแผน และโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย 10 แห่ง 2. อปท. มีศักยภาพในการพัฒนาแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย 10 กลุ่มหรือชมรม
1.00

 

2 เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : 1. พื้นที่ต้นแบบสุขภาวะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายนำร่องในชุมชน 2 พื้นที่ 2. พื้นที่นำร่องปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในชุมชน 2 พื้นที่ 3. พื้นที่นำร่องปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในสถานศึกษา (ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และโรงเรียน) 2 พื้นที่ 4. บทเรียน/องค์ความรู้ ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ 2 เรื่อง
2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของคนไทยต่อหน่วยงานกำหนดนโยบายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผ่านสื่อสาธารณะเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย และพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สนับสนุนกลุ่มกิจกรรมข้อ 3  (ที่จ่ายเงินตรงจาก สนส.มอ.โดยมีสัญญาหรือข้อตกลง) (2) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน) (3) สนับสนุนให้ท้องถิ่นออกแบบพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมี PA และสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม PA ในชุมชน (ออกแบบพื้นที่ 2 พื้นที่, โครงการ 4 โครงการ) (4) สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ (5) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (6) จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 1 (7) ประชุมสร้างความเข้าใจการเขาถึงแหล่งทุน (8) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (9) ประชุมทำแผนงานสุขภาพ/ Localfund (10) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ (11) กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลตะกุกเหนือ (12) กระบวนการออกแบบพื้นที่ทางสถาปัตยกรรม ตำบลไชยคราม ตำบลปากแพรก (13) ประชุมกลั่นกรองโครงการ ทำข้อตกลงรับทุน (14) ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 1 (15) ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ตะกุกเหนือ (16) ประชาคมรับรองการออกแบบทางสถาปัตย์ รร.บ้านเขาพระอินทร์ ต.ปากแพรก (17) ประชาคมรับรองแบบทางสถาปัตย์ ไชยคราม (18) จ่ายค่าออกแบบทางสถาปัตยกรรมงวด 2 (19) ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2 (20) ประชุมติดตามเขียนรายงานโครงการในระบบ (21) ให้ทุนสนับสนุนโครงการ งวดที่ 2 (22) ประชุมติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3 (23) ประชุมคณะทำงาน/ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : สุราษฎร์ธานี) จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมนึก นุ่นด้วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด