directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : ตรัง)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : ตรัง) ”



หัวหน้าโครงการ
นายสมชาย ละอองพันธ์ , น.ส.วลัยพร ด้วงคง

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : ตรัง)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : ตรัง) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : ตรัง)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : ตรัง) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 530,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน) (ก่อน-หลัง)
  2. สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ
  3. สนับสนุนให้ท้องถิ่นออกแบบพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมี PA และสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม PA ในชุมชน (ออกแบบพื้นที่ 2 พื้นที่, โครงการ 4 โครงการ)
  4. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน) (ก่อน)
  5. สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ
  6. กระบวนการออกแบบพื้นที่ จำนวน 2 พื้นที่
  7. การออกแบบพื้นที่ จำนวน 2 พื้นที่
  8. กิจกรรมโครงการในชุมชน จำนวน 2 โครงการ
  9. กิจกรรมโครงการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน จำนวน 2 โครงการ
  10. สรุป ถอดบทเรียน/แผนและโครงการ พื้นที่ต้นแบบ ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (หลัง)
  11. การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้าใจแผนการดำเนินงาน และกิจกรรมโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายจังหวัดตรัง
  12. ประชุมการเขียนแผนและโครงการ
  13. การประชุมพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่จังหวัดตรัง
  14. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของแต่ละกองทุน 10 กองทุน
  15. การประชุมการทำข้อตกลงเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ “การยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” จังหวัดตรัง
  16. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองเพื่อสุขภาพ (ตำบลโคกหล่อ)
  17. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมเด็กเยาวชนให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นด้วยการเล่นฟุตบอล (ตำบลนาโยงเหนือ)
  18. การสนับสนุนโครงการกิจกรรมทางกาย สูงวัยบ้านน้ำผุด สุขภาพดี (ตำบลน้ำผุด)
  19. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมการเดิน วิ่ง และใช้จักรยานในชุมชน (ตำบลบ้านโพธิ์)
  20. การสนับสนุนโครงการหนูน้อย พัฒนาการสมวัยด้วยการออกกำลังกาย (ตำบลปะเหลียน)
  21. การสนับสนุนโครงการอนุรักษ์ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าของผู้สูงอายุ (ตำบลปากคม)
  22. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพในเด็กวัยรุ่น (ตำบลย่านตาขาว)
  23. การสนับสนุนโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพขยับกาย สบายชีวา ปี 2567 (ตำบลหนองปรือ)
  24. การสนับสนุนโครงการเด็กและเยาวชนสุขภาพดี ชีวีสดใสด้วยโนรา (ตำบลหาดสำราญ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การออกแบบพื้นที่ จำนวน 2 พื้นที่ งวดที่ 1

วันที่ 30 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

2. การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้าใจแผนการดำเนินงาน และกิจกรรมโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายจังหวัดตรัง

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้าใจแผนการดำเนินงาน และกิจกรรมโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย จังหวัดตรัง ณ ห้องประชุม โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง ..................................................................................................................................... วัตถุประสงค์ 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ 2.เพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ/พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย
กำหนดการ เวลา      กิจกรรม 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.30 น.  ทำความเข้าใจกับแผนการดำเนินงาน บทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน กำหนดโครงการ และพื้นที่สุขภาวะ 10.30 - 10.45 น.  พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 12.00 น.  แนะนำการใช้เว็บการพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกายและการเก็บข้อมูลผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org 12.00 - 13.00 น.  พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น.  การสร้างความเข้าใจการเก็บข้อมูลผ่านมือถือ และการเชื่อโยงกับเว็บhttps://localfund.happynetwork.org การสรรหาผู้เก็บข้อมูลตำบลละ 4 คน 14.30 – 14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.45 - 16.30 น.  การกำหนดพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการเก็บข้อมูลและการใช้ข้อมูลจาก HDC on Cloud

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจกับแผนการดำเนินงาน บทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน กำหนดโครงการและพื้นที่สุขภาวะได้
  2. ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถใช้ระบบพัฒนาโครงการผ่านระบบกองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org ได้
  3. ออกแบบการเก็บข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลชุมชน 1 ชุด 2) ข้อมูลครัวเรือน 100 ชุด 3) ข้อมูลบุคคล 200 ชุด
  4. ข้อมูลครัวเรือนจำนวน 200 ชุด แบ่งสัดส่วนตามกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้

- กลุ่มอายุ 5-15 ปี จำนวน 50 คน - กลุ่มอายุ 16-25 ปี จำนวน 50 คน - กลุ่มอายุ 65 ปี ขึ้นไป จำนวน 50 คน

 

0 0

3. ประชุมการเขียนแผนและโครงการ

วันที่ 21 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.ม.อ.) ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และภาคีเครือข่ายจังหวัดตรัง ประชุมการทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วันที่ 21 มีนาคม 2567 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส.ม.อ.) ร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และภาคีเครือข่ายจังหวัดตรัง ประชุมการทำแผนงาน/โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วันที่ 21 มีนาคม 2567 เวลา 09.00 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง
การพบปะแลกเปลี่ยนกันวันนี้เป็นครั้งที่ 3 ซึ่งกิจกรรมที่ผ่านมาท้องถิ่นทั้ง 10 แห่ง ได้ร่วมเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชน 10 ประเด็น เป็นที่เรียบร้อย ครั้งนี้นำข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชนมาร่วมวิเคราะห์จัดทำแผนและโครงการที่จะดำเนินการ ซึ่งได้รับเกียรติจากท่านวิทยากรคุณสมนึก นุ่นด้วง คุณวาลัยพร ด้วงคง และคณะพี่เลี้ยงจังหวัดตรัง ร่วมแลกเปลี่ยนให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนกิจกรรมทางกายและสุขภาพอื่นๆ ในท้องถิ่น

  1. กิจกรรมทางกาย คือ การเคลื่อนไหวหรือการออกแรงของร่างกายในการทำกิจกรรมรูปแบบต่างๆ ในชีวิตประจำวัน ได้แก่ 1) การทำงาน/งานบ้าน 2) การเดินทาง (เดิน/ปั่นจักรยานไปที่ต่างๆ ในชุมชน ) 3) การมีกิจกรรมนันทนาการ การเล่นกีฬา และการออกกำลังกาย
    “กิจกรรมทางกายจึงมีความหมายมากกว่าการเล่นกีฬาและการออกกำลังกาย”

  2. วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่มีคุณภาพ และเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะการพัฒนาพื้นที่สุขภาวะ พื้นที่สาธารณะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัย ร่วมกับท้องถิ่น 10 แห่งในจังหวัดตรัง

  3. ท้องถิ่น 10 แห่ง ได้แก่ 1) เทศบาลตำบลย่านตาขาว 2) องค์การบริหารส่วนตำบลหาดสำราญ 3) ทต.นาโยงเหนือ 4) องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ 5) องค์การบริหารส่วนตำบลปากคม 6) เทศบาลตำบลโคกหล่อ 7) องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด 8) องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโพธิ์ 9) องค์การบริหารส่วนตำบลปะเหลียน 10) องค์การบริหารส่วนตำบลคลองลุ

  4. ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ โดยเน้นแผนงานกิจกรรมทางกายเป็นหลักในการร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และมีประเด็นอื่นๆ ร่วม 10 ประเด็น เพื่อการออกแบบโครงการสามารถเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ไปสู่การแก้ปัญหาอื่นๆ แบบบูรณาการได้ โดย 10 ประเด็นมี คือ 1) แผนงานกิจกรรมทางกาย 2) แผนงานขยะ 3) แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม 4) แผนงานยาสูบ 5) แผนงานสุรา 6) แผนงานสิ่งเสพติด 7) แผนงานอาหารและโภชนการ 8) แผนงานสุขภาพจิต 9) แผนงานความปลอดภัยทางถนน 10) แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

  5. หลักการทำแผน มี 4 คำ (อยู่ไหน, จะไปไหน,ไปอย่างไร, ไปถึงแล้วยัง) คือ 1) อยู่ไหน : สถานการณ์ 2) จะไปไหน : เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ 3) ไปอย่างไร : แนวทาง วิธีการดำเนินการ โครงการ 4) ไปถึงแล้วยัง : ประเมินผลลัพธ์ (คู่มือการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย: https://localfund.happynetwork.org/upload/forum/plandoc_pa.pdf)

  6. กระบวนการการจัดประชุม: 1) สร้างความเข้าใจกระบวนการพัฒนาแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและความเชื่อมโยงของโครงการกับแผนงาน 2) ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ที่เชื่อมโยงกับแผนงาน โดยใช้เครื่องมือเพื่อการเรียนรู้เว็บไซต์ https://localfund.happynetwork.org 3) แลกเปลี่ยนนำเสนอโครงการเพื่อสร้างการเรียนรู่ร่วมกัน

  7. ผลลัพธ์ที่ได้ คือ ได้แผนสุขภาพตำบล 10 ประเด็น จำนวน 10 ท้องถิ่นนำร่องในจังหวัดตรัง และได้โครงการที่จะดำเนินการในพื้นที่ ในครั้งถัดไป คือ “ขั้นตอนที่ 3) ไปอย่างไร : แนวทาง วิธีการดำเนินการ โครงการ” เป็นการเขียนโครงการที่ดีเพื่อนำไปสู่เป้าหมายการเพิ่มกิจกรรมทางกายในท้องถิ่น การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และสร้างกลไกความร่วมมือสร้างเสริมสุขภาพและสุขภาวะที่ดีในท้องถิ่นต่อไป

 

0 0

4. การประชุมพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่จังหวัดตรัง

วันที่ 10 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายตามโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย วันที่ 10 เมษายน 2567 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง

เวลา        กิจกรรม
08.00-08.30 ลงทะเบียน
08.30-10.30 ทบทวนแผนงาน/โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและความเชื่อมโยงของโครงการกับแผนงาน
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ที่เชื่อมโยงกับแผนงาน โดยใช้เครื่องมือเว็บ Localfund
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 ปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ และการออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์โดยใช้เครื่องมือเว็บ Localfund
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.30 นำเสนอโครงการ เพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ได้ทบทวนข้อมูลสถานการณ์สุขภาพและเป้าหมายแผน 1 ปี ของท้องถิ่น จำนวน 10 แห่ง
    • ได้แผนส่งเสริมกิจกรรมจำนวน 10 แผน
    • ได้โครงการสนับสนุนปฏิบัติการจำนวน 9 โครงการ

 

0 0

5. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของแต่ละกองทุน 10 กองทุน

วันที่ 21 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของแต่ละกองทุน 10 กองทุน ดังต่อไปนี้ 1.เทศบาลตำบลย่านตาขาว 2.องค์การบริหารส่วนตำบลหาดสำราญ 3.องค์การบริหารส่วนตำบลนาโยงเหนือ 4.องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ 5.องค์การบริหารส่วนตำบลปากคม 6.องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด 7.องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโพธิ์ 8.องค์การบริหารส่วนตำบลปะเหลียน 9.องค์การบริหารส่วนตำบลคลองลุ 10.เทศบาลตำบลโคกหล่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

6. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองเพื่อสุขภาพ (ตำบลโคกหล่อ)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองเพื่อสุขภาพ (ตำบลโคกหล่อ) โดย นางสาวกานดา พรมดาน ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

7. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมเด็กเยาวชนให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นด้วยการเล่นฟุตบอล (ตำบลนาโยงเหนือ)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการส่งเสริมเด็กเยาวชนให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นด้วยการเล่นฟุตบอล (ตำบลนาโยงเหนือ) โดยนายชาญชัย เชื้อชาญชัย มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

8. การสนับสนุนโครงการกิจกรรมทางกาย สูงวัยบ้านน้ำผุด สุขภาพดี (ตำบลน้ำผุด)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการกิจกรรมทางกาย สูงวัยบ้านน้ำผุด สุขภาพดี (ตำบลน้ำผุด) โดยนางบุญรัต แป้นแก้ว มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

9. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมการเดิน วิ่ง และใช้จักรยานในชุมชน (ตำบลบ้านโพธิ์)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการส่งเสริมการเดิน วิ่ง และใช้จักรยานในชุมชน (ตำบลบ้านโพธิ์) โดยนางสุภาพร เขียวผอม มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

10. การสนับสนุนโครงการหนูน้อย พัฒนาการสมวัยด้วยการออกกำลังกาย (ตำบลปะเหลียน)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการหนูน้อย พัฒนาการสมวัยด้วยการออกกำลังกาย (ตำบลปะเหลียน) โดยนางทิพรัตน์ ช่วยอินทร์ มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

11. การสนับสนุนโครงการอนุรักษ์ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าของผู้สูงอายุ (ตำบลปากคม)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการอนุรักษ์ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าของผู้สูงอายุ (ตำบลปากคม) โดย นายประเสริฐ แก้วละเอียด มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

12. การสนับสนุนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพในเด็กวัยรุ่น (ตำบลย่านตาขาว)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพในเด็กวัยรุ่น (ตำบลย่านตาขาว) โดยนางกัญชริญา เทพธานี มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

13. การสนับสนุนโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพขยับกาย สบายชีวา ปี 2567 (ตำบลหนองปรือ)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพขยับกาย สบายชีวา ปี 2567 (ตำบลหนองปรือ) โดยนางละออง ท่ามถั่ง มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

14. การสนับสนุนโครงการเด็กและเยาวชนสุขภาพดี ชีวีสดใสด้วยโนรา (ตำบลหาดสำราญ)

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การสนับสนุนโครงการเด็กและเยาวชนสุขภาพดี ชีวีสดใสด้วยโนรา (ตำบลหาดสำราญ) โดย นายอานนท์ ดำทับ มีระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

15. การประชุมการทำข้อตกลงเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ “การยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” จังหวัดตรัง

วันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 29 เม.ย.2567 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกหล่อ อ.เมือง จ.ตรัง สนส.ม.อ.และคณะทำงานพี่เลี้ยงได้จัดประชุมการทำข้อตกลงเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ “การยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” จังหวัดตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จังหวัดตรังมีกองทุนท้องถิ่นนำเข้าร่วมนำร่อง 10 แห่ง
  2. ทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมามีขั้นตอนการทำงาน ดังนี้
        1) ชี้แจงทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ
        2) ความเข้าใจเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย /เข้าใจหลักการทำงานแผน 4 คำถาม อยุ่ไหน จะไปไหน ไปอย่างไร ไปถึงแล้วยัง     3) อยู่ไหน: คือ การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพตำบล ได้เก็บข้อมูลครบถ้วน     4) จะไปไหน: การทำแผน ตั้งเป้าหมาย และกำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ     5) ไปอย่างไร: การเขียนโครงการ
    จากเวทีที่ผ่านมาได้ดำเนินการถึงขั้นตอนการเขียนโครงการ วันนี้จะทบทวนความสมบูรณ์ของโครงการ และทำข้อตกลงเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ “การยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” จังหวัดตรัง
  3. การออกแบบโครงการ คือ 1) ทำอย่างไรให้คนรับรู้ความตระหนักต่อเรื่องกิจกรรมทางกาย 2) การปรับสภาพแวดล้อม 3) ระบบกลไก

  4. ได้โครงการดำเนินกิจกรรมจำนวน 9 โครงการ ดังนี้
    1) โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพขยับกาย สบายชีวา ปี 2567 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง 2) โครงการเด็กและเยาวชนสุขภาพดี ชีวีสดใสด้วยโนรา ตำบลหาดสำราญ จังหวัดตรัง 3) โครงการกิจกรรมทางกาย สูงวัยบ้านน้ำผุด สุขภาพดี ตำบลน้ำผุด จังหวัดตรัง 4) โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพในเด็กวัยเรียน เทศบาลตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง 5) โครงการส่งเสริมเด็กเยาวชนให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นด้วยการเล่นฟุตบอล เทศบาลตำบลนาโยงเหนือ อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง 6) โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองเพื่อสุขภาพ เทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง 7) โครงการหนูน้อย พัฒนาการสมวัยด้วยการออกกำลังกาย อบต.ปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง" 8) โครงการอนุรักษ์ความเป็นไทยออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าของผู้สูงอายุ อบต.ปากคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง 9) โครงการส่งเสริมการเดิน วิ่งและใช้จักรยานในชุมชน อบต.บ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน) (ก่อน-หลัง) (2) สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ (3) สนับสนุนให้ท้องถิ่นออกแบบพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมี PA และสนับสนุนปฏิบัติการเพื่อเพิ่ม PA ในชุมชน (ออกแบบพื้นที่ 2 พื้นที่, โครงการ 4 โครงการ) (4) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ของแต่ละกองทุน (10 กองทุน) (ก่อน) (5) สนับสนุน ส่งเสริมให้กองทุนสุขภาพตำบล/ท้องถิ่น มีแผนการเพิ่ม PA (10 กองทุน) และสนับสนุน ส่งเสริมให้ เครือข่าย/กลุ่ม/ชุมชน สามารถเขียนโครงการ PA เพื่อของบประมาณจากกองทุน หรือแหล่งทุนในพื้นที่ฯ (6) กระบวนการออกแบบพื้นที่ จำนวน 2 พื้นที่ (7) การออกแบบพื้นที่ จำนวน 2 พื้นที่ (8) กิจกรรมโครงการในชุมชน จำนวน 2 โครงการ (9) กิจกรรมโครงการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน จำนวน 2 โครงการ (10) สรุป ถอดบทเรียน/แผนและโครงการ พื้นที่ต้นแบบ ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (หลัง) (11) การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้าใจแผนการดำเนินงาน และกิจกรรมโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายจังหวัดตรัง (12) ประชุมการเขียนแผนและโครงการ (13) การประชุมพัฒนาโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายให้สามารถจัดทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่จังหวัดตรัง (14) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของแต่ละกองทุน 10 กองทุน (15) การประชุมการทำข้อตกลงเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานสร้างเสริมสุขภาพ “การยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย” จังหวัดตรัง (16) การสนับสนุนโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยออกกำลังกายด้วยการรำไม้พลองเพื่อสุขภาพ (ตำบลโคกหล่อ) (17) การสนับสนุนโครงการส่งเสริมเด็กเยาวชนให้มีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้นด้วยการเล่นฟุตบอล (ตำบลนาโยงเหนือ) (18) การสนับสนุนโครงการกิจกรรมทางกาย สูงวัยบ้านน้ำผุด สุขภาพดี (ตำบลน้ำผุด) (19) การสนับสนุนโครงการส่งเสริมการเดิน วิ่ง และใช้จักรยานในชุมชน (ตำบลบ้านโพธิ์) (20) การสนับสนุนโครงการหนูน้อย พัฒนาการสมวัยด้วยการออกกำลังกาย (ตำบลปะเหลียน) (21) การสนับสนุนโครงการอนุรักษ์ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าของผู้สูงอายุ (ตำบลปากคม) (22) การสนับสนุนโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาเปตองเพื่อสุขภาพในเด็กวัยรุ่น (ตำบลย่านตาขาว) (23) การสนับสนุนโครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพขยับกาย สบายชีวา ปี 2567 (ตำบลหนองปรือ) (24) การสนับสนุนโครงการเด็กและเยาวชนสุขภาพดี ชีวีสดใสด้วยโนรา (ตำบลหาดสำราญ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (ภาคใต้ : ตรัง) จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมชาย ละอองพันธ์ , น.ส.วลัยพร ด้วงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด