โครงการกิจกรรมการศึกษาและพัฒนาแนวทางการสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขยายผลจากหมู่บ้านต้นแบบให้ครอบคลุมทั้งตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1
ชื่อโครงการ โครงการกิจกรรมการศึกษาและพัฒนาแนวทางการสร้างความมั่นคงทางอาหารเพื่อขยายผลจากหมู่บ้านต้นแบบให้ครอบคลุมทั้งตำบลโคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง
ชุมชน ต.โคกม่วง อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 61-ข-066
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2561 ถึง 14 มิถุนายน 2562
รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2561 ถึงเดือน มิถุนายน 2562
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2561 เวลา 10:00-15.00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้สร้างความเข้าใจคณะทำงานศึกษาความมั่นคงทางอาหารฯ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้มีแผนการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงคณะทำงานเข้าประชุม 7 คน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมคณะทำงาน 4 ครั้ง กิจกรรมที่ทำจริงรายางานการประชุมคณะทำงาน
วันที่ 26 สิงหาคม 2561 สรุป ที่ประชุมสอบถาม แลกเปลี่ยนจนเป็นที่เข้าใจตรงกันในเรื่องเป้าหมาย กิจกรรม ค่าใช่จ่าย และผลลัพธ์ ที่จะต้องมี Model ของหมู่บ้านต้นแบบ 2 หมู่ แลทำแผนขยายผลสู่ ทุกหมู่บ้านในตำบล วาระที่ 2 ออกแบบกิจกรรมประชุมแกนนำชุมชนเพื่อเก็บข้อมูลศึกษาพื้นที่ต้นแบบ 2 หมู่บ้าน ๆละ 20 คน ในวันที่ 12และ 13 สิงหาคม 2561 พร้อมด้วยภาคีที่เกี่ยวข้องดังนี้
1. พัฒนาชุมชนตำบล ปิดประชุมเวลา 15.30 น
|
9 | 9 |
2. เก็บข้อมูลบ้านทุ่งยาว และ บ้านเกาะทองสม ให้ครอบคลุม 4 มิติ |
||
วันที่ 13 กันยายน 2561 เวลา 09:00-15.00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อศึกษาข้อมูลสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารในหมู่บ้านทุ่งยาว และบ้านเกาะทองสมใหม่ ใน 4 มิติ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ข้อมูลสถานการณ์ความมั่นคงทางอาหารในพื้นที่บ้านโคกม่วงและบ้านเกาะทองสมใหม่ ใน 4 มิติ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
หมู่ที่ 11 บ้านทุ่งยาว ครอบครัวที่ปลูกไม้ผล ผลิตผลไม้ปลอดภัย ระดับปลอดสารเคมี จำนวน 4 ครอบครัว ครอบครัวที่เลี้ยงสัตว์เป้นอาหารปลอดภัย ระดับปลอดสารเคมี จำนวน 24 ครอบครัว หมู่ที่ 15 บ้านเกาะทองสมใหม่ ครอบครัวที่ปลูกพืชผักปลอดภัย ระดับปลอดสารเคมี จำนวน 33 ครอบครัว ครอบครัวที่ปลูกไม้ผล ผลิตผลไม้ปลอดภัย ระดับปลอดสารเคมี จำนวน 6 ครอบครัว ครอบครัวที่ทำนาปลอดภัย ระดับปลอดสารเคมี จำนวน 18 ครอบครัว ครอบครัวที่เลี้ยงสัตว์เป้นอาหารปลอดภัย ระดับปลอดสารเคมี จำนวน 16 ครอบครัว กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมแกนนำหมู่บ้านเพื่อเก็บข้อมูลทั้ง 4มิติ (เพียงพอ ปลอดภัย เข้าถึงได้ และการมีส่วนร่วม) กิจกรรมที่ทำจริงผู้รับผิดชอบโครงการ ชี้แจงสรา้งความเข้าใจกระบวนการกับแกนนำชุมนที่เข้าร่วมให้ข้อมูล โดยแบ่งกระบวนการเก็บข้อมูลออกเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 2 แกนนำแต่ละหมู่บ้านร่วมทำ Mapping หน่วยงานองค์กรที่มีส่วนร่วมในการสนับสนุนความมั่นคงทางอาหาร และชุมชนสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการความมั่นคงทางอาหารอย่างไร มีช่องทางใดที่ทุกคนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้ (ตามเอกสารแนบไฟล์)
|
40 | 36 |
3. ประชุประชุมคณะทำงาน สร้าางความเข้าใจกับภาคีที่เกี่ยวข้อง |
||
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อสร้างความเเข้าใจ และสร้างความร่วมมือ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้มีแผนการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผู้นำท้องที่ทั้ง 15 หมู่บ้านได้รับทราบรายละเอียดการดำเนินการแผนงาน วัตถุประสงค์ กิจกรรม กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประสานงานขอความร่วมมือจากนายอำเภอเขาชัยสน เพื่ออนุญาตให้เข้าร่วมประชุม ใช้เวลาประมาณ 20 นาที เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานตามแผนงาน และขอความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง โดยใช้โอกาสการประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้านประจำเดือนพฤศจิกายน 2561 มีกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย แพทย์ สารวัตร และหัวหน้าส่วนราชการเข้าร่วมการประชุม ประมาณ 200 คน (ตามรูป) กิจกรรมที่ทำจริงประสานงานขอความร่วมมือจากนายอำเภอเขาชัยสน เพื่ออนุญาตให้เข้าร่วมประชุม ใช้เวลาประมาณ 20 นาที เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานตามแผนงาน และขอความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้อง โดยใช้โอกาสการประชุมกำนันผู้ใหญ่บ้านประจำเดือนพฤศจิกายน 2561 มีกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย แพทย์ สารวัตร และหัวหน้าส่วนราชการเข้าร่วมการประชุม ประมาณ 200 คน (ตามรูป)
|
60 | 60 |
4. บริหารจัดการ นำเสนอความก้าวหน้าและตรวจเอกสารการเงิน |
||
วันที่ 17 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อรายงานความก้าวหน้าโครงการ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้งานบริหารจัดการ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงได้รับคำแนะนำในการสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูลจาก อ.เพ็ญ สุขมาก กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมรายงานความก้าวหน้าโครงการครั้งที่ 1 กิจกรรมที่ทำจริงรายงานความก้าวหน้าโครงการครั้งที่ 1
|
1 | 1 |
5. เวทีประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจระดับตำบล |
||
วันที่ 27 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อสร้างเครือข่ายและขยายผลไปยังหมู่บ้านอื่นๆ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้ผู้เข้าร่วมแกนนำได้เรียนรู้กระบวนการจัดการอาหารปลอดภัย แกนนำได้เรียนรู้รูปแบบการจัดการอาหารปลอดภัย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงผู้เข้าร่วมกิจกรรม.42..คน แกนนำได้เรียนรู้กระบวนการจัดการอาหารปลอดภัย แกนนำได้เรียนรุ้รูปแบบการจัดการอาหารปลอดภัย รายละเอียดตามไฟล์เอกสารแนบ กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมแกนนำหมู่บ้าน และบุคคลที่มีการปฏิบัติการด้านความมั่นคงทางอาหารของในแต่ละหมู่บ้าน คัดเลือกมาหมู่บ้านละ 3 คน ร่วมกับภาคีเทศบาลตำบล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อค้นหาบุคคล ครัวเรือนที่ดำเนินการด้านความมั่นคงทางอาหาร กิจกรรมที่ทำจริงแกนนำหมู่บ้าน และบุคคลที่มีการปฏิบัติการด้านความมั่นคงทางอาหารของในแต่ละหมู่บ้าน คัดเลือกมาหมู่บ้านละ 3 คน ร่วมกับภาคีเทศบาลตำบล โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อค้นหาบุคคล ครัวเรือนที่ดำเนินการด้านความมั่นคงทางอาหาร
|
50 | 0 |
6. เก็บ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลความมั่นคงทางอาหารของหมู่บ้านต้นแบบ (ม.11,15) |
||
วันที่ 10 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างความั่นคงทางอาหารของบ้านทุ่งยาวและบ้านเกาะทองสมใหม่ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้โมเดลบ้านทุ่งยาวและเกาะทองสม ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนจ้างเก็บข้อมูล 220 ชุด รวบรวมข้อมูลมือสอง จาก รพสต. 3 แห่ง วิเคราะห์ข้อมูล นักวิชาการ 3 คน ร่วมวิเคราะห์ข้อมูล กิจกรรมที่ทำจริงจ้างเก็บข้อมูล 220 ชุด รวบรวมข้อมูลมือสอง จาก รพสต. 3 แห่ง วิเคราะห์ข้อมูล นักวิชาการ 3 คน ร่วมวิเคราะห์ข้อมูล
|
3 | 3 |
7. บริหารจัดการ นำเสนอความก้าวหน้าโครงการ |
||
วันที่ 4 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างความั่นคงทางอาหารของบ้านทุ่งยาวและบ้านเกาะทองสมใหม่ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้งานบริหารจัดการ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงนำเสนอความก้าวหน้าโครงการ
สรุป กระบวนการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัจจัยเอื้อ ปัญหาอุปสรรค กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนนำเสนอความก้าวหน้าโครงการ สรุป กระบวนการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน ปัจจัยเอื้อ ปัญหาอุปสรรค กิจกรรมที่ทำจริง
|
1 | 1 |
8. เเวทีสร้างความเข้าใจและทำ Mapping ระดับตำบล |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00-16.00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างความั่นคงทางอาหารของบ้านทุ่งยาวและบ้านเกาะทองสมใหม่ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้Mapping โมเดลความมั่นคงทางอาหารบ้านทุ่งยาว และบ้านเกาะทองสม ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงจากเวทีประชาสัมพันธ์ และสร้างความเข้าใจ และทำ Mapping ระดับตำบล (15หมู่บ้าน+ท้องถิ่น+ภาคี) ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกม่วง ซึ่งเป็นการประชุมผู้นำหมู่บ้านแกนนำชุมชน เพื่อเก็บรวมข้อมูลบุคคล ครัวเรือนปฏิบัติการอาหารปลอดภัย การเกษตรปลอดสารเคมี โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจาก 15 หมู่บ้าน 45 คน ครูโรงเรียน 1 คน หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 คน เจ้าหน้าที่เทศบาล 3 คน ผลการประชุมได้ข้อมูลบุคคล ครัวเรือนปฏิบัติการด้านความมั่นคงทางอาหารของ 15 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ 1 จำนวน 10 ครัวเรือน หมู่ที่ 2 จำนวน 4 ครัวเรือน หมู่ที่ 3 จำนวน 8 ครัวเรือน หมู่ที่ 4 จำนวน 6 ครัวเรือน หมู่ที่ 5 จำนวน 3 ครัวเรือน หมู่ที่ 6 จำนวน 12 ครัวเรือน หมู่ที่ 7 จำนวน 5 ครัวเรือน หมู่ที่ 8 จำนวน 13 ครัวเรือน หมู่ที่ 9 จำนวน 17 ครัวเรือน หมู่ที่ 10 จำนวน 4 ครัวเรือน หมู่ที่ 11 จำนวน 45 ครัวเรือน หมู่ที่ 12 จำนวน 14 ครัวเรือน หมู่ที่ 13 จำนวน 5 ครัวเรือน หมู่ที่ 14 จำนวน 6 ครัวเรือน หมู่ที่ 15 จำนวน 49 ครัวเรือน กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนคืนข้อมุลบทเรียน 2 พื้นที่ต้นแบบ กิจกรรมที่ทำจริงชุมเวลา 09.00 น ลงทะเบียน เวลา 09.30 น ปลัดเทศบาลตำบลโคกม่วงกล่าวต้อนรับ แนะนำสถานที่ เวลา 10.00 น นายสมนึก นุ่นด้วง สร้างความเข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมายโครงการ และให้แต่ละหมู่บ้านระดมความเห็นเพื่อให้ได้ข้อมุูลบุคคล ครอบครัวที่ดำเนินการปลูกผัก เสี้ยงสัตว์ เพื่อความมั่นคงทางอาหารของครอบครัว และชุมชน (เสริฟอาหารว่างในที่ประชุม) เวลา 12.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 น แต่ละหมู่บ้านนำเสนอรูปแบบที่แต่ละบุคคล ครัวเรือนการดำเนินการ (เสริฟอาหารว่างในที่ประชุม) เวลา 15.30 น เลิกประชุม
|
50 | 15,000 |
9. ติดตามประเมินผลพื้นที่การขยายผล 13 หมู่ไบ้าน 1ครั้ง |
||
วันที่ 18 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00-16.00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อสร้างเครือข่ายและขยายผลไปยังหมู่บ้านอื่นๆ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้คณะทำงานเยี่ยมติดตามครอบครัวต้นแบบทุกหมู่บ้าน / ครัวครัวต้นแบบได้ร่วมผลักดันแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารตำบลโคกม่วง ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริงคณะทำงานและภาคีร่วมพร้อมกันที่เทศบาลตำบลโคกม่วง ผู้รับผิดชอบโครงการได้รสร้างความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของทีมติดตามประเมินผล โดยให้ใช้กลยุทธ์การเสริมพลังการสร้างความมั่นคงทางอาหารระดับตำบล ให้เสนอแนะและสร้างความเข้าใจแผนงานโครงการ ตามแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารตำบลโคกม่วง สอบถามปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการจัดการความมั่นคงทางอาหารในทั้งในระดับครัวเรือน ชุมชน และระดับตำบล รายละเอียดดังนี้
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนการติดตามประเมินพื้นที่ขยายผลความมั่นคงทางอาหาร ครั้งที่ 1 โดยคณะทำงานและภาคีดังนี้ กิจกรรมที่ทำจริงการติดตามประเมินพื้นที่ขยายผลความมั่นคงทางอาหาร โดยคณะทำงานและภาคีดังนี้ 10 คน
คณะทำงาน
|
39 | 10 |
10. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 |
||
วันที่ 10 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00-16.00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อสร้างเครือข่ายและขยายผลไปยังหมู่บ้านอื่นๆ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้มีแผนการดำเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 กิจกรรมที่ทำจริง
|
10 | 10 |
11. แกนนำปฏิบัติการดูงานหมู่บ้านต้นแบบ |
||
วันที่ 16 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00-16.00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อสร้างเครือข่ายและขยายผลไปยังหมู่บ้านอื่นๆ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้คนปฏิบัติการต้นแบบได้เรียนรู้และสามารถนำไปทำแผนได้ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนดูงานหมู่บ้านต้นแบบ กิจกรรมที่ทำจริง
- 12.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน - 13.00 น คุณสมมิตร ปานเพชร ประธานวิสาหกิจชุมชนบ้านทุุ่งยาวพัฒนา ได้เสริมพลังแกนนำให้เห็นว่าการทำเกษตรจะต้องคำนึงถึง สภาพแวดล้อมที่เอื้อเป็นสำคัญ ที่นี่เคยขาดแคลนน้ำ เราจึงจัดการเรื่องน้ำก่อนเมื่อปี 2557 มีน้ำแล้วจึงได้สร้างอาชีพเสริม ทำการเกษตรอินทรีย์เพื่อสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน เบื้องต้นตันทุนการเกษตรอินทรีย์จะสูง กำไรน้อย แต่ตนทำมี 4 ปี ตอนนี้รายได้จากแปลงเกษตรอินทรีย์ 46000บาท ที่ตันทุน 7500 บาท ค่าแรงไม่คิดเพราะทำหลังการกรีตยางเสร็จ การทำการเกษตรอินทรีย์ ต้องใช้เวลากว่าจะได้การรับรองมาตรฐาน ตนทำมา 4 ปี ปัจจุบันได้รับมาตรฐาน Organic Thailand การร่วมกลุ่มกำทำจึงมีความจำเป็น เพราะการเรียนรู้รร่วมกันนั้นสำคัญต่อการพัฒนา จนที่สุดกลุ่มของตนจึงตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชน - 14.30 น รับประทานอาหารว่าง ณ ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงบ้านเกาะทองสมใหม่ 1. คุณวิโรจน์ เหตุทอง ประธานศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียงบ้านเกาะทองสมใหม่ แนะนำเรื่องการประสานงบประมาณ และประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ โดยใช้แผนพัฒนาหมู่บ้านเป้นเครื่องมือ ปัจจัยสำคัญในทำแผนพัฒนาให้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณคือ 1.1 ข้อมูลถูกต้อง วิเคราะห์ชัดเจน กำหนดทิศทางร่วมกับหน่วยงานที่สนับสนุนงบประมาณ
1.2 ต้องเชิญส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมการทำแผนตั้งแต่ต้นทาง
|
45 | 0 |
12. เวทีพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารตำบลโคกม่วง |
||
วันที่ 19 มิถุนายน 2562 เวลา 09:00 น.วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้เพื่อสร้างเครือข่ายและขยายผลไปยังหมู่บ้านอื่นๆ ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้การเชื่อมร้อยเครือข่ายความมั่นคงทางอาหาร ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผนแกนนำหมู่คณะทำงานจำนวน 20 คน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ดูงานเชื่อยร้อยเครือข่าย ความมั่นคงทางอาหาร กิจกรรมที่ทำจริง• เวลา 09.30 น แกนนำหมู่บ้านละ 3 คนมาพร้อมกันที่ห้องประชุมเทศบาลตำบลโคกม่วง ลงทะเบียน • เวลา 10.00 น นายกเทศมนตรีกล่าวต้อนรับ แจ้งวัตถุประสงค์การพัฒนาแผนยุทศาสตร์อาหารตำบลโคกม่วง • เวลา 10.20 น พักรับประทานอาหารว่าง • เวลา 10.30 น ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงวิธี และกระบวนการพัฒนาแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารตำบลโคกม่วง ตามด้วยการนำเสนอข้อมูลระดับตำบล และรูปแบบการดำเนินการของหมู่บ้านต้นแบบ • เวลา 12.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน • เวลา 13.00 น. ผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอร่างแผนยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารตำบลโคกม่วง ตามด้วยผู้ใหญ่วิโรจน์ เหตุทอง เน้นย้ำวิธีการทำแผนงาน/โครงการ แล้วให้ทุกคนช่วยกันเสนอความเห็น เสนอโครงการ • เวลา 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง • เวลา 14.45 น ดำเนินการเสนอความเห็นเสนอโครงการต่อจนครอบคลุมทุกประเด็นยุทธศาสตร์ • เวลา 16.00 น ผู้เข้าร่วมประชุมรับเงินค่าเดินทางแยกย้ายกลับบ้าน
|
20 | 20 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ
ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ
การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการ | ทั้งหมด | ทำแล้ว | 10% | 20% | 30% | 40% | 50% | 60% | 70% | 80% | 90% | 100% |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การทำกิจกรรม | ||||||||||||
การใช้จ่ายงบประมาณ | 150,000.00 | 0.00 | ||||||||||
คุณภาพกิจกรรม |
ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)
ประเด็นปัญหา/อุปสรรค | สาเหตุเพราะ | แนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน |
---|---|---|
|
|
|
แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป
- เก็บ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลความมั่นคงทางอาหารของหมู่บ้านต้นแบบ (ม.11,15) ( 10 มี.ค. 2562 )
(................................)
นายสมนึก นุ่นด้วง
ผู้รับผิดชอบโครงการ