directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 12

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 12 ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 12

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 12 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 12



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 12 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,460,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กองทุนศูนย์เรียนรู้
  2. กองทุนสมัครใจเข้าร่วม
  3. ทบทวนพัฒนาแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปี 2566 จ.พัทลุง
  4. ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ. ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง
  5. ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ.กงหรา จ.พัทลุง
  6. สรุปประชุมการดำเนินงาน พื้นที่สุขภาพเขต 10 จังหวัดอุบลราชธานี
  7. ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน ครั้งที่ 1 จ.พัทลุง
  8. ประชุมความร่วมมือ(MOU)กับ พชอ. กองทุนสุขภาพตำบล 2 อำเภอ
  9. ประชุมความร่วมมือ(MOU)กับ พชอ. กองทุนสุขภาพตำบล 1 อำเภอ
  10. ประชุมสร้างความเข้าใจกลไกติดตามงาน พชอ.พชต.กองทุน ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง
  11. ประชุมคณะทำงานจังหวัดตรัง
  12. จังหวัดสงขลา จดประชุมเชิงปฏิบติการการทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินของกองทุนตำบลกับโครงการ ฯประเด็นเป้าหมายของโครงการสุขภาวะ 8 ประเด็น
  13. ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการและหน่วยขอรับงบสนับสนุนกองทุน กองทุน 5 กองทุน จังหวัดตรัง
  14. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองเปียะ
  15. ก.5/1ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่1 จ.พัทลุง
  16. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/ทต.นาทับ
  17. ก.3 ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล จ.พัทลุง
  18. การอบรมการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน ของอ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
  19. การประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล โดยใช้ระบบซูม จ.ปัตตานี (กองทุนสมัครใจ)
  20. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองทราย
  21. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.วังใหญ่
  22. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/ อบต.สะกอม
  23. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.นาหม่อม
  24. ประชุมภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนประเด็นร่วม พชอ. MoU จ.พัทลุง
  25. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.พิจิตร
  26. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองหรัง
  27. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.ทุ่งขมิ้น
  28. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.แค
  29. จังหวัดสงขลา ประชุมเชิงปฏิบัตการณ์อาสาสมัครในการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพด้วยระบบGoogle Form ด้วยโทรศัพท์มือถือ
  30. อบรมการเก็บข้อมูลด้วยระบบCoogle Form จังหวัดตรัง
  31. จังหวัดสงขลา ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพด้วยระบบGoogle Form 10 กองทุน
  32. การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น(ครั้งที่ 1) จ.พัทลุง
  33. จังหวดสงขลา ประชุมความร่วมมือ (MOU.) ผ่านกลไก พชอ.นาหม่อมกับกองทุนตำบล 1 อำเภอ
  34. ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่ 2 จ.พัทลุง
  35. อบรมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นจากพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับตำบล อ.หนองจิก และอ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
  36. อบรมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นจากพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับตำบล อ.เมือง จ.ปัตตานี
  37. ประชุมเพื่อพัฒนาแผนงานและโครงการฯ (กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน) 10 ประเด็น อ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
  38. จังหวัดสงขลา ประชุมเชิงปฏิบติการพัฒนาศักยภาพกองทุน การพัฒนาโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน และการติดตามประเมินผลโครงการ
  39. ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ(กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน 10 ประเด็น) อ.เมืองปัตตานี
  40. อบรมการพัฒนาแผนกองทุนพร้อมพัฒนาโครงการของปี 2566 จังหวัดตรัง
  41. ก.5 ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ครั้งที่ 1 รอบที่ 1-3 จ.พัทลุง
  42. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนศูนย์เรียนรู้)ให้กับ พชอ.ทั้ง 2 อำเภอ จ.ปัตตานี ครั้งที่ 1 จ.ปัตตานี
  43. ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟัง ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ อ.หนองจิก อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
  44. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนสมัครใจ)ให้กับ พชอ. อำเภอเมือง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 1 จ.ปัตตานี
  45. ประชุมกลไกติดตามงาน พชอ. ติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่3 ถอดบทเรียน ครั้งที่1 จ.พัทลุง
  46. ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟัง ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ อ.เมือง จ.ปัตตานี
  47. การติดตามประเมินความก้าวหน้าโครงการ ปี 2566และประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุน ปี 2567 จังหวัดสงขลา
  48. ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
  49. พัฒนาแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ปี 2567 จ.พัทลุง
  50. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนศูนย์เรียนรู้)ให้กับ พชอ.ทั้ง 2 อำเภอ จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2 จ.ปัตตานี
  51. ประชุมเชิงปฏิบัติการการทำแผนสุขภาพกองทุน แผนการเงินกองทุน ปี 2567และการเขียนโครงการระบบออนไลน์เวปไซด์กองทุน ฯ จังหวัดสงขลา
  52. กส.5/4 ประชุมติดตามประเมิน และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.ครั้งที่4 จ.พัทลุง
  53. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนสมัครใจ)ให้กับ พชอ. อำเภอเมือง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2
  54. ประสานงาน พชอ.กงหรา
  55. ก.5 พัฒนาโครงการผ่านเว็บกองทุน ครั้งที่ 2 รุ่นที่ 1 จ.พัทลุง
  56. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ( ระดับอำเภอ ตำบล ) อ.หนองจิก และอ.ยะหริ่ง ครั้งที่ 2
  57. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ( ระดับอำเภอ ตำบล ) อ.เมืองปัตตานี ครั้งที่ 2
  58. ก.5 พัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ครั้งที่ 2 รุ่นที่ 2 จ.พัทลุง
  59. ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ( กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน ) ครั้งที่ 2 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
  60. ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ(กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน 10 ประเด็น,v.หนองจิก,อ.ยะหริ่ง ครั้งที่ 2
  61. กส.5/5 ประชุมติดตามประเมิน และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. ครั้งที่ 5 จ.พัทลุง
  62. อบรมการติดตามประเมินผล จังหวัดตรัง
  63. ประชุม สรุปผลโครงการ ประเมินผลโครงการ การเก็บข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ จังหวัดสงขลา
  64. กส.5/6 ประชุมติดตามประเมิน และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.ครั้งที่ 6 จ.พัทลุง
  65. การสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบลอำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2
  66. การสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบล อำเภอเมืองปัตตานี ครั้งที่ 2
  67. ประชุมติดตามการเก็บ้อมูลสถานการณ์สุขภาพ และถอดบทเรียนความสำเร็จโครงการลโครงการ จังหวัดสงขลา
  68. ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามรายงานและประเมินคุณค่าโครงการ จ.พัทลุง
  69. การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น(ครั้งที่2) จ.พัทลุง
  70. การประกวดวิชาการกองทุนดีเด่นระดับจังหวัด ( ดำเนินการวันที่ 25 มิ.ย.2567 ) จ.ปัตตานี
  71. กส.5/7 ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนโครงการ จ.พัทลุง
  72. ประชุมคณะทำงานทบทวนผลลัพธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน ครั้งที่ 1 จ.พัทลุง

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-09.30 น. ลงทะเบียน และดำเนินการประชุมโดยนายสมนึก นุ่นด้วง
09.30-10.30 น. สร้างความเข้ารายละเอียดโครงการ และแผนการดำเนินงาน
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น แบ่งงาน/บทบาทของคณะทำงานและพื้นที่เป้าหมาย โดย
12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. ทบทวนเว็บกองทุน เครื่องมือที่ใช้บริหารแผนงานโครงการ
13.00-14.30 น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-15.30 น. วางแผนจัดกิจกรรมประชุม พชอ. ศรีนครินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงานรู้ และเข้าใจรายละเอียดโครงการและแผนงานกิจกรรมที่จะต้องดำเนินการสู่ผลลัพธ์
  2. ได้พื้นที่ดำเนินงานในระดับ พชอ. 2 อำเภอ 9 กองทุน (กงหรา 5 กองทุน+ศรีนครินทร์ 4 กองทุน)
  3. คณะทำงานสามารถเป็นวิทยกรการใช้เครื่องมือเว็บกองทุนเพื่อบริหารแผนงานโครงการรายงานผลและประเมินคุณค่า
  4. แบ่งงานคณะทำงาน มอบหมายพื้นที่รับผิดชอบ และได้แผนจัดกิจกรรมประชุม พชอ. ศรีนครินทร์
  5. ได้แผนปฏิบัติการ/แผนงบประมาณ

 

8 0

2. ประชุมความร่วมมือ(MOU)กับ พชอ. กองทุนสุขภาพตำบล 2 อำเภอ

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดการประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ และพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) อ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง
จ.ปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายเศวต เพชรบุ้ย นายอำเภอเมืองปัตตานี รักษาราชการแทนปลัดจังหวัดปัตตานี เป็นประธานเปิดการประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ และพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีผู้แทนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ท้องถิ่นอำเภอ ผู้รับผิดชอบกองทุน ผู้ประสานงาน ในพื้นที่อำเภอเมืองปัตตานี อำเภอยะหริ่ง อำเภอหนองจิก และแขกผู้มีเกียรติ เข้าร่วมในพิธี
มีการบรรยายวัตถุประสงค์ของโครงการฯจาก ผู้แทนของ สนส.มอ. และ ผอ.สป.สช.เขต 12 สงขลา
  การลงนามบันทึกข้อตกลงในครั้งนี้ มีกองทุนฯเข้าร่วมทั้งหมด 22 กองทุนจาก 2 อำเภอ คือ 1.อำเภอหนองจิก 13 กองทุนประกอบด้วย เทศบาลตำบลบ่อทเทศบาลตำบลหนองจิก อบต.เกาะเปาะ อบต.คอลอตันหยง อบต.ดอนรัก อบต.ดาโต๊ะ อบต.ตุยง อบต.ท่ากำชำ อบต.บางตวา อบต.ปุโละปุโย อบต.ลิปะสะโง อบต.ยาบี อบต.บางเขา 2.อำเภอยะหริ่ง 9 กองทุนประกอบด้วย กองทุนตำบลตาลีอายร์ กองทุนตำบลตะโละกาโปร์ กองทุนตำบลปิยามุมัง กองทุนตำบลตาแกะ กองทุนตำบลหนองแรด กองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง กองทุนเทศบาลตำบลตอหลัง กองทุนตำบลตะโละ กองทุนตำบลตันหยงดาลอ

 

90 0

3. ประชุมความร่วมมือ(MOU)กับ พชอ. กองทุนสุขภาพตำบล 1 อำเภอ

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดการประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ และพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) อ.เมือง จ.ปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นายเศวต เพชรบุ้ย นายอำเภอเมืองปัตตานี รักษาราชการแทนปลัดจังหวัดปัตตานี เป็นประธานเปิดการประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ และพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีผู้แทนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ ท้องถิ่นอำเภอ ผู้รับผิดชอบกองทุน ผู้ประสานงาน ในพื้นที่อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี และแขกผู้มีเกียรติ เข้าร่วมในพิธี
มีการบรรยายวัตถุประสงค์ของโครงการฯจาก ผู้แทนของ สนส.มอ. และ ผอ.สป.สช.เขต 12 สงขลา      การลงนามบันทึกข้อตกลงในครั้งนี้ มีกองทุนฯเข้าร่วมทั้งหมด 10 กองทุนจาก 1 อำเภอ คือ
ประกอบด้วย กองทุนตำบลบาราโฮม กองทุนตำบลปะกาฮะรัง กองทุนตำบลตะลุโบะ กองทุนตำบลตันหยงลุโละ กองทุนตำบลปูยุด กองทุนตำบลคลองมานิง กองทุนตำบลกามิยอ กองทุนเทศบาลตำบลรูสะมิแล กองทุนตำบลบานา กองทุนตำบลบาราเฮาะ  ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงในครั้งนี้

 

50 0

4. ประชุมสร้างความเข้าใจ กลไก พชอ. พชต. กองทุน จ.พัทลุง

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน มณิสรา หนูทอง ไพลิน  ทิพย์สังข์
๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น.    ประธานคณะกรรมการ พชอ. เปิดการประชุมและนำเสนอแนวทางการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการของ พชอ.ศรีนคินทร์ นายอำเภอศรีนครินทร์
๐๙.๓๐-๑๐.๓๐ น.    ผลการดำเนินงานพชอ.ศรีนครินทร์ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ สถานการณ์และลำดับปัญหาสาธารณสุขในอำเภอศรีนครินทร์ สาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์ ๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น. พักรับประธานอาหารว่าง ไพลิน  ทิพย์สังข์
๑๐.๔๕-๑๒.๐๐ น. แลกเปลี่ยนวิเคราะห์แผนเทศบาลที่เป็นปัญหาและมีผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้ง ๔ ตำบล ผู้แทนจากเทศบาลทั้ง ๔ แห่ง โดยมี นายสมนึก  นุ่นด้วง ทำหน้าที่ facilitator
๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ไพลิน  ทิพย์สังข์
๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอศรีนครินทร์และตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ร่วมกันร่างแผนบูรณาการงานส่งเสริมกิจกรรมทางกายระดับพชอ. สมนึก นุ่นด้วง ทำหน้าที่ facilitator
๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ น. พักรับประธานอาหารว่าง ไพลิน  ทิพย์สังข์
๑๔.๔๕-๑๖.๐๐ น. สรุปแนวทางการขับเคลื่อนงานและ (ร่าง)แผนบูรณาการขับเคลื่อนงานของพชอ.ศรีนครินทร์) สาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์
๑๖.๐๐ น. ปิดประชุม นายอำเภอศรีนครินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เข้าประชุมได้รับรู้และเข้าใจรายละเอียด/วัตถุประสงค์/กิจกรรมโครงการ ที่จะต้องร่วมมือกันขับเคลื่อนสู่ผลลัพธ์
ได้แผนงาน พชอ. ซึ่งกำหนดประเด็นร่วมคือแผนงานกิจกรรมทางกาย
ได้บูรณาการแผนงานกับกองทุน และหน่วยงาน องค์กร ชุมชน ที่ดำเนินกิจกรรมทางกาย
ได้ผู้กลไกขับเคลื่อนงาน พชอ. จำนวน 12 คน ประกอบด้วยผู้แทนคณะกรรมการ พชอ. 4 คน/ผู้แทนกองทุน 4 คน และผู้แทน พชต.4 คน

 

40 0

5. ประชุมคณะทำงานจังหวัดตรัง

วันที่ 6 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานจังหวัดตรัง  เพื่อทำความเข้าใจ  ชี้แชงโครงการ  คัดเลือกกองทุนนำร่อง  5  กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ชี้แจงโครงการ ความเป็นมาของโครงการ  วัตถุประสงค์ของโครงการ  ต้องการอะไร  เป้าหมายของโครงการ  คัดเลือกกองทุนนำร่องของจังหวัดตรัง ผลลัพธ์    คณะทำงานมีความเข้าใจโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน  ปี 2566    ได้กองทุนนำร่องของจังหวัดตรัง  5  กองทุน  ได้แก่  กองทุนเทศบาลตำบลย่านตาขาว  กองทุนเทศบาลตำบลโคกหล่อ  กองทุนเทศบาลตำบลนาวง  กองทุน  อบต.หาดสำราญ  กองทุน  อบต. นาโยงเหนือ      มีการกำหนดระยะเวลาของการดำเนินกิจกรรมของโครงการต่อไป

 

7 0

6. จังหวัดสงขลา จัดประชุมเชิงปฏิบติการการทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินของกองทุนตำบลกับโครงการ ฯประเด็นของโครงการสุขภาวะ 10 ประเด็น

วันที่ 13 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงโครงการ ฯ แก่ผู้เกี่ยวข้อง
  2. ทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินของกองทุนตำบลทุกแห่งให้สอดคล้องกับโครงการ ฯ ระบบออนไลน์ ทางเวปไซด์กองทุน https://localfund.happynetwork.org/
  3. ประเด็นเป้าหมายของโครงการสุขภาวะ 10 ประเด็น คือ อาหาร กิจกรรมทางกาย ความปลอดภัยทางถนน บุหรี่ เหล้า ยาเสพติด สุขภาพจิต ขยะ พิษจากสิ่งแวดล้อม และ ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ ทำอย่างไรในแต่ละประเด็น ให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ อย่างน้อยกองทุนละ 2 ประเด็น
  4. แนวทางและขั้นตอนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนทั้ง 10 กองทุน มีการทบททวนแผนสุขภาพและแผนการเงินของกองทุน ป 2566 สอดคล้องกับโครงการ ฯ ครบทั้ง
10 กองทุน ดังนี้

  • กองทุุนตำบล อบต.นาหม่อม มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย บุหรี่
  • กองทุนตำบล อบต.พิจิตร  มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย บุหรี่ ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต
  • กองทุนตำบล อบต.คลองหรังมีแผนงานอาหาร กิกรรมทางกาย สุขภาพจิต
  • กองทุนตำบล อบต.ทุ่งขมิ้น  มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย ยาเสพติด สุขภาพจิต
  • กองทุนตำบล อบต.แค    มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย ขยะและสิ่งแวดล้อม
  • กองทุนตำบล อบต.สะกอม  มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย ขยะและสิ่งแวดล้อม บุหรี่
  • กองทุนตำบล อบต.วังใหญ่  มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย ยาเสพติด สุขภาพจิต
  • กองทุนตำบล อบต.คลองทราย มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย ขยะและสิ่งแวดล้อม บุหรี่ สุขภาพจิต ความปลอดภัยทางถนน
  • กองทุนตำบล อบต.คลองเปียะ มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย ยาเสพติด สุขภาพจิต ขยะและสิ่งแวดล้อม
  • กองทุนตำบล เทศบาลตำบลนาทับ มีแผนงานอาหาร กิจกรรมทางกาย ยาเสพติด สุขภาพจิต ความปลอดภัยทางถนน ขยะและสิ่งแวดล้อม บุหรี่

 

58 0

7. ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการและหน่วยขอรับงบสนับสนุนกองทุน กองทุน 5 กองทุน จังหวัดตรัง

วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เชิญกองทุนนำร่องเข้าร่วมประชุมชี้แจงพร้อมดำเนินการเขียนโครงการผ่านระบบเว็บกองทุน มีกองทุนนำร่องจำนวน 5 กองทุน ได้แก่ กองทุนเทศบาลตำบลโคกหล่อ กองทุนเทศบาลตำบลย่านตาขาว กองทุนเทศบาลตำบลนาวง กองทุน อบต.หาดสำราญ กองทุน อบต. นาโยงเหนือ  กองทุนละ 18 คน พร้อมคณะทำงาน 7 คนได้ดำเนินดังนี้ 1.ชี้แจงโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน
2.ทบทวนแผนสุขภาพ แผนการเงิน ให้สอดคล้องกับโครงการผ่านเว็บไชด็ของกองทุน ผ่านเว็บ hffps://locailund .happynetwork.org. 3.แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
4. มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 5.มีการลงเก็บข้อมูลสถานการณ์ในพื้นที่จริง ตามเครื่องมือที่เขตออกให้ 5. มีการพัฒนาโครงการ
6.มีระบบการติดตามประเมินผลโครงการได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการตามรายละเอียดของกิจกรรม  ในโครงการ    ได้ชี้แจงให้กับคณะทำงาน  ผู้เข้าร่วมโครงการได่้ทราบถึงวัตถุประสงค์โครงการ  ว่า  ต้องทำอ ะไร  บ้าง  กับใคร  ที่ไหน  อย่างไร
ผลลัพธ์  เกิดความเข้าใจตรงกัน  ของกองทุนที่เข้าร่วมโครงการ  ว่าหลังจากกิจกรรมนี้ต้องดำเนินเรื่องอะไรบ้าง    มีเป้าหมายที่ชัดเจนขึ้น    สร้างความเข้าใจในตัวโครงการ  มีการแต่งตั้งคณะทำงาน  เพื่อคัดเลือกโครงการที่จะเข้าร่วมโครงการบูรณาการฯ  ขึ้นภายในกองทุนนำร่อง

 

98 0

8. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองเปียะ

วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น.  ประธานกองทุนตำบล อบต.คลองเปียะ เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น.  ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ             แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน  อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
            ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด  ผ่านระบบ จำนวน  2 แผน
            มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น.  รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น.  สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 31 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
    • โครงการ อย.น้อย รพ.สต.คลองเปียะ จำนวน 10,000.00 บาท
    • โครงการพ่อแม่เปิดใจ ลูกหลานปลอดภัยและสุขใจ จำนวน 15,000.00 บาท
    • โครงการลด ละ เลิก สูบหรี่โดยแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกตำบลคลองเปียะ จำนวน 25,000.00 บาท
    • โครงการหนูน้อยกินเป็นใส่ใจสุขภาพ รร.วัดช่องเขา จำนวน 8,000.00 บาท
    • โครงการคัดแยกขยะในโรงเรียนบ้านควนหัวช้าง จำนวน 10,000.00 บาท
    • โครงการคัดแยกขยะในโรงเรียนวัดช่องเขา จำนวน 10,000.00 บาท
    • โครงการจัดการขยะเพื่อลดโรคร้าย คลายโรคร้อน ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน จำนวน 12,000.00 บาท
    • โครงการผู้สูงวัยสุขภาพกายและใจเข้มแข็ง จำนวน 30,000.00 บาท
    • โครงการส่งเสริมการคัดแยกขยะในโรงเรียนชุมชนวัดควนมีด จำนวน 10,000.00 บาท
    • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย อสม.รพ.สต.คลองเปียะ จำนวน 15,000.00 บาท
    • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย อสม.รพ.สต.ช่องเขา จำนวน 15,000.00 บาท
    • โครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการบริโภคอาหารจากสารเคมีบ้านควนหัวช้าง จำนวน 19,000.00 บาท
    • โครงการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยในการบริโภคอาหารจากสารเคมีบ้านไทรขึง จำนวน 19,000.00 บาท
    • เด็กช่องเขาสุขภาพแข็งแรงพัฒนาการสมวัย จำนวน 8,000.00 บาท
    • ร้านค้า อาหารสะอาด ปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพประชาชนจำนวน 8,000.00 บาท 4 สอการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

9. ก.5/1ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่1 จ.พัทลุง

วันที่ 10 มกราคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

10 มกราคม 2566 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมชัยคณาธานี ตามวาระดังนี้
วาระการประชุม 1. คณะทำงานระดับตำบล/ระดับจังหวัด แนะนำตัว
พชอ.ศรนครินทร์ 4 คน (ผู้ประสานงานหลัก) พชอ.กงหรา 5 คน (ผู้ประสานงานหลัก) กองทุนสมัครใจ อ.ควนขนุน 5 คน (ผู้ประสานงานหลัก) คณะทำงานระดับจังหวัด 8 คน(ผู้ประสานงานหลัก)

  1. สร้างความเข้าใจรายละเอียดโครงการ แผนการดำเนินงาน และงบประมาณ ระดับ พชอ.ศูนย์เรียนรู้ ระดับกองทุนสมัครใจ นำร่อง Master Plan โครงการ สนส. บันไดผลลัพธ์ระดับจังหวัดพัทลุง แผนปฏิบัติการและงบประมาณ
  2. รายงานผลการดำเนินงาน ผลลิต ผลลัพธ์ ปัญหาอุปสรรค การประชุม พชอ.ศรีคนครินทร์
    การประชุม พชอ.กงหรา (รอ สสอ.มารับตำแหน่ง) กองทุนสมัครใจทั่วไป อ.ควนขนุน

  3. แผนการดำเนินงานเดือนมกราคม 2566 วันที่ 11 มกราคม 2566 ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้แอพเก็บข้อมูล (รายชื่อกลุ่มเป้าหมาย/การประชุมกลุ่มย่อย/การลงทะเบียน /ค่าตอบแทน)โดยมีคณะทำงานระดับกองทุนเป็น Fa. วันที่ 23 มกราคม 2566 การประชุมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง พชอ.ศรีนครินทร์ พชอ.กงหรา กองทุนตำบล 9 กองทุน

  4. อื่นๆ......(ทบทวนเว็บกองทุน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าประชุม 23 คน(กองทุนบ้านนามา 2 คน)
  2. ได้ผู้ประสานงานระดับกองทุน
          -พชอ.ศรีนครินทร์ 4 คน (ผู้ประสานานหลัก นส.จุฑามาศ ทับชุม/ นางสาวจิราภรณ์ บุญมาก)
          -พชอ.กงหรา 5 คน (ผู้ประสานงานหลัก นางสุภาพร คงพันธฺ/ นายประเทือง อมรวิริยะชัย)
          -กองทุนสมัครใจ อ.ควนขนุน 5 คน (ผู้ประสานงานหลัก นางเพ็ญพร เพ็ชรหัวบัว/นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม)
          -คณะทำงานระดับจังหวัด 8 คน
  3. ผู้เข้าประชุมรู้และเข้าใจแผงานทั้งระดับ สนส .และระดับจังหวัด
  4. ผลการดำเนินงาน
        - การประชุม พชอ.ศรีคนครินทร์ ดำเนินการแล้ว 22/11/2565
        - การประชุม พชอ.กงหรา (ยังไม่ดำเนินการ รอ สสอ.มารับตำแหน่ง และมอบหมาย ผู้ประสานงานติดตามเร่งรัด)
        - กองทุนสมัครใจทั่วไป อ.ควนขนุน (ยังไม่ดำเนินการ รอเก็บข้อมูลเพื่อใช้ทำแผนงาน)
  5. แผนการดำเนินงานเดือนมกราคม 2566     - ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้แอพเก็บข้อมูล (ให้รวมกลุ่มกันจุดเดียวโดยมีคณะทำงานระดับกองทุนเป็น Fa.)     - การประชุมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง พชอ. ได้แบ่งงานรับผิดชอบ รายละเอียดตามไฟล์สรุปแนบแล้ว
  6. ผู้เข้าประชุมได้เรียนรู้เว็บกองทุนที่มีการปรับปรุงสถานการณ์ใหม่ และทบทวนการบันทึกข้อมุลสถานการณ์มีรายละเอียดของ (N และ n)

 

22 0

10. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/ทต.นาทับ

วันที่ 10 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบล ทต.นาทับ เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 32 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
  • โครงการขยะ เทศบาลตำบลนาทับ 50,000.00
  • โครงการความปลอดภัยในการบริโภคจากสารพิษตกค้างในเกษตรกร รพ.สต.นาทับ รพ.สต. นาทับ 9,045.00
  • โครงการคัดแยกขยะ พัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมสุขภาพ ลดโรคในชุมชน สาธารณสุขเทศบาลตำบลนาทับ 150,000.00
  • โครงการคุ้มครองผู้บริโภค อาหารปลอดภัย รพสต นาทับ 26,000.00
  • โครงการ จิตดี ใจดี ชีวีมีสุข รพ.สต.นาทับ 50,000.00
  • โครงการกินอย่างไร ให้ผู้สูงวัยสุขภาพดี รพ.สต.นาทับ ชมรม อสม.นาทับ 25,000.00
  • โครงการกินอย่างไร ให้ผู้สูงวัยสุขภาพดี รพ.สต.นาเสมียน ชมรม อสม. นาเสมียน 25,000.00
  • โครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชน ชมรมเยาวชนนาทับ 105,000.00
  • โครงการคนรุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ชมรม อสม.นาเสมียน 40,000.00
  • โครงการปรับเปลี่ยพฤติกรรมวัดความสุข ชมรม อสม.นาทับ 40,000.00
  • โครงการผู้สูงอายุรักษ์สุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ 80,000.00
  • โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อตัวคุณและคนที่คุณรัก รพ.สต.นาเสมียน 50,000.00
  • โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อตัวคุณและคนที่คุณรัก รพ.สต.นาทับ 50,000.00
  • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย ชมรม อสม. นาทับ 40,000.00
  • โครงการสูงวัยใสใจสุขภาพจิต ชมรม ผู้สูงอายุ 40,000.00
  • โครงการรักษ์สุขภาพด้านอาหารโภชนาสมวัย ศพด. บ้านนาทับ ศูนย์เด็กเล็ก บ้านนาทับ 30,000.00
  • โครงการรักษ์สุขภาพด้านอาหารโภชนาสมวัย ศพด. บ้านนาเสมียน ศูนย์เด็กเล็ก บ้านนาเสมียน 30,000.00
  • โครงการรักษ์สุขภาพด้านอาหารโภชนาสมวัย ศพด. บ้านปากบางนาทับ ศูนย์เด็กเล็กปากบางนาทับ 30,000.00
  • โครงการรักสุขภาพด้านอาหารโภชนาสมวัย ศพด.ปึก ศูนย์เด็กเล็ก ปึก 30,000.00
  • โครงการหนูน้อยรักษ์สุขภาพรักการเต้นแอโรบิค ศูนย์เด็กเล็ก นาเสมียน 25,000.00
  • โครงการหนูน้อยวัยใสใส่ใจกินผักรักษ์สุขภาพ ศพด.บ้านคลองข่า ศูนย์เด็กเล็ก คลองข่า 30,000.00

4 สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

11. ก.3 ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล จ.พัทลุง

วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 09.00 น กลุ่มเป้าหมายที่เป็นคณะทำงานระดับจังหวัด ร่วมประชุมออนไลน์
          กลุ่มเป้าหมาที่เป็นคณะทำงานระดับกองทุน และผู้เก็บข้อมุลกองทุนละ 5 คน ให้รวมกันที่กองทุนภายใต้การอำนวยความสะดวกของคณะทำงานระดับกองทุน จากภาพออนไล์จะเป้นการเรียนรู้ผ่านจอโปรเจคเตอร์ โดยมีการลงทะเบียนการประชุมไว้เป้นหลักฐานอีกส่วนหนึ่ง เวลา 12.00-13.00 น พักกลางวัน 1 ชั่วโมง เวลา 13.00- 15.00 น เรียนรู้การเก็บข้อมุลเช่นเดียวกับช่วงเช้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงาน เข้าประชุม 22/22คน
ผู้เก็บข้อมุล 14ตำบล เข้าร่วมประชุม 70 คน

 

92 0

12. การประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล โดยใช้ระบบซูม จ.ปัตตานี (กองทุนสมัครใจ)

วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงกองทุน จำนวน 30 คน  จากพี่เลี้ยงกองทุนตำบลจากอำเภอหนองจิก และ อ.ยะหริ่ง  จังหวัดปัตตานี ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล โดยใช้ระบบซูม จ.ปัตตานี โดยมีรายละเอียดของการประชุม สรุป มีรายละเอียดดังนี้ 1.จังหวัดให้ค่าตอบแทนสำหรับการลงสำรวจแบบสอบถามกองทุนละ 1,500 บาท 2.ให้สำรวจแบบสอบถามประเภทบุคคล 200 ตัวอย่าง 3.ให้สำรวจแบบสอบถามประเภทครัวเรือน 100 ตัวอย่าง 3.และให้สำรวจแบบสอบถามประเภทชุมชน 1 ( จนท.กองทุนกรอกเอง ) 4.สำรวจให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 มกราคม 2566 5.ค่าใช้จ่าย 1,500 บาทให้พี่เลี้ยงบริหารจัดการเอง****โดยมีตัวอย่างการบริหารจากทีมพี่เลี้ยงจังหวัดดังนี้ เพื่อเป็นตุ๊กตา**โดยใช้ อสม.จำนวน 5 คน สำรวจ  โดยให้สำรวจ 1.ประเภทบุคคล ๆละ 40 ตัวอย่าง / อสม. 1 คน 2.ประเภทชุมชน คนละ 20 ตัวอย่าง /อสม. 1 คน   อสม.1คน จะได้ค่าตอบแทนคนละ 240 บ.* 5 คน  เป็นเงิน 1200 บ. ส่วนอีก 300 บ.ให้ จนท.คีย์แบบสำรวจประเภทชุมชน 1 คน *** หมายเหตุ  *** ประเภทบุคคลมี  24  ตัวชี้วัด ***ประเภทครัวเรือนมี 5  ตัวชี้วัด ***ประเภทชุมชนมี  52  ตัวชี้วัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงกองทุนตำบลทุกคน มีความเข้าใจรายละเอียดของการสำรวจแบบสอบถาม และสามารถบริหารจัดการ การดำเนินงานภายในกองทุนตัวเองได้ พร้อมสำรวจแบบสอบถามให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 มกราคม 2566

 

14 0

13. การอบรมการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน ของอ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน ของอ.หนองจิก  และ อ.ยะหริ่ง (กองทุนศูนย์เรียนรู้ ) ณ ห้องประชุม รพ.สต.รูสะมิแล ต.รูสะมิแล อ.เมือง จ.ปัตตานี จำนวน 25 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน ของอ.หนองจิก  และ อ.ยะหริ่ง (กองทุนศูนย์เรียนรู้ ) สามารถถ่ายทอดการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ให้กับ อสม.หรือ ผู้สำรวจข้อมูลสุขภาพได้

 

30 0

14. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองทราย

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบล อบต.คลองทราย เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 20 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
    • การคัดแยกขยะโดยใช้หลัก 3Rs องค์การบริหารส่วนตำบลคลองทราย  30,000.00
    • โครงการชุมชนปลอดภัยไร้ควันบุหรี่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำชิง 40,000.00
    • โครงการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำชิง 20,000.00
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กอ้วนและเด็กภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนบ้านลำชิง 40,000.00
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเด็กอ้วนและเด็กภาวะทุพโภชนาการ โรงเรียนวัดลำพดจินดาราม 30,000.00
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียนให้มีภาวะโภชนาการที่ดี โรงเรียนบ้านลำชิง 10,000.00
    • โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2566 ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำชิง 12,000.00
    • โครงการร่วมสร้างความสุข ลดความเครียดด้วยพลังบวก ชมรม อสม.ตำบลคลองทราย 45,000.00
    • โครงการโรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียนบ้านโต้นนท์ 10,000.00
    • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกาย ชมรม อสม.ตำบลคลองทราย 40,000.00
    • ผู้สูงวัย สุขภาพกาย จิตดี ชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำชิง 30,000.00
    • โรงเรียนปลอดขยะ โรงเรียนวัดลำพดจินดาราม 10,000.00
    • ส่งเสริมวินัยจราจร โรงเรียนบ้านโต้นนท์ 10,000.00
    • ขับขี่ปลอดภัยเมื่อสวมใส่หมวกกันน็อค ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.คลองทราย 20,000.00
    • ขับขี่ปลอดภัยเมื่อสวมใส่หมวกกันน็อค ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโต้นนท์ 20,000.00
    • โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านสุขภาพในชีวิตประจำวันสำหรับเด็กปฐมวัย ศพด. 30,000.00

4 สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

30 0

15. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.วังใหญ่

วันที่ 13 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบล อบต.วังใหญ่ เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ   แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
  ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
  มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 18 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
  • โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นงานสาธารณสุข สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลวังใหญ่ 30,000.00 บาท

4 สอการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

30 0

16. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/ อบต.สะกอม

วันที่ 17 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบล อบต.สะกอม เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 31 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
    • โครงการชุมชนมีส่วนร่วมดูแลสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชนสีเขียว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าแมงลัก 24,000.00
    • โครงการ ลดขยะ ลดโรคใส่ใจสุขภาพและสิ่งแวดล้อม นางอุมาพร ซาหีมซา 25,900.00
    • โครงการขยับกายวันละนิดเพื่อชีวิตสดใส โรงเรียนบ้านม่วงถ้ำ 25,500.00
    • โครงการฟุตบอลเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชน ชมรมฟุตบอลล่าฝันเอฟซีบ้านสวรรค์ 20,000.00
    • โครงการโภชนาการเป็นใจ สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ชมรมผู้สูงอายุรพสต.สะกอม 22,850.00
    • โครงการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ในสถานศึกษา นางสาวพลอยฝน จิวัฒนาชวลิตกุลโรงเรียนบ้านปากบางสะกอม 27,600.00
    • โครงการลดขยะลดโรคใส่ใจสิ่งแวดล้อม โรงเรียนบ้านแซะ โรงเรียนบ้านแซะ 23,260.00
    • โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ห่างไกลยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล ชมรมเอฟซีล่าฝัน 30,000.00
    • โครงการออกกำลังกายด้วยแอโรบิค และกลองยาวเพื่อสุขภาพในชุมชน ชมรมกลองยาวแอโรบิค หมู่ที่ 6 20,000.00
    • โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ "ขยับกาย สบายชีวี ด้วยเสียงเพลง" 19,800.00
    • โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ขยับกาย สบายชีวี ด้วยวิธีการเต้นแอโรบิค ชมรมคนต่างวัยใส่ใจสุขภาพ 18,720.00
    • โครงการอาหารปลอดภัย คนม่วงถ้ำใส่ใจสุขภาพ 12,460.00
    • โครงการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ในสถานศึกษาโรงเรียนบ้านปากบางสะกอม โรงเรียนบ้านปากบางสะกอม 25,000.00
    • โครงการสร้างเสริมสุขภาพอนามัย โรงเรียนบ้านเขาน้อย 24,000.00
    • โครงการออกกำลังกาย รำกลองยาวเพื่อสุขภาพ โรงเรียนวัดคงคาสวัสดิ์ โรงเรียนวัดคงคาสวัสดิ์ 25,900.00
    • โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยการเต้นแอโรบิค โรงเรียนบ้านสวรรค์ โรงเรียนบ้านสวรรค์ 10,000.00

4 สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

17. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.นาหม่อม

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบล อบต.นาหม่อม เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 31 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
    • โครงการร้านขายของชำปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาหม่อม 20,600.00
    • โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพรและการออกกำลังกายด้วยฤาษีดัดตน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาหม่อม 16,000.00
    • โครงการส่งเสริมการปลอดบุหรี่ในชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านควนจง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาหม่อม 63,500.00
    • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยแอโรบิค ชีวิตสดใสไร้พุงไร้โรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาหม่อม 31,000.00
    • โครงการส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหาร ประจำปี 2566 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาหม่อม 26,500.00
    • โครงการขยับกาย สบายชีวี ด้วยวิถีโยคะ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งโตนด 22,000.00
    • โครงการคีตะมวยไทยแอโรบิค โรงเรียนวัดนาหม่อม 13,957.00
    • โครงการวู๊ดบอลสร้างสุขภาพ ชมรมวู๊ดบอล อ.นาหม่อม 38,300.00
    • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กลุ่มสตรีสามวัยใส่ใจสุขภาพ 40,260.00
    • โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน บ้านควนจง หมู่ที่ 4 คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านควนจง 17,450.00
    • โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยรำวงย้อนยุค กลุ่มเต้นเพื่อสุขภาพบ้านทุ่งฆ้อ 19,750.00
    • โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยแอโรบิคและซูมบ้าแดนซ์ กลุ่มเต้นเพื่อสุขภาพบ้านทุ่งฆ้อ 20,450.00
    • โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยแอโรบิคและซูมบ้าแดนซ์ กลุ่มศาลารวมใจ 20,450.00
    • โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน โรงเรียนวัดนาหม่อม 8,000.00
    • โครงการการประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนจง 15,000.00

4 สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

18. ประชุมภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนประเด็นร่วม พชอ. MoU จ.พัทลุง

วันที่ 23 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

0830-09.00 น -ลงทะเบียน
09.00-09.30 น. - ที่ประชุมพร้อม
                        -นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นกิจกรรมทางกาย กองทุนต้นแบบ                         -ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร ชี้แจงระละเอียดโครงการ                         -พิธีลงนาม(เฉพาะของอำเภอศรีนครินทร์) 9.30 -10.30 น. -ชี้แจงรายละเอียดโครงการ ดร.กุลทัต หงส์ชยางกูร (ผอ.สนส.ม.อ.) 10.30-10.45 น. -รับประทานอาหารว่างในห้องประชุม จท.โรงแรม 10.45 -11.00 น -คณะทำงานประเทือง  อมรวิริยะชัย  รายงานความเป็นมาของโครงการ
11.00-11.30 น. -ทิศทางและความเชื่อมโยงการสร้างเสริมสุขภาพ ระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล โดยนายแพทย์อภิญญา  เพชรศรี  แพทยเชี่ยวชาญ(เวชกรรมป้องกัน) ผู้แทนนายแพทย์
                        สาธารณสุขจังหวัด
11.30-12.00 น. -พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ กองทุน+พชอ+สนส+ปสชส  โดยมีประธานผู้แทนนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด เป็นประธาน                         -นายสุวรรณี  ยาชะรัด นายกเทษมนตรีเทศบาลตำบลชะรัด เป็นผู้แทนผู้บริหารท้องถิ่นอ่านบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ
12.00-13.00 น. -รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-13.30 น. -นำเสนอสื่อการสร้างเสริมสุขภาพประเด็นการจัดการขยะ กองทุนต้นแบบ (กองทุนตำบลชะรัด)
13.30-14.30 น. -ชวนคิดชวนคุย มุมมองการพัฒนากลไกระดับตำบล ระดับอำเภอ กับการสร้างเสริมสุขภาพแบบมีส่วนร่วม โดยนายสมนึก  นุ่นด้วงและนายสุวรรณลี  ยาชะรัด 14.30-14.45 น. -รับประทานอาหารว่างในห้องประชุม 14.15-15.00 น -สรุปอภิปราย/ขอบคุณ/และปิดการประชุม/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พชอ.และผู้บริหารท้องถิ่นได้รู้ เข้าใจและร่วมขับเคลื่อนโครงการตามแผน
  2. พชอ.และผู้บริหารท้องถิ่น ได้ร่วมลงนามพร้อมกับภาคีสนับสนุน(สปสช เขตและ สนส มอ.) เพื่อร่วมขับเคลื่อนการบูรณาการกลไกระดับตำบล และ ระดับอำเภอ
  3. ได้บันทึกข้อตกลงความร่วมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
  4. ภาคีสุขภาพอื่นที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมรับรู้การขับเคลื่อนโครงการในพื้นที่ อำเภอศูนย์เรียนรู้การพัฒนากลไก

 

58 0

19. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.พิจิตร

วันที่ 24 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบลพิจิตร เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัตติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
  • โครงการปอดสะอาด ปลอดบุหรี่ อบต.พิจิตร 30,000.00
  • โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ของตำบลพิจิตร ปี 2566 ชมรมอสม.ตำบลพิจิตร 50,000.00
  • โครงการฝึกอบรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในวัยผู้สูงอายุ ตามแบบนิวนอร์มอล ชมรมผู้สูงอายุตำบลพิจิตร 25,000.00
  • โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันอันตรายจากสารเคมีในอาหารกลุ่มเกษตรกรตำบลพิจิตร ประจำปี 2566 ชมรมอสม.ตำบลพิจิตร 15,000.00
  • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอล ร.ร.วัดเนินพิจิตร 15,000.00
  • โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยเติบโตสมวัยสมส่วนสุขภาพแข็งแรง ร.ร.วัดพรหมประดิษฐ์ 15,000.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย ขมรมอสม.ตำบลพิจิตร 25,000.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ สร้างจิตสดใส ร่างกายแข็งแรง ชมรมผู้สูงอายุตำบลพิจิตร 36,000.00
  • โครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงหมู่ที่ 3 บ้านโคกพยอม ประจำปี 2566 อสม.หมู่ที่ 3 20,000.00
  • โครงการส่งเสริมพัฒนาการหนูน้อยเติบโตสมวัยสมส่วนสุขภาพแข็งแรง ศพด. 30,000.00

4 สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

20. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองหรัง

วันที่ 25 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบลคลองหรัง เปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ 09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด
ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน 12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร 13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 20 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
  • โครงการบริหารจัดการขยะชุมชนโดยการคัดแยกที่ต้นทาง องค์การบริหารส่วนตำบลคลองหรัง 34,032.00
  • โครงการผู้บริโภคอุ่นใจ อาหารปลอดภัย ภาคีเครือข่าย ยั่งยืน รพ.สต.คลองหรัง 15,000.00
  • โครงการผู้สูงวัย ใส่ใจสุขภาพ ด้วยเต้นแอโรบิค กลุ่มแอโรบิค หมู่ที่ 5 บ้านต้นปริง 11,600.00
  • โครงการฟันสวยยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพ โรงเรียนบ้านต้นปริง 11,700.00
  • โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยและการบริโภคผักเพื่อสุขภาพ ศูนย์บริการ และถ่ายทอดเทคโนโลยี การเกษตรประจำตำบลคลองหรัง 34,432.00
  • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพด้วยกีฬาฟุตบอล ประจำปีงบประมาณ 2566 ศูนย์กีฬาตำบลคลองหรัง 25,582.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพเพื่อแก้ปัญหาทุพโภชนาการ ด้วยอาหารเช้า โรงเรียนวัดแม่เปียะ 62,400.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย สร้างจิตสดใส ร่างกายแข็งแรง ชมรมผู้สูงอายุตำบลคลองหรัง 15,630.00
  • โครงการอาหารเช้า เพื่อน้องทุพโภชนาการและด้อยโอกาส อิ่มท้อง สมองแจ่มใส ประจำปีงบประมาณ 2566 โรงเรียนบ้านต้นปริง 48,000.00
  • โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลคลองหรัง 22,152.00

4 สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

21. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.ทุ่งขมิ้น

วันที่ 27 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน

09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบลทุ่งขมิ้นเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน
มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน

12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร

13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 30 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
  • โครงการเปตองเพื่อสุขภาพและป้องกันยาเสพติด ด.ต.สมภพ กุลสวรรค์ 44,800.00
  • โครงการผู้สูงวัยสุขภาพจิตสดใสสุขภาพกายแข็งแรง ชมรมผู้สูงอายุตำบลทุ่งขมิ้น 55,560.00
  • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตซอลเพื่อสุขภาพ ชมรมกีฬาฟุตซอล(นายปาณฐี ยกศิริ) 16,900.00
  • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอล ชมรมกีฬาสมิหลาทุ่งขมิ้น 25,200.00
  • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยไลน์แดนซ์ ชมรมไลน์แดนซ์ตำบลทุ่งขมิ้น 27,900.00
  • โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง กศน.ตำบลทุ่งขมิ้น 20,000.00
  • โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยกีฬาเพื่อพัฒนาสุขภาพ ศูนย์กีฬาตำบลทุ่งขมิ้น 24,190.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใจ ห่างไกลโรค นางสาววรรณวิภา สินนุกูล 29,020.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพโภชนาการ และออกกำลังกายด้วย ฮูล่าฮูป ลดอ้วนลดพุง ในชุมชนหมู่ที่ 2 อสม.หมู่ที่ 2 ตำบลทุ่งขมิ้น 35,940.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพโภชนาการ และออกกำลังกายด้วย ฮูล่าฮูป ลดอ้วนลดพุง ในชุมชนหมู่ที่ 3 อสม.หมู่ที่ 3 ตำบลทุ่งขมิ้น 33,180.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพโภชนาการ และออกกำลังกายด้วย ฮูล่าฮูป ลดอ้วนลดพุง ในชุมชนหมู่ที่ 4 อสม.หมู่ที่ 4 ตำบลทุ่งขมิ้น 39,620.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพโภชนาการ และออกกำลังกายด้วย ฮูล่าฮูป ลดอ้วนลดพุง ในชุมชนหมู่ที่ 5 อสม.หมู่ที่ 5 ตำบลทุ่งขมิ้น 30,420.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพโภชนาการ และออกกำลังกายด้วย ฮูล่าฮูป ลดอ้วนลดพุง ในชุมชนหมู่ที่ 6 อสม.หมู่ที่ 6 ตำบลทุ่งขมิ้น 39,620.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพโภชนาการ และออกกำลังกายด้วย ฮูล่าฮูป ลดอ้วนลดพุง ในชุมชนหมู่ที่ 7 อสม.หมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งขมิ้น 36,860.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพโภชนาการและออกกำลังกายด้วย ฮูล่าฮูป ลดอ้วนลดพุงในชุมชนหมู่ที่ 1 อสม.หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งขมิ้น 31,800.00
  • โครงการส่งเสริมสุขภาพและจิตใจของสมาชิกชมรมทหารผ่านศึกตำบลทุ่งขมิ้น ชมรมทหารผ่านศึกตำบลทุ่งขมิ้น 6,366.00
  • โครงการสร้างความตระหนักในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และการติดสารเสพติดแก่เยาวชน กศน.ตำบลทุ่งขมิ้น 20,000.00
  • โครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง นางอมลวรรณ กนกวัชระวงศ์(รร.วัดโพธาราม) 46,800.00

4 สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

22. จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.แค

วันที่ 30 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน

09.00-09.30 น. ประธานกองทุนตำบลแคเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ

09.30-12.00 น. ทบทวนและปรับปรุงแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินให้สอดคลองกับโครงการสุขภาวะ ฯ แจ้งกองทุนนำร่องดำเนินการแผน 8 ประเด็นได้แก่ แผน อาหาร กิจจกรรมทางกาย สุรา ยาสูบ สารเสพติด ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัติเหตุ สุขภาพจิด ผ่านระบบ จำนวน 2 แผน มีโครงการที่เขียนผ่านระบบเว็บของกองทุนอย่างน้อย 2 โครงการ ต่อ1 กองทุน

12.00-13.00 น. รับประทานอาหาร

13.00-15.30 น. สอนการเขียนโครงการและการใช้เวปไซด์กองทุนตำบลhttps://localfund.happynetwork.org/

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีผู้เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม 21 คน
  2. มีการปรับปรุงแผนการเงินและสุขภาพกองทุนสอดคล้องกับโครงการสุขภาวะ จำนวน ฯ
  • โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขรพ.สต.แค 34,050.00
  • โครงการครอบครัวสัมพันธ์ เน้นกิจกรรมทางกาย คณะกรรมการหมู่บ้านแคเหนือ ม.2 36,000.00
  • โครงการครัวเรือนต้นแบบในการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน หมู่ที่ 1 คณะกรรมการหมู่บ้านโคกยาง ม.1 4,500.00
  • โครงการครัวเรือนต้นแบบในการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน หมู่ที่ 2 คณะกรรมการหมู่บ้านแคเหนือ ม.2 4,500.00
  • โครงการครัวเรือนต้นแบบในการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน หมู่ที่ 3 คณะกรรมการหมู่บ้านแคใต้ ม.3 4,500.00
  • โครงการครัวเรือนต้นแบบในการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน หมู่ที่ 4 คณะกรรมการหมู่บ้านพะเนียด ม.4 4,500.00
  • โครงการครัวเรือนต้นแบบในการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน หมู่ที่ 5 คณะกรรมการหมู่บ้านทุ่งครก ม.5 4,500.00
  • โครงการครัวเรือนต้นแบบในการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน หมู่ที่ 6 คณะกรรมการหมู่บ้านคูนายสังข์ ม.6 4,500.00
  • โครงการครัวเรือนต้นแบบในการบริหารจัดการขยะเปียกในครัวเรือน หมู่ที่ 7 คณะกรรมการหมู่บ้านสำนักยอ ม.7 4,500.00
  • โครงการชุมชนก้าวไกล ไปกับงานคุ้มครองผู้บริโภค ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขรพ.สต.แค 28,485.00
  • โครงการชุมชนปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพผู้บริโภค ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขรพ.สต.คูนายสังข์ 22,742.00
  • โครงการปฏิบัติการเชิงรุก สร้างสุขและป้องกันโรคจากสารตกค้าง ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขรพ.สต.คูนายสังข์ 15,000.00
  • โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกายและจิตชมรมผู้สูงอายุตำบลแค ประจำปี 2566 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.แค 15,000.00
  • โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพกายและจิตชมรมผู้สูงอายุบ้านคูนายสังข์ ประจำปี 2566 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.คูนายสังข์ 15,000.00
  • โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย คน 3 วัย โดยใช้ไม้พลองและยางยืด คณะกรรมการหมู่บ้านแคเหนือ ม.2 27,000.00
  • โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยการรณรงค์การเดินและปั่นจักยานไปมัสยิด มัสยิดมะวาห์ 20,000.00
  • โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กเล็ก โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดคูแค 10,000.00
  • โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กเล็ก โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดคูนายสังข์ 10,000.00
  1. สอนการใช้เวปไซด์นการเขียนโครงการ ฯ แก่ผู้ประสงค์จะเขียนโครงการเพื่อขอรับทุนจากกองทุนตำบล ได้อย่างถูกต้องและเข้าใจ

 

32 0

23. จังหวัดสงขลา ประชุมเชิงปฏิบัตการณ์อาสาสมัครในการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพด้วยระบบGoogle Form ด้วยโทรศัพท์มือถือ

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สถานที่ประชุมเชิงปฏิบัติการณ์ ณ ห้องประชุมที่ว่าการอำเภอนาหม่อม อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

  • ความสำคัญของสานการณ์สุขภาพ
  • การค้นหาปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
  • การเก็บข้อมูลสถานการณ์ด้านสุขภาพ ด้วยระบบ Google Form ด้วยโทรศัพท์มือถือ
  • การลงโปรแกรมกองทุนตำบลในโทรศัพท์
  • กองทุนให้ชื่อสมาชิกและรหัสผ่านกองทุนเพื่อเก็บข้อมูล ฯ
  • การตอบแบบสอบถาม Google Form แต่กลุ่ม แต่ละข้อ อย่างละเอียด ทั้งระดับบุคคล จำนวน 200 ชุด ระดับครอบครัว จำนวน 100 ชุด และระดับชุมชน 1 ชุด
  • ฝึกปฏิบัติจริง
  • จบการประชุมชี้แจง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการณ์ 71 คน

  • กองทุนสามารถออกรหัสให้สมาชิกและรหัสผ่านแก่อาสาสมัครเก็บข้อมูลได้ถูกต้อง

  • อาสาสมัครเก็บข้อมูลเข้าใจและเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพด้วยระบบGoogle Form ด้วยโทรศัพท์มือถือ ได้

 

71 0

24. อบรมการเก็บข้อมูลด้วยระบบCoogle Form จังหวัดตรัง

วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่และอาสาสมัคร  จำนวน  5  กองทุนได้ลงพื้นที่แต่ละชุมชนแต่ละหมู่บ้าน  เพื่อเก็บข้อมุลสถานการณ์สุขภาพชุมชน  ตามแบบGoogle  From  โดยเก็บข้อมุลสุขภาพ ระดับบุคคล  ระดับครอบครัว  ระดับชุมชน  ทั้ง  5  กองทุน  ได้แก่  กองทุนเทศบาลตำบลโคกหล่อ  กองทุนเทศบาลตำบลย่านตาขาว  กองทุนเทศบาลตำบลนาวง  กองทุน  อบต.หาดสำราญ  กองทุน  อบต.นาโยงเหนือ  ในระหว่างวันที่  8  -  19  กุมภาพันธ์  2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาว จัดเก็บข้อมูลทางด้านสถานการณ์สุขภาพ  ด้วยแบบGoogle From  ระดับชุมชน จำนวน 1 ชุด ระดับบุคคล จำนวน  201  ชุด ระดับ ครอบครัว  จำนวน 100 ชุด 2.กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.หาดสำราญ  จัดเก็บข้อมูลทางด้านสถานการณ์สุขภาพ ด้วยแบบ Google From  ระดับชุมชม จำนวน 1 ชุด ระดับบุคคล จำนวน 200 ชุด  ระดับ ครอบครัว จำนวน 100 ชุด 3กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาโยงเหนือ  จัดเก็บข้อมูลทางด้านสถานการณ์สุขภาพ ด้วยแบบGOOgle From ระดับชุมชน จำนวน 1 ชุด ระดับบุคล  จำนวน    201  ชุด  ระดับครอบครัว จำนวน  105    ชุด 4.กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลโคกหล่อ จัดเก็บข้อมูลทางด้านสถานการณ์สุขภาพ ด้วยแบบGoogle From ระดับชุมชน จำนวน 1 ชุด ระดับบุคคล จำนวน 200  ชุด  ระดับครอบครัว  จำนวน  100  ชุด 5.กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลนาวง จัดเก็บข้อมูลทางด้านสถานการณ์สุขภาพ ด้วยแบบGoogle From ระดับชุมชน จำนวน 1 ชุด ระดับบุคลล จำนวน  240    ชุด  ระดับ ครอบครัว  จำนวน    185  ชุด

 

22 0

25. จังหวัดสงขลา ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพด้วยระบบGoogle Form 10 กองทุน

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่กองทุนและอาสาสมัคร จำนวน 10 กองทุน คือ ทต.นาทับ อบต.คลองเปียะ อบต.แค อบต.นาหม่อม อบต.คลองหรัง อบต.พิจิตร อบต.สะกอม อบต.วังใหญ่ และอบต.คลองทราย ลงพื้นที่ในแต่ละหมู่บ้านเพื่อเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพชุมชน ตามแบบGoogle formเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ระดับบุคคล ระดับครอบครัวและระดับชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กองทุน ฯ ทต.นาทับ    ข้อมูลบุคคล 242 ชุด ข้อมูลครอบครัว 123 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุน ฯ อบต.คลองเปียะ ข้อมูลบุคคล 253 ชุด ข้อมูลครอบครัว 113 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุนฯ อบต.แค      ข้อมูลบุคคล 244 ชุด ข้อมูลครอบครัว 100 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุน ฯ อบต.นาหม่อม  ข้อมูลบุคคล 238 ชุด ข้อมูลครอบครัว 115 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุน ฯ อบต.คลองหรัง  ข้อมูลบุคคล 275 ชุด ข้อมูลครอบครัว 110 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุน ฯ อบต.ทุ่งขมิ้น    ข้อมูลบุคคล 247 ชุด ข้อมูลครอบครัว 124 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุน ฯ อบต.พิจิตร    ข้อมูลบุคคล 317 ชุด ข้อมูลครอบครัว 107 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุน ฯ อบต.สะกอม    ข้อมูลบุคคล 321 ชุด ข้อมูลครอบครัว 112 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุนฯ อบต.วังใหญ่    ข้อมูลบุคคล 270 ชุด ข้อมูลครอบครัว 110 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
  • กองทุนฯ อบต.คลองทราย  ข้อมูลบุคคล 234 ชุด ข้อมูลครอบครัว 105 ชุด และข้อมูลชุมชน 1 ชุด

 

10 0

26. การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น(ครั้งที่ 1) จ.พัทลุง

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานกองทุนตำบล ดำเนินการจัดเก็บข้อมุลสถานการณ์สุขภาพ
การเก็บข้อมูลสถานการณ์ชุมชน 9 ประเด็น 3 ระดับ (ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม -15 กุมภาพันธุ์ 2566) เริ่มเก็บวันที่ 15/01/66 ดังนี้
1. ข้อมูลชุมชน 1 ชุดให้คณะทำงานกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน)รับผิดชอบ.
2. ข้อมูลครัวเรือน 200 ชุดให้กระจายทุกหมู่บ้านในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน
3. ข้อมูลบุคคลบ้านละ 1-2 คน จะได้ข้อมูลบุคคล 200-400 คน ทำต่อเนื่องจากข้อมูลครัวเรือน
4. ใน 1 ชุดข้อมูล จะประกอบด้วยข้อมูลครัวเรือน 5 คำถาม และข้อมูลบุคคล 24 คำถาม
พัทลุงและ จ่ายเป็นค่าตอบแทนคณะทำงาน กองทุนละ 2400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลำดับ กองทุนหลักประกันสุขภาพ ชุมชน ครอบครัว บุคคล
1 เทศบาลตำบลชุมพล      1      214 217
2 เทศบาลตำบลอ่างทอง      1      200 225
3 เทศบาลตำบลลำสินธุ์      1      204 208
4 เทศบาลตำบลบ้านนา      1      208 259
5 เทศบาลตำบลกงกรา      1      214 302
6 เทศบาลตำบลสมหวัง      1      215 429
7 เทศบาลตำบลชะรัด      1      240 460
8 เทศบาลตำบลคลองทรายขาว  1      212 201
9 อบต.คลองเฉลิม          1      203 225
10 เทศบาลตำบลแพรกหา      1      221 316
11 เทศบาลตำบลบ้านสวน      1      210 352
12 เทศบาลตำบลนาขยาด      1      201 202
13 อบต.ชะมวง          1      211 401
14 อบต.พนมวังก์          1      218 240

 

14 0

27. จังหวดสงขลา บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU.) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.)และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นหรือท้องที่

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วม MOU. ประกอบด้วย พชอ.นาหม่อมและกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ 4 กองทุน ดังนี้

  • ดร.สุวภาคย์ เบญจธนวัฒน์ และทีมงาน จากสนส.มอ. จำนวน 3 คน
  • ประธานคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) นาหม่อมและคณะกรรมการ จำนวน 14 คน
  • ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลนาหม่อมและคณะกรรมการกองทุน จำนวน 5 คน
  • ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลนาคลองหรังและคณะกรรมการกองทุน จำนวน 5 คน
  • ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งขมิ้นและคณะกรรมการกองทุน จำนวน 5 คน
  • ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลพิจิตรและคณะกรรมการกองทุน จำนวน 4 คน
  • คณะทำงานโครงการ
    รวม 36 คน

 

32 0

28. ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่ 2 จ.พัทลุง

วันที่ 17 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้เข้าประชุมลงทะเบียนเข้าประชุมจำนวน 16 คน นายสมนึก นุ่นด้วง ผู้ประสานงานหลัก ได้ดำเนินการประชุมตามวาระดังต่อไปนี้

วาระที่ 1 รายการแจ้งเพื่อทราบ การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่กองทุนทั้ง 14 กองทุนตามโครงการฯ โดยที่สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะได้มีประกาศแต่งตั้งคณะทำงานระดับตำบล(พี่เลี้ยงกองทุน) ให้ครอบคลุม และจะได้มีการพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยง ให้เป็นกลไกระดับตำบลในการส่งเสริมการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพโดยใช้แผนงาน /โครงการ และเว็บกองทุนตำบลภาคใต้เป้นเครื่องมือ การจัดเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพเพื่อการทำแผนกองทุน จังหวัดพัทลุงเป็นจังหวัดที่จัดเก็บข้อมูลได้เสร็จตามเกณฑ์เป็นจังหวัดแรกของทุกเขต ซึ่งบริหารจัดการการเก็บข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่กองทุน(พี่เลี้ยงระดับตำบล)ได้ข้อมูลครัวเรือนไม่น้อยกว่า 200 ข้อมูลบุคคลไม่น้อยกว่า200 และข้อมูลชุมชน 1 ชุด
การลงนามข้อตกลงความร่วมมือของ พอช.กงหรา และ พชอ. ศรีนครินทร์ ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว จึงได้มอบแบบบันทึกการลงนามให้กับเจ้าหน้าที่ทุกกองทุน สสอ.ท้องถิ่นอำเภอ และนายอำเภอ มอบหมายเจ้าหน้าที่กองทุนกงหราเป็นผู้นำส่ง  ส่วนของอำเภอศรีนครินทร์ มอบผู้ประสานงานระดับอำเภอ จิราพร บุญมาก เป็นผู้นำส่ง

วาระที่ 2 รายงานความก้าวหน้าโครงการ
2.1 ความก้าวหน้าตามบันไดผลลัพธ์โครงการ ขณะนี้ยังอยู่ที่บันไดขันที่ 1 กล่าวคือ มีกลไกร่วม พชอ.+กองทุนตำบล ตาม MoU พชอ. ศรีนครินทร์มีการกำหนดประเด็นกิจกรรมทางกายเป็นประเด็นร่วม ในขณะที่ พชอ. กงหรายังไม่ได้มีการประชุม พอช. จึงยังไม่มีประเด็นร่วมขับเคลื่อน
แต่ทั้ง 14 กองทุนได้มีการเก็บข้อมูลเพื่อการทำแผนเสร็จครบตามจำนวน ซึงวันนี้จะได้มีการแนะนำสร้างความเข้าใจการตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล     2.2  ความก้าวหน้าของการบริหารกองทุน

วาระที่ 3 ตรวจสอบข้อมูล 9 ประเด็น 3 ระดับ รายกองทุน และการนำใช้ข้อมูลเพื่อจัดทำแผน
ปลัดธมล มงคลศิลป์ พี่เลี้ยงระดับจังหวัด ชี้แจงสร้างความเข้าใจการเข้าถึงข้อมูลแบบสอบถามของทุกกองทุนซึ่งสามารถเช็คได้จาก 2 ที่ดังนี้ค่ะ (รายละเอียดข้อมูลที่เข้าถึงได้ตามใบแนบ) 1. https://localfund.happynetwork.org/qt/issue/area?debug=yes (เช็คได้เฉพาะข้อมูลชุมชน) 2. https://localfund.happynetwork.org/fund/345/eval (ค้นหากองทุนตนเอง ไปที่หน้ารายงานเช็คได้ทุกตัวชี้วัด การเข้าถึงข้อมูลตัวชี้วัด (เลือกกองทุนของฉัน >ตาราง 9 ช่อง >เลือกชุดโครงการ>เลือกโครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน (13 เขต) ปี 2565> เลือกตรวจสอบข้อมูลสุขภาพ> เลือกตามลำดับ

วาระที่ 4 อื่นๆ
พี่เลี้ยงกองทุนทบทวนเรียนรู้การใช้เว็บกองทุนตำบลภาคใต้ทุกเมนุโดยปลัดธมล มงคลศิลป์

หมายเหตุ รายละเอียดตามสรุปรายงานการประชุม แนบไฟล์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานเข้าประชุม 16 คน  ขาดประชุม 6 คน
ผู้เข้าประชุมได้รับรุ้ความก้าวหน้าโครงการ
และกำหนดวันจัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏฺบัติการทำแผนกองทุน ในวันที่ 19 เมษายน 2566 ณ รร.ชัยคณาธานี

 

18 0

29. อบรมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นจากพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับตำบล อ.หนองจิก และอ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

วันที่ 23 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นของพี่เลี้ยงระดับตำบล     ( พี่เลี่ยงกองทุนตำบล +ผู้รับผิดอบงานกองทุน )
  โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแบบสอบถามพร้อมแก้ไขข้อมูลที่อาจเกิดความคลาดเคลื่อน ให้เกิดความสมบูรณ์และเรียบร้อย พร้อมนำข้อมูลดังกล่าวมาลงแผนงาน 10 ประเด็นต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เลี่ยงกองทุนตำบลและผู้รับผิดอบงานกองทุน  มีความเข้าใจรายละเอียดการจัดกิจกรรมและสามารถดำเนินการแก้ไขข้อมูลจนสมบูรณ์เรียบร้อย พร้อมลงแผนงาน 10 ประเด็นจนครบทุกกองทุน  พร้อมกำหนดวัน เวลา ในการดำเนินงานกิจกรรมที่ 2 การประชุมเพื่อพัฒนาโครงการพร้อมประเมินศักยภาพพี่เลี้ยงกองทุน ( กก.กองทุน+ผู้รับทุน ) ดังนี้     - อำเภอหนองจิกดำเนินการ  รุ่นที่ 1 วันที่ 3-4 เมษายน  2566
                                        รุ่นที่ 2 วันที่ 10-11  เมษายน  2566 ณ วิทยาลัยกาญจนาภิเษก     - อำเภอยะหริ่งดำเนินการ    รุ่นที่ 1 วันที่ 4-5  เมษายน  2566
                                        รุ่นที่ 2 วันที่ 18-19  เมษายน  2566  ณ เทศบาลตำบลยะหริ่ง     หลังการอบรม พี่เลี้ยงจังหวัดในแต่ละอำเภอ รวบรวมเอกสารหลักฐาน  ส่งให้นายมะรอกี  เวาะเลง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.ใบลงทะเบียนของการจัดกิจกรรม  2.ใบสำคัญรับเงิน พร้อมสำเนาบัตร ผู้เข้าอบรม เพื่อส่งเอกสารให้ สป.สช.เขต12 ต่อไป

 

52 0

30. อบรมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นจากพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับตำบล อ.เมือง จ.ปัตตานี

วันที่ 23 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นจากพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับตำบล  อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.กิจกรรมประชุมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นของพี่เลี้ยงระดับตำบล     ( พี่เลี่ยงกองทุนตำบล +ผู้รับผิดอบงานกองทุน )
  โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแบบสอบถามพร้อมแก้ไขข้อมูลที่อาจเกิดความคลาดเคลื่อน ให้เกิดความสมบูรณ์และเรียบร้อย พร้อมนำข้อมูลดังกล่าวมาลงแผนงาน 10 ประเด็นต่อไป         - อำเภอเมืองปัตตานีดำเนินการ  รุ่นที่ 1 วันที่ 10-11  เมษายน  2566
                                                  รุ่นที่ 2 วันที่ 26-27  เมษายน  2566  ณ ห้องประชุม กศน. อำเภอเมืองปัตตานี หลังการอบรม พี่เลี้ยงจังหวัดในแต่ละอำเภอ รวบรวมเอกสารหลักฐาน  ส่งให้นายมะรอกี  เวาะเลง ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.ใบลงทะเบียนของการจัดกิจกรรม  2.ใบสำคัญรับเงิน พร้อมสำเนาบัตร ผู้เข้าอบรม เพื่อส่งเอกสารให้ สป.สช.เขต12 ต่อไป

 

24 0

31. ประชุมเพื่อพัฒนาแผนงานและโครงการฯ (กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน) 10 ประเด็น อ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

วันที่ 3 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมเสนอโครงการลงแผนงาน 10 ประเด็น  จากกรรมการกองทุนและผู้รับทุน ของแต่ละกองทุน
  โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแบบสอบถาม 2.กิจกรรมการพัฒนาโครงการฯ ในแต่ละแผนงาน ทั้ง 10 ประเด็น เพื่อรองรับการเสนอและอนุมัติต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี่ยงกองทุนตำบลและผู้รับผิดอบงานกองทุน  มีความเข้าใจรายละเอียดการจัดกิจกรรมและสามารถดำเนินการเสนอโครงการจากผู้รับทุน พร้อมลงแผนงาน 10 ประเด็นจนครบทุกกองทุน  และสามารถพัฒนาโครงการต่างๆ ในแต่ละแผนงานทั้ง 10 ประเด็น  เพื่อรองรับการเสนอและอนุมัติต่อไป
• ทีมวิทยากรร่วม จำนวน 4 คน ได้จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล การจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่ม
• กิจกรรมเริ่มด้วยการชี้แจงโครงการและเป้าหมายที่ต้องให้มีการจัดทำแผนงานโครงการที่มีคุณภาพ  กรรมการสามารถพิจารณาโครงการที่เกิดประโยชน์สูงสุดกับชุมชน การใช้งบประมาณที่สมเหตุสมผล สำหรับผู้รับทุนสามารถดูแผนงานที่กองทุนได้เขียนไว้ในระบบ และสามารถเขียนโครงการผ่านระบบ • มีการชี้แจงรายละเอียดประเภทหรือกลุ่มของโครงการ
• การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการ • การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ / จากการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติทุกกลุ่มสามารถเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ได้ และช่วงเดือน พฤษภาคม 2566  พี่เลี้ยงจังหวัดจะดำเนินการ ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ  โดยดำเนินการดังนี้ 1.ให้พี่เลี้ยงจังหวัดของอำเภอหนองจิก ติดตาม ประเมิน ศักยภาพกองทุน รับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ กองทุนฯ อำเภอเมืองปัตตานี
2. พี่เลี้ยงจังหวัดของอำเภอเมืองปัตตานี  ติดตาม ประเมิน ศักยภาพกองทุน รับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ กองทุนฯ อำเภอ ยะหริ่ง 3..พี่เลี้ยงจังหวัดของอำเภอยะหริ่ง ติดตาม ประเมิน ศักยภาพกองทุน รับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ กองทุนฯ อำเภอ หนองจิก  ต่อไป

 

322 0

32. จังหวัดสงขลา ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพกองทุน การพัฒนาโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน และการติดตามประเมินผลโครงการ

วันที่ 4 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-11.00 น. การเขียนโครงการ 11.00-12.00 น. การลงบันทึกกิจกรรม
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. สรุปโครงการ 14.30-16.00 น. ติดตามประเมินผลโครงการ 16.00 น. จบการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าอบรม 35 คน จากกองทุน 10 กองทุน - เจ้าหน้าที่กองทุนและผู้เกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถลงบันทึกโครงการ สรุปโครงการ และติดตามประเมินผลโครงการได้อย่างถูกต้องทั้ง 10 กองทุน

 

35 0

33. ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ(กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน 10 ประเด็น) อ.เมืองปัตตานี

วันที่ 10 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.กิจกรรมเสนอโครงการลงแผนงาน 10 ประเด็น  จากกรรมการกองทุนและผู้รับทุน ของแต่ละกองทุน
  โดยใช้ข้อมูลจากการสำรวจแบบสอบถาม 2.กิจกรรมการพัฒนาโครงการฯ ในแต่ละแผนงาน ทั้ง 10 ประเด็น เพื่อรองรับการเสนอและอนุมัติต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี่ยงกองทุนตำบลและผู้รับผิดอบงานกองทุน  มีความเข้าใจรายละเอียดการจัดกิจกรรมและสามารถดำเนินการเสนอโครงการจากผู้รับทุน พร้อมลงแผนงาน 10 ประเด็นจนครบทุกกองทุน  และสามารถพัฒนาโครงการต่างๆ ในแต่ละแผนงานทั้ง 10 ประเด็น  เพื่อรองรับการเสนอและอนุมัติต่อไป
ได้จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการผ่านระบบ บนเว็บไซต์ (Website) ของกองทุนสุขภาพตำบล
• ชี้แจงการจัดทำแผนงานโครงการที่มีคุณภาพ  กรรมการสามารถพิจารณาโครงการที่เกิดประโยชน์สูงสุดกับชุมชน การใช้งบประมาณที่สมเหตุสมผล สำหรับผู้รับทุนสามารถดูแผนงานที่กองทุนได้เขียนไว้ในระบบ และสามารถเขียนโครงการผ่านระบบ • มีการชี้แจงรายละเอียดประเภทหรือกลุ่มของโครงการ
• การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านระบบ บนเว็บไซต์ (Website) ของกองทุนสุขภาพตำบล • การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ
พี่เลี่ยงกองทุนตำบลและผู้รับผิดอบงานกองทุน  มีความเข้าใจรายละเอียดการจัดกิจกรรมและสามารถดำเนินการเสนอโครงการจากผู้รับทุน พร้อมลงแผนงาน 10 ประเด็นจนครบทุกกองทุน  และสามารถพัฒนาโครงการต่างๆ ในแต่ละแผนงานทั้ง 10 ประเด็น  เพื่อรองรับการเสนอและอนุมัติต่อไป และช่วงเดือน พฤษภาคม 2566  พี่เลี้ยงจังหวัดจะดำเนินการ ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ  โดยดำเนินการดังนี้ 1.ให้พี่เลี้ยงจังหวัดของอำเภอหนองจิก ติดตาม ประเมิน ศักยภาพกองทุน รับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ กองทุนฯ อำเภอเมืองปัตตานี
2. พี่เลี้ยงจังหวัดของอำเภอเมืองปัตตานี  ติดตาม ประเมิน ศักยภาพกองทุน รับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ กองทุนฯ อำเภอ ยะหริ่ง 3..พี่เลี้ยงจังหวัดของอำเภอยะหริ่ง ติดตาม ประเมิน ศักยภาพกองทุน รับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ กองทุนฯ อำเภอ หนองจิก  ต่อไป

 

98 0

34. ทบทวนพัฒนาแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปี 2566 จ.พัทลุง

วันที่ 20 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 19 เมษายน 2566
08.00-08.30 ลงทะเบียน
08.30-10.30 ชี้แจงวัตถุประสงค์การยกระดับการพัฒนาในประเด็นต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนี้
    1. บูรณาการการทำงานร่วมกันในระดับพื้นที่ตำบลและระดับอำเภอ เนื่องจาก พชอ. และ พชต. จะเป็นกลไกสำคัญในเครือข่ายและในระบบสุขภาพชุมชน เพื่อการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง
    2. พัฒนาและขยายประเด็นให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์สุขภาพที่สำคัญในปัจจุบันตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ของ สสส. 9 ประเด็น ได้แก่ ยาสูบ สุรา สิ่งเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย ความปลอดภัยทางถนน สุขภาพจิต มลพิษจากสิ่งแวดล้อม และปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
    3. พัฒนากองทุนที่มีศักยภาพ ควรยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ให้กับกองทุนในพื้นที่ใกล้เคียงการพัฒนาศักยภาพกองทุน ด้วยกระบวนการพัฒนาความรู้เรื่องการจัดการปัญหาสุขภาพ การพัฒนาแผนงาน/โครงการ โดย สมนึก
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน    สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน    สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ
14.30-14.45    พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน    สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ

วันที่ 20 เมษายน 2566
09.00-10.30 กระบวนการตรวจสอบข้อมูลและจัดทำแผนรายประเด็นทุกกองทุนโดยมีการนำเสนอทบทวนรายตัวชี้วัดทั้ง 9 ประเด็น และมีพี่เลี้ยงระดับจังหวัดที่มอบหมายเป็นผู้ช่วยเหลือการทำแผน    สมนึก/สุภาพร คณะวิทยากรกระบวนการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานระดับกองทุน ให้สามารถเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ผ่านเว็บกองทุน และถ่ายทอดการเขียนโครงการแก่ผู้ระบทุนได้ สมนึก/เสงี่ยม คณะวิทยากรกระบวนการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 แบ่งกลุ่มเพื่อเรียนรู้และนำเสนอการออกแบบกิจกรรมโครงการเน้นผลลัพธ์ สมนึก/เสงี่ยม คณะวิทยากรกระบวนการ
14.30-14.45    พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 บันทึกกิจกรรมโครงการ งบประมาณ ผลผลิตผลลัพธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ข้อมูลสถาการณ์สุขภาพชุมชนที่ผ่านการตรวจสอบ/ปรับปรุงทั้ง 9 ประเด็นครอบคลุมทั้ง 14 กองทุน คุณภาพข้อมูลพร้อมใช้ทำแผนกองทุน
  2. ได้แผนกองทุนครบถ้วนทั้ง 9 แผนงาน
  3. คณะทำงาน(พี่เลี้ยง)ระดับกองทุนสามารถเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ ตามสภาพปัญหารายประเด็น กองทุนละ 1 โครงการ (ต้นแบบเพื่อการเรียนรู้และนำไปดำเนินการได้จริง)
  4. คณะทำงาน(พี่เลี้ยง)ระดับกองทุนรู้จัก และเข้าถึงแหล่งข้อมูลจาก HDC ON Cloud สสจ.พัทลุง และสามารถค้นหาข้อมูลได้
  5. คณะทำงานระดับกองทุน(นางสาวสุภาพร คงพันธ์ / เจ้าหน้าที่กองุทนชะรัด) สามารถยกระดับขึ้นเป็นวิทยากร นำกระบวนการทบทวนข้อมูลและแผนงานได้
  6. คณะทำงาน(พี่เลี้ยง)ระดับกองทุนสามารถเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ ตามสภาพปัญหารายประเด็น

 

22 0

35. อบรมการพัฒนาแผนกองทุนพร้อมพัฒนาโครงการของปี 2566 จังหวัดตรัง

วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้กับกองทุนนำร่อง  ทั้ง  5  กองทุน  เรื่องการเขียนแผนประเด็นทั้ง  9  ประเด็น  และการเขียนโครงการเพื่อมู่งผลลัพธ์    กับกองทุนทั้ง  5  กองทุน  และคณะทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หน่วยขอรับสนับสนุนงบประมาณกองทุน  ทั้ง  5  กองทุนนำร่อง  ได้ฝึกการเขียนแผน  และโครงการ    ผลลัพธ์    เกิดแผนในกองทุนนำร่องทั้ง  5  กองทุน  อย่างน้อยกองทุนละ  2  แผน    และเกิดโครงการที่เกิดผลลัพธ์  อย่างน้อยกองทุนละ  2  โครงการ

 

27 0

36. ก.5 ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ครั้งที่ 1 รอบที่ 1-3 จ.พัทลุง

วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ครั้งที่ 1 ปี 2566


16 พฤษภาคม 2566
ณ ห้องประชุมองการบริหารส่วนตำบลชะมวง อ.ควนขนุน จ.พัทลุง
ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม
คณะทำงานระดับจังหวัด 5 คน
คณะทำงานระดับกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน ) 5 คน
ผู้แทนกรรมการกองทุน/ภาคีผู้รับทุน 28 คน
รายละเอียดการจัดกิจกรรม
08.00-08.30 กลุ่มเป้าหมาย/คณะทำงานประชุมลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
08.30-10.30 ทำความเข้าใจการเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน โดยนายสมนึก นุ่นด้วง คณะททาน/วิทยากร
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา การกระจาย User ให้ผู้รับทุนและ การแบ่งปันโครงการให้ผู้รับทุนโดย Admin กองทุน
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน ผู้รับทุนที่ได้รับแบ่งปันโครงการให้แล้ว เข้าสุ่ระบบเพื่อการพัฒนาโครงการตามแบบที่กำหนดในเมนูการพัฒนาโครงการ
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ การอ้างอิงสถานการณ์และวัตถุปรงสงค์ จากแผน และหัวข้ออื่นๆ ตามรูปแบบการเขียนโครงการ โดยนางสาวธมล มงคลศิลป์ /นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม และนายเสงี่ยม ศรีทวี ร่วมเป็นคณะวิทยากรกระบวนการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /การแจงรายละเอียดการเงิน/ผลผลิต ผลลัพธ์ โดยนายสมนึก นุ่นด้วงและคณะวิทยากร
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน 2 โครงการ โดยคณะวิทยากร
ผลผลิต ผลลัพธ์
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.44
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 33 คน


18 พฤษภาคม 2566
ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชะรัด อ.กงหรา จ.พัทลุง
ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม
คณะทำงานระดับจังหวัด 4 คน
คณะทำงานระดับกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน ) 5 คน
ผู้แทนกรรมการกองทุน/ภาคีผู้รับทุน 22 คน( ร้อยละ 62.85)
รายละเอียดการจัดกิจกรรม
08.00-08.30 กลุ่มเป้าหมาย/คณะทำงานประชุมลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
08.30-10.30 ทำความเข้าใจการเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน โดยนายสมนึก นุ่นด้วง คณะทำงาน/วิทยากร
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ โดยนายประเทือง อมรวิริยะชัย/นางกชกานต์ คงชู และนายสมนึก นุ่นด้วง ร่วมเป็นคณะวิทยากรกระบวนการ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา การกระจาย User ให้ผู้รับทุนและ การแบ่งปันโครงการให้ผู้รับทุนโดย Admin กองทุน
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน ผู้รับทุนที่ได้รับแบ่งปันโครงการให้แล้ว เข้าสู่ระบบเพื่อการพัฒนาโครงการตามแบบที่กำหนดในเมนูการพัฒนาโครงการ
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ การอ้างอิงสถานการณ์และวัตถุปรงสงค์ จากแผน และหัวข้ออื่นๆ ตามรูปแบบการเขียนโครงการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /การแจงรายละเอียดการเงิน/ผลผลิต ผลลัพธ์ โดยนายสมนึก นุ่นด้วงและคณะวิทยากร
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน 2 โครงการ โดยคณะวิทยากร
ผลผลิต ผลลัพธ์
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 74.45
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 22 คน


19 พฤษภาคม 2566
ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์ อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง
ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม/ประชุม
คณะทำงานระดับจังหวัด 4 คน
คณะทำงานระดับกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน ) 5 คน
ผู้แทนกรรมการกองทุน/ภาคีผู้รับทุน 21 คน
รายละเอียดการจัดกิจกรรม
08.00-08.30 กลุ่มเป้าหมาย/คณะทำงานประชุมลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม
08.30-10.30 ทำความเข้าใจการเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน โดยนายสมนึก นุ่นด้วง คณะททาน/วิทยากร
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ โดยนายนายเสงี่ยม ศรีทวี /นางสาวจริภรณ์ บุญมาก และนางสาวไพลิน ทิพย์สังข์ ร่วมเป็นคณะวิทยากรกระบวนการ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา การกระจาย User ให้ผู้รับทุนและ การแบ่งปันโครงการให้ผู้รับทุนโดย Admin กองทุน
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน ผู้รับทุนที่ได้รับแบ่งปันโครงการให้แล้ว เข้าสู่ระบบเพื่อการพัฒนาโครงการตามแบบที่กำหนดในเมนูการพัฒนาโครงการ
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ การอ้างอิงสถานการณ์และวัตถุปรงสงค์ จากแผน และหัวข้ออื่นๆ ตามรูปแบบการเขียนโครงการ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์ /การแจงรายละเอียดการเงิน/ผลผลิต ผลลัพธ์ โดยนายสมนึก นุ่นด้วงและคณะวิทยากร
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน 2 โครงการ โดยคณะวิทยากร
ผลผลิต ผลลัพธ์
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.23
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 21 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผลลัพธ์ ครั้งที่ 1
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.44
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 33 คน

ผลผลิต ผลลัพธ์ ครั้งที่ 2
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 74.45
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 22 คน

ผลผลิต ผลลัพธ์ ครั้งที่ 3
1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุมร้อยละ 84.23
2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจและสามารถเขียนโครงการผ่านเว็บไซต์ได้ 31 คน

 

89 0

37. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนศูนย์เรียนรู้)ให้กับ พชอ.ทั้ง 2 อำเภอ จ.ปัตตานี ครั้งที่ 1 จ.ปัตตานี

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน จำนวน 8 คน ได้จัดกิจกรรมการประชุม พชอ.และเลขากองทุน หรือตัวแทนกองทุน มีการชี้แจงตามวาระการประชุม การประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 1 / 2566 ตามประเด็นดังนี้
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ประจำปี 2566
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง
• แนะนำเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ การเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง การพัฒนาคุณภาพ พชอ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการจากคณะทำงาน และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม นำเสนอ และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้ • ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ประจำปี 2566
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566 • รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี • แนะนำเว็บไซต์ (Website)กองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ การเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล และแนวทางการเขียนโครงการเพื่อขอรับทุน • การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอหนองจิกและอำเภอยะหริ่ง และการพัฒนาคุณภาพ พชอ. ซึ่ง คณะกรรมพชอ. หนองจิก มีแผนสุขภาพที่เน้น ปัญหา 1.ปัญหาการจักการขยะ 2 .การช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางและผู้ด้อยโอกาส 3.ปัญหาอุบัติภัยตามท้องถนน และ คณะกรรมพชอ. ยะหริ่ง มีแผนสุขภาพที่เน้น ปัญหา 1.ปัญหาโภชนาการเด็ก 0-5 ปี 2 .การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ( RDU ) 3.ปัญหาการจัดการขยะ โดยจนท.กองทุนทุกกองทุน ในอำเภอหนองจิก 13 กองทุน อำเภอยะหริ่ง 9 กองทุน สามารถนำประเด็นปัญหาใน พท.มาทำโครงการให้สอดคล้องกับแผนของ พชอ.ภายในอำเภอของตัวเอง ทั้งในปีงบประมาณ 2566 และปีงบประมาณ 2567 ต่อไป

 

76 0

38. ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟัง ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ อ.หนองจิก อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทีมวิทยากรร่วม จำนวน 12 คน (อ.เมือง อ. หนองจิก 4 และจาก อ.ยะหริ่ง คน ) ได้จัดกิจกรรมการติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(กองทุนศูนย์เรียนรู้) โดยการชี้แจงวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนและบูรณาการการดำเนินงานกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต • มีการชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน โดยทีมพี่เลี้ยง • การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามแผนงานและแผนการเงินของกองทุน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ • การประเมินในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล โดยดูจากแผนงาน โครงการและกิจกรรม รวมถึงความสอดคล้องกับนโยบาย การใช้เงิน • กรรมการสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอรายกองทุนและภาพรวมของการดำเนินงานกองทุนสุขภาพอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตามและประเมินผลโดยการนำเสนอและจากเวปไซด์ ทีมวิทยากร และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถนำขอเสนอแนะไปปรับ

 

54 0

39. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนสมัครใจ)ให้กับ พชอ. อำเภอเมือง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 1 จ.ปัตตานี

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กลุ่มเป้าหมายจำนวน 30 คน ประกอบด้วย 1.คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) อำเภอเมืองปัตตานี
2.ประธานกองทุนสุขภาพตำบล • คณะทำงาน จำนวน 4 คน ได้จัดกิจกรรมการประชุม พชอ.และเลขากองทุน หรือตัวแทนกองทุน มีการชี้แจงตามวาระการประชุม การประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 1 / 2566 ตามประเด็นดังนี้
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ประจำปี 2566
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566
• รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองปัตตานี • แนะนำเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ การเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล
• การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี การพัฒนาคุณภาพ พชอ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการจากคณะทำงาน และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม นำเสนอ และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้ • ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ประจำปี 2566
• ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566 • รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี • แนะนำเว็บไซต์ (Website)กองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ การเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล และแนวทางการเขียนโครงการเพื่อขอรับทุน • การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี และการพัฒนาคุณภาพ พชอ. ซึ่ง คณะกรรมพชอ.เมืองปัตตานี มีแผนสุขภาพที่เน้น ปัญหา 1.ปัญหากลุ่มเปราะบาง ผู้พิการ ผู้สูงอายุ 2 .การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ( NCD ) 3.ปัญหาอนามัยการเจริญพันธ์ โดยจนท.กองทุนทุกกองทุน ในอำเภอเมืองปัตตานี 10 กองทุน สามารถนำประเด็นปัญหาใน พท.มาทำโครงการให้สอดคล้องกับแผนของ พชอ.ภายในอำเภอของตัวเอง ทั้งในปีงบประมาณ 2566 และปีงบประมาณ 2567 ต่อไป

 

24 0

40. ประชุมกลไกติดตามงาน พชอ. ติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่3 ถอดบทเรียน ครั้งที่1 จ.พัทลุง

วันที่ 23 มิถุนายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 9.30 น. นางจริยา จันทร์ดำ นายอำเภอศรีนครินทร์ (ประธานคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอศรีนครินทร์) เป็นประะานเปิดการประชุม มีผู้เข้าร่วมประชุม 27 คน
วาระที่ 1 รายงานการขับเคลื่อนงาน พชอ.ศรีนครินทร์ โดยเลขา พชอ. นายชลิต เกตุแสง สาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์ (เลขาฯ พชอ.) แจ้งบทบาทหน้าที่ และองค์ประกอบของ พชอ. ทั้งรายงานการประชุมครั้งที่แล้วที่ได้กำหนดยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาวะไว้ 2 ประเด็นได้แก่ ประเด็นอาหารและโภชนาการสมวัย และประเด็นกิจกรรมทางกาย
วาระที่ 3 รับรองรายงานการประชุมครั้งก่อน โดยเลขา พชอ.
วาระที่ 4 ติดตามมติที่ประชุมครั้งก่อน โดยเลขา พชอ.
วาระที่ 5 รายงานความก้าวหน้า ผลผลิต ผลลัพธ์การขับเคลื่อนโครงการ โดยคณะทำงานโครงการ
-คณะทำงานโครงการ รายงานภาพรวม 3 อำเภอ และผลงานตามยุทธศาสตร์ พชอ .ศรีนครินทร์
-คณะทำงานระดับตำบล รายงานความก้าวหน้าแผนงาน โครงการ 9 ประเด็น รายตำบล
  - แผนอำเภอ วิธีการสร้างแผนอำเภอ การยืนยันข้อมูลสถานการณ์ และการกำหนดเป้าหมาย และสร้งาความเข้าใจแก่เลขา พชอ.เพื่อนำเสนอคณะกรรมการ พชอ. เพื่อยืนยันสถานการณื กำหนดเป้าหมาย กำหนดโครงการที่ควรดำเนินการ
- รายงานแผนงานโครงการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายใต้ยุทธศาสตร์ พชอ.
  1. พัฒนาชุมชนมีแผนงานการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ตามโครงการทางนี้มีผลผู้คนรักกัน ดำเนินการแล้ว 5 หมู่บ้าน และโครงการซอยนี้มีรักปลูกผักแบ่งปัน ดำเนินการแล้ว 5 หมู่บ้าน
  2. อสม.ในเขตรับผิดชอบของ รพสต.บ้านลำกะ ตำบลชุมชน ดำเนินแผนงานอาหารปลอดภัย ตามโครงการอาหารปลอดภัย กิจกรรมตรวจสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสด 6 ชนิด ในร้านขายอาหารสด
  3. แผนงานร่วมทุน สสส.และ อบจ.พัทลุง ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลลำสินธุ์ ตามกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินสำหรับผู้สูงวัย เพิ่มการกินผัก เน้นผักพื้นบ้าน ลดการกินเกลือและโซเดียม ผ่านโรงเรียนผู้สูงอายุ
  4. แผนงานร่วมทุน สสส.และ อบจ.พัทลุง ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลตำบลบ้านนาตามกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินสำหรับผู้สูงวัย เพิ่มการกินผัก เน้นผักพื้นบ้าน ลดการกินเกลือและโซเดียม
  5. แผนงานร่วมทุน สสส.และ อบจ.พัทลุง ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลตามกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายหลากหลายรูปแบบ

วาระที่ 6 นโยบายและบทเรียนจากโครงการ
  6.1 นโยบาย
      ข้อเสนอเชิงนโยบายในการยกระดับศักยภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
      1. ทุกกองทุนต้องสนับสนุนให้มีการพัฒนาแผนงานกองทุนในระบบเว็บกองทุนตำบล
      2. ต้องสนับสนุนให้ผู้รับทุนพัฒนาโครงการที่เชื่อมโยงกับแผนงาน
      ข้อเสนอเชิงนโยบายในการบูรณาการการดำเนินงานระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (กองทุนศูนย์เรียนรู้)
      1. นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด นายอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ และท้องถิ่นอำเภอ ต้องสนับสนุน ผลักดันให้มีการบูรณาการการแผนงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น กับนโยบายหรือยุทธศาสตร์ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
    6.2 บทเรียนจากโครงการ
      จุดแข็ง/ ปัจจัยความสำเร็จของพื้นที่ในการดำเนินงาน
    1. พี่เลี้ยงระดับจังหวัดได้รับการแบ่งงาน คนละ 1-2กองทุนให้รับผิดชอบตามความเหมาะสม การแบ่งงานวิทยากร การให้ร่วมเรียรู้ในทุกกิจกรรม     2. พี่เลี้ยงจังหวัด และพี่เลี้ยงตำบล ความรู้ความสามารถในการใช้และสอนงานการใช้เว็บเพื่อพัฒนางานกองทุน

    ปัญหา/ อุปสรรคจากการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ
      1. ผู้ขอรับทุนยังไม่ได้รับการเรียนรู้ในการเขียนโครงการผ่านเว็บครอบคลุมทั้งชุมชน แก้ไขด้วยการเขียนโครงการในกระดาษส่งให้เจ้าหน้าที่กองทุนบันทึกเข้าเว็บ
      2. ยังคงมีโครงการที่ไม่เชื่อมโยงกับแผน และไม่ใช้เป้าหมาย ตัวชี้วัดของแผน แต่รได้รับอนุมัติไปแล้ว แก้ไขโดยชี้ให้พี่เลี้ยงกองทุนเห็นความไม่สอดคล้อง /การกำหนดวัตถุประสงค์เอง ซึ่งถ้ามีความจำเป็นก็ต้องซ่อมแผนงานใหม่

วาระที่ 7 ผลผลิต/ผลลัพธ์ (ตามเอกสารแนบท้าย)

วารที่ 8 รายงานแผนการทำงานช่วงต่อไป และการพิจารณาสร้างการมีส่วนร่วมภายใต้ MOU
  - 7 กรกฎาคม 2566 การติดตามโครงการประเมินผลผ่านเว็บกองทุกองทุนอำเภอกงหรา กองทุนอำเภอศรีนครินทร์ และ 5 กองทุนทั่วไปอำเภอควนขนุน เพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการสามารถบันทึกรายงาน และประเมินคุณค่าโครงการได้ เจ้าหน้าที่กองทุนสามารถเป็นพี่เลี้ยงสอนงานแก่ผู้รับทุนได้
  - 8/09/2566 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษาปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ และรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 4 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและ ผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.(กองทุนศูนย์เรียนรู้) คณะทำงานระดับจังหวัด
  -10/10/2567 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ในระดับกองทุน ครั้งที่ 2 เพื่อกองทุนฯ ที่เป็นศูนย์เรียนรู้มีมีโครงการ ที่ผ่านการพิจารณาและได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ รวม อย่างน้อย กองทุนละ 3 โครงการ
  - 8/12/2566 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษาปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ และรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 5 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าคณะทำงานระดับจังหวัด
  - มค.-กพ.2567 การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น (ครั้งที่2 ) เพื่อเก็บข้อมูลสถานการสุขภาพทั้ง 9 ประเด็น 3 ระดับ(ระดับบุคคล ระดับครัวเรือน และระดับชุมชน)
  - 8/03/2567 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ และรายงานความก้าวหน้า ครั้งที่ 6 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและ ผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. (กองทุนศูนย์เรียนรู้) คณะทำงานระดับจังหวัด
  - 8/06/2567 ประชุมติดตามประเมิน ให้คำปรึกษา และรายงานความก้าวหน้า + ถอดบทเรียน ครั้งที่ 7 เพื่อการติดตามประเมินผล ให้คำปรึกษา ปรับปรุงและผลักดันให้โครงการได้รับอนุมัติ รายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. (กองทุนศูนย์เรียนรู้) และได้บทเรียนความสำเร็จคณะทำงานระดับจังหวัด

ปิดประชุมเวลา 15.30 น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดแผนงาน 9 ประเด็น 13 กองทุน ร้อยละ 92.85 (1 กองทุน ขาดประเด็นขยะ/ได้ประสานงานให้ดำเนินการแล้ว)
  2. เกิดโครงการผ่านเว็บ เน้นผลลัพธ์  108 โครงการ งบประมาณ 2,091,567 บาท มีโครงการที่ตอบประเด็นยุทธศาสตร์ พอช. ประเด็น PA 42 โครงการ งบประมาณ 982,223 บาท ประเด็นอาหารและโภชนาการสมวัย 39 โครงการ งบประมาณ 629,250 บาท
  3. เกิดกลไกพี่เลี้ยงที่มีความรู้ ความสามารถในการใช้และถ่ายทอดการบริหารจัดการกองทุนผ่านเว็บกองทุนตำบล (พัฒนาแผนงาน พัฒนาโครงการ) จำนวน 22 คน (ระดับจังหวัด 8 คน ระดับกองทุน 14 คน)

(รายละเอียดตามไฟล์ที่แนบ)

 

44 0

41. ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟัง ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ อ.เมือง จ.ปัตตานี

วันที่ 10 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทีมวิทยากรร่วม จำนวน 8 คน (อ.เมือง และอ. หนองจิก 4  คน )  ได้จัดกิจกรรมการติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟังปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ(กองทุนสมัครใจ) โดยการชี้แจงวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคุณภาพการดำเนินงานของกองทุนและบูรณาการการดำเนินงานกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต • มีการชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน โดยทีมพี่เลี้ยง • การนำเสนอผลการดำเนินงาน ตามแผนงานและแผนการเงินของกองทุน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ • การประเมินในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล โดยดูจากแผนงาน โครงการและกิจกรรม รวมถึงความสอดคล้องกับนโยบาย การใช้เงิน • กรรมการสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอรายกองทุนและภาพรวมของการดำเนินงานกองทุนสุขภาพอำเภอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตามและประเมินผลโดยการนำเสนอและจากเวปไซด์ ทีมวิทยากร และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถนำขอเสนอแนะไปปรับ

 

28 0

42. การติดตามประเมินความก้าวหน้าโครงการ ปี 2566และประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุน ปี 2567 จังหวัดสงขลา

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ติดตามประเมินผลโครงการ ปี 2566
  2. การจัดทำแผนสุขภาพกองทุน ปี 2567
  3. การจัดทำแผนการเงินกองทุน ปี 2567

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.

 

67 0

43. ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง

วันที่ 22 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 09.00-10.30 น.ทบทวนการใช้เว็บกองทุน การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ
เวลา 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ
การลงรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร และทำอย่างไร การลงรายงานการเงินแยกตามหมวดรายจ่าย
การลงภาพประกอบกิจกรรม พร้อมคำบรรยายใต้ภาพสั้นๆ การแนบไฟล์เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
เวลา 13.00-14.30 น.กระบวนการปฏิบัติการการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการใน 6 มิติต่อไปนี้ ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
กระบวนการชุมชน
มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

เวลา 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผล 4 โครงการ

คณะวิทยากร: โดยคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช.เขต 12
นายสมนึก  นุ่นด้วง
นายเสงี่ยม  ศรีทวี
นางอมรรัตน์  ทุ่มพุ่ม
นางสาวไพลิน  ทิพย์สังข์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่ เข้าร่วม 4 คน
โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผล 4 โครงการ

 

24 0

44. ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ. ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง

วันที่ 23 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 09.00-10.30 น.ทบทวนการใช้เว็บกองทุน การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ
เวลา 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ
การลงรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร และทำอย่างไร การลงรายงานการเงินแยกตามหมวดรายจ่าย
การลงภาพประกอบกิจกรรม พร้อมคำบรรยายใต้ภาพสั้นๆ
การแนบไฟล์เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
เวลา 13.00-14.30 น.กระบวนการปฏิบัติการการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
กระบวนการชุมชน
มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
เวลา 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผลได้แก่
1. โครงการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน ปีงบประมาณ 2566 กองทุนลำสินธุ์
2. ปรับพฤติกรรม เปลี่ยนชีวิต พิชิตเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กองทุนบ้านนา
3. ปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียนร่มเมือง กองทุนอ่างทอง
4. พัฒนาศูนย์เรียนรู้การเกษตรเพื่ออาหารกลางวันโรงเรียนอ่างทอง  กองทุนอ่างทอง
5. ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยโรงเรียนบ้านโหล้ะหนุน กองทุนอ่างทอง
6. อบรมเชิงปฏิบัติการทีมควบคุมโรคติดต่อ กองทุนชุมพล
7. อบรมเชิงปฎิบัติการทีมเคลื่อนที่เร็วตำบลชุมพล กองทุนชุมพล
8. โครงการชุมชน /หมู่บ้านไอโอดีน ในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านลำกะ  กองทุนชุมพล

คณะวิทยากร: โดยคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช.เขต 12
นายสมนึก นุ่นด้วง
นางกชกานต์ คงชู
นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์
นางสาวจิราภรณ์ บุญมาก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่กองทุน(คณะทำงานระดับตำบล) 4 คน
ผู้รับผิดชอบโครงการ 11 คน
โครงการได้รับการติดตาม 8 โครงการ

 

24 0

45. ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ.กงหรา จ.พัทลุง

วันที่ 24 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 09.00-10.30 น.ทบทวนการใช้เว็บกองทุน การพัฒนาแผนงาน/การพัฒนาโครงการ/การอนุมัติโครงการ/การติดตามโครงการ/การประเมินโครงการ
เวลา 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ
การลงรายงานกิจกรรมที่ดำเนินการเพื่อให้รู้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน กับใคร และทำอย่างไร การลงรายงานการเงินแยกตามหมวดรายจ่าย
การลงภาพประกอบกิจกรรม พร้อมคำบรรยายใต้ภาพสั้นๆ
การแนบไฟล์เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม
เวลา 13.00-14.30 น.กระบวนการปฏิบัติการการประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการใน 6 มิติต่อไปนี้
ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
กระบวนการชุมชน
มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
เวลา 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน โครงการที่ได้ใช้เรียนรู้ในการติดตามรายงานผล 1 โครงการ ได้แก่โครงการสุขภาพเด็ก 2-5 ปี ด้านภาวะโภชนาการและทันตะสุขภาพ ประจำปี 2566 กองทุนคลองทรายขาว

คณะวิทยากร: โดยคณะทำงานส่งเสริมและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ สปสช.เขต 12
นายสมนึก  นุ่นด้วง
นางสาวธมล  มงคลศิลป์
นายประเทือง  อมรวิริยะชัย
นางสาวไพลิน  ทิพย์สังข์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่กองทุน(คณะทำงานระดับตำบล) 4 คน ผู้รับผิดชอบโครงการกองทุนๆละ 3คน รวม 9 คน โครงการที่ติดตามและนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน  1 โคงการ

 

24 0

46. พัฒนาแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ปี 2567 จ.พัทลุง

วันที่ 12 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-10.30 น. ติดตามความก้าวหน้าโครงการ แผนงาน โครงการ ปี 2566
      แนะนำแหล่งข้อมูลมือ 2
      แนวทางการจัดทำแผน ปี 2567
      โดย สมนึก นุ่นด้วง และคณะ
10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. การปฏิบัติการ จัดทำแผนปี 2567
      (สถานการณ์ เป้าหมาย งบประมาณ )
      โดย ธมล มงคลศิลป์และคณะ
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. การปฏิบัติการ จัดทำแผนปี 2567 (ต่อ)
      (สถานการณ์ เป้าหมาย งบประมาณ )
      โดย ธมล มงคลศิลป์และคณะ
14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง
15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน
      โดย สมนึก นุ่นด้วงและคณะ

ผู้เข้าร่วมทำกิจกรรม
เจ้าหน้าที่กองทุน(คณะทำงานระดับตำบล) 14 คน
นางจริญา บุญมี  ตำบลอ่างทอง
นางพัชรี น้อยเต็ม  ตำบลลำสินธุ์
น.ส.อรวรรณ จันธนู ตำบลบ้านนา
น.ส.จุฑามาศ ทับชุม ตำบลชุมพล
นางสาวสุภาพร คงพันธ์ ตำบลชะรัด
นายหมัดรอซี หวังกูหลำ ตำบลคลองเฉลิม
นางฉารีฟะฮ์ โต๊ะระหนี ตำบลสมหวัง
นางสาววรรณา หวานศรี ตำบลกงหรา
นางเกศรินทร์ พงษ์สุด ตำบลคลองทรายขาว
นางกัญญาภัค สว่างรัตน์ กองทุนบ้านสวน
น.ส.สุจิตราภรณ์ ตุลยนิษย์ ตำบลแพรกหา
นางเพ็ญพร เพชรหัวบัว  ตำบลชะมวง
นายชนปกรณ์ วิทยารัฐ ตำบลนาขยาด
นางสาวอุไรวรรณ จำเริญ ตำบลพนมวังก์
ผู้เข้าร่วมเรียนรู้ อบต.พนมวังก์ 2 คน
นางศิวัชญา อินทร์แก้ว
นางสาวจันทิมา ขุนจันทร์

คณะทำงานระดับจังหวัด 6 คน
นายประเทือง อมรวิริยะชัย รพสต.บ้านชะรัด
นางสาวจิราภรณ์ บุญมาก สสอ.ศรีนครินทร์
นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์ ภาคประชาชน
นางกชกานต์ คงชู    เทศบาลตำบลนาท่อม
นายเสงี่ยม ศรีทวี    รพสต.บ้านฝาละมี
นางอมรรัตน์ ทุ่มพุ่ม  รพสต.บ้านศาลามะปราง

วิทยากร 2 คน
นายสมนึก นุ่นด้วง ภาคประชาชน
นางสาวธมล มงคลศิลป์ เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
    เจ้าหน้าที่กองทุน 14 คน
    ผู้เข้าร่วม 2 คน
    คณะทำงาน/วิทยากร 8 คน
  2. เจ้าหน้าที่กองทุน สามารถรู้แหล่งข้อมูลมือ 2 และสามารถพัฒนาแผนงานสุขภาพกองทุนปี 2567 ได้ครอบทั้ง 10 แผนงาน ตามเป้าหมายโครงการ
  3. เจ้าหน้าที่กองทุน เข้าใจแนวทางการจัดทำโครงการประกอบแผน/โครงการที่ควรดำเนินการ และสามารถกลับไปประชาสัมพันธ์ /ประชุมภาคีเครือข่ายเพื่อเขียนข้อเสนอโครงการประกอบแผนได้
  4. สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน 3 อำเภอๆละ 1 กองทุน รวม 3 กองทุน
    1. กองทุนตำบลแพรกหา แผนงานสุขภาพจิต โดย นส.สุจิตราภรณ์ ตุลยนิษก์
    2. กองทุนตำบลคลองทรายขาว แผนงานบุหรี่ โดย นางเกศรินทร์ พงษ์สุด
    3. กองทุนตำบลชุมพล แผนงานสุรา โดยนางสาวจุฑามาศ ทับชุม

 

22 0

47. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนศูนย์เรียนรู้)ให้กับ พชอ.ทั้ง 2 อำเภอ จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2 อ.หนองจิก และอ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

วันที่ 20 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

.คณะทำงาน จำนวน 8 คน ได้จัดกิจกรรมการประชุม พชอ.และเลขากองทุน หรือตัวแทนกองทุน มีการชี้แจงตามวาระการประชุม การประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอหนองจิกและ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 2 / 2566 ตามประเด็นดังนี้
•  ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. อำเภอหนองจิก ประจำปี 2566
1.การจัดการขยะ 2. การดูแลช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ 3.อุบัติภัยทางท้องถนน •  ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล อ.หนองจิก ประจำปี 2566 1.การจัดการระบบอาหาร 2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า 4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่ • ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. อำเภอยะหริ่ง ประจำปี 2566
1. โภชนาการในเด็ก 0-5 ปี 2. การใช้ยาอย่างสมเหตุผล(RDU )3. การดูแลผู้ด้อยโอกาส/พิการ/ผู้เปราะบาง/ผู้สูงอายุ(ยะหริ่ง “อำเภอแห่งการแบ่งปัน”)4. การจัดการขยะ5. ความมั่นคงทางอาหาร6. ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น 7 การแก้ปัญหาความยากจน (TPMAP)8.จิตอาสาพระราชทาน9. โรคระบาด • ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566 1.การจัดการระบบอาหาร 2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า 4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่ • รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน อำเภอหนองจิก และ อำเภอยะหริ่ง
• การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล https://localfund.happynetwork.org/ ทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567 • การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุนสุขภาพเพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง การพัฒนาคุณภาพ พชอ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการจากคณะทำงาน และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม นำเสนอ และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้ • มีการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ. ตามประเด็นต่างๆของแต่ละอำเภอ ประจำปี 2566
• การขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567 • รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน อำเภอหนองจิกและอำเภอยะหริ่ง • การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอหนองจิกและ อำเภอยะหริ่ง และการพัฒนาคุณภาพ พชอ.

 

78 0

48. ประชุมเชิงปฏิบัติการการทำแผนสุขภาพกองทุน แผนการเงินกองทุน ปี 2567และการเขียนโครงการระบบออนไลน์เวปไซด์กองทุน ฯ จังหวัดสงขลา

วันที่ 6 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • เวลา 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน
  • เวลา 09.00 - 11.00 น. ทวบทวนแผนสุขภาพกองทุน ปี 2567

        - ข้อมูลสถานการณ์ปัญหา

        - วัตถุประสงค์ใน 1 ปี

        - โครงการที่ควรทำ

  • เวลา 11.00 - 12.00 น. การทำแผนการเงิน ปี 2567
  • เวลา 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • เวลา 13.00 - 16.00 น. การเขียนโครงการระบบออนไลน์เวปไซด์กองทุนตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ จากกองทุนเป้าหมายและกองทุนที่สนใจเข้าร่วม ทั้งหมด 56 คน
  • ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการทำแผนสุขภาพ แผนการเงิน และการเขียนโครงการระบบออนไลน์
  • กองทุนทำแผนสุขภาพ แผนการเงิน ปี 2567 ได้ถูกต้อง
  • ผู้เข้าอบรมการเขียนโครงการระบบออนไลน์เวปไซด์กองทุนได้ถูกต้อง

 

55 0

49. กส.5/4 ประชุมติดตามประเมิน และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.ครั้งที่4 จ.พัทลุง

วันที่ 12 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วาระที่ 1 แจ้งเพื่อทราบ
วาระที่ 2 รายงานความก้าวหน้า ผลลัพธ์การขับเคลื่อนโครงการ ดังนี้
1). พี่เลี้ยงกองทุน คณะทำงานระดับพื้นที่ ที่ได้รับพัฒนาให้ใช้เว็บได้
2). ความสมบูรณ์ของแผนงาน ปี 2566
3). โครงการที่พัฒนาผ่านเว็บ ปี 2566
4). โครงการที่รับอนุมัติ ปี 2566
5). โครงการ/งบประมาณ ที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ พชอ ปี 2566
6). ภาคีสุขภาพที่ขอเสนอโครงการ ปี 2566
7). ความก้าวหน้าของแผนงาน ปี 2567 [ ] ทำแผนแล้ว
                [ ] ยังไม่ทำแผน  กำหนดทำแผนวันที่................
วาระที่ 3 รายงานแผนการทำงานช่วงต่อไปของโครงการ
พัฒนาโครการ (ปลายพฤศจิกายน 2566 ) 7โครงการ/กองทุน
วาระที่ 4 เรื่องอื่นๆ
การเป็นแหล่งเรียนรู้ดูงาน

(รายละเอียดดูเพิ่มเติมได้จากไฟล์ที่แนบแล้ว)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความสมบูรณ์ของแผนงาน ปี 2566 จำนวน 139 แผนงาน จาก 14 กองทุน
  2. โครงการที่พัฒนาผ่านเว็บ ปี 2566 เฉพาะ 10 แผนงานที่กำหนดในโครงการการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน รวมจาก 11 กองทุนจำนวน 103 โครงการ ( 3 กองทุนที่ยังไม่มีการพัฒนาผ่านเว็บได้แก่กองทุนตำบลแพรกหา กองทุนตำบลนาขยาดและกองทุนตำบลบ้านนา)
  3. โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้ดำเนินการปี 2566  เฉพาะ 10 แผนงานที่กำหนดในโครงการการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน รวมจาก 11 กองทุนจำนวน 116 โครงการ
  4. โครงการที่ตอบยุทธศาสตร์ พชอ.(ศรีนครินทร์)
      - แผนงานกิจกรรมทางกายจำนวน 17 โครงกร รวมงบประมาณ 404,710 บาท
      - แผนงานอาหารและโภชนาการ จำนวน 11 โครงการ รวมงบประมาณ 194,760 บาท
  5. พี่เลี้ยงกองทุน คณะทำงานระดับพื้นที่ ที่ได้รับพัฒนาให้ใช้เว็บได้ 71 คน
  6. กองทุนที่เป็นแหล่งเรียนรู้ดุงาน 2 แห่ง ได้แก่ กองทุนตำบลชะรัด และกองทุนตำบลคลองทรายขาว อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

(รายละเอียดดูเพิ่มเติมได้จากไฟล์ที่แนบแล้ว)

 

28 0

50. รายงานความก้าวหน้า (กองทุนสมัครใจ)ให้กับ พชอ. อำเภอเมือง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงาน จำนวน 4 คน ได้จัดกิจกรรมการประชุม พชอ.และเลขากองทุน หรือตัวแทนกองทุน มีการชี้แจงตามวาระการประชุม การประชุมคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) กับกองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองจังหวัดปัตตานี  ครั้งที่ 2 / 2566 ตามประเด็นดังนี้
•    ประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ.  อำเภอเมือง  ประจำปี 2566
1.การดูแลช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ 2.การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ( NCD )3.การอนามัยเจริญพันธ์ การแก้ไขการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น •    ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล  อ.เมืองปัตตานี ประจำปี 2566 1.การจัดการระบบอาหาร  2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า  4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่ • ประเด็นการขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566 1.การจัดการระบบอาหาร  2.การเพิ่มกิจกรรมทางกาย 3.การจัดการปัจจัยเสี่ยง เหล้า  4.บุหรี่ 5.สารเสพติด6.การจัดการปัญหาความปลอดภัยทางถนน7.สุขภาพจิต8.มลพิษทางอากาศ 9.การจัดการขยะ10.การป้องกันโรคอุบัติใหม่ • รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน  อำเภอเมืองปัตตานี • การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพในระบบ บนเว็บไซต์  (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล  https://localfund.happynetwork.org/ ทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567 • การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุนสุขภาพเพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี การพัฒนาคุณภาพ พชอ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการจากคณะทำงาน  และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม นำเสนอ และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้ • มีการติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานประเด็นการขับเคลื่อนของ พชอ.  ตามประเด็นต่างๆของแต่ละอำเภอ ประจำปี 2566
• การขับเคลื่อนของ กองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2566การทบทวนและจัดทำแผนสุขภาพกองทุนสุขภาพตำบล การเขียนโครงการที่มีคุณภาพทบทวนข้อมูลสถานการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามปี 2567 • รายงานความก้าวหน้าของกองทุนสุขภาพตำบล ตามแผนงานและแผนเงิน อำเภอเมืองปัตตานี • การบูรณาการ ประเด็น พชอ. และประเด็นกองทุน เพื่อการขับเคลื่อนในอำเภอเมืองปัตตานี  และการพัฒนาคุณภาพ พชอ.

 

30 0

51. ประสานงาน พชอ.กงหรา

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นัดหมายกับสาธารณสุขอำเภอ(เลขานุการ พชอ.) เพื่อประสานงานการกำหนดประเด็นนโยบาย พชอ.กงหรา  พร้อมทั้งนัดหมายการเข้าร่วมประชุมคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอกงหรา โดยร่วมคุยกัน 3 ภาคี ได้แก่
เลขา พชอ. 1 คน
ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ และเจ้าหน้าที่ 3คน
คณะทำงานฯ ผู้ประสานงานอำเภอกงหรา และคณะทำงานผู้ประสานงานโครงการฯ 2 คน(ประเทือง อมรวิริยะชัย และสมนึก นุ่นด้วง)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ประเด็นนโยบาย พชอ.กงหรา ปี 2567
1. แผนงานส่งเสริมสุขภาพจิต
2. แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผุ้สุอายุ
3. แผนงานโรคเรื้อรัง NCDs
ได้ประมาณการ การประชุม พชอ. ปลายเดือนธันวาคม 2566

 

4 0

52. ก.5 พัฒนาโครงการผ่านเว็บกองทุน ครั้งที่ 2 รุ่นที่ 1 จ.พัทลุง

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-10.30 ทำความเข้าใจความเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ

การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ

10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ (ต่อ)
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ

13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์
- การแจงรายละเอียดการเงิน
- ผลผลิต ผลลัพธ์ คณะวิทยากร
พักรับประทานอาหารว่าง

14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน

โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3 กลุ่มดังนี้
1. ผู้ขอรับทุนเข้าประชุมพัฒนาโครงการ 55  คน
2. ผู้ขอรับทุน/ผู้ร่วมเรียนรู้การเขียนโครงการ....17........คน
3. เจ้าหน้าที่กองทุน(คณะทำงานระดับกองทุน 11 คน
4. คณะทำงานระดับจังหวัด 7 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ภาคีหลากหลายเข้าร่วมกิจกรรม โครงการที่ได้รับการพัฒนาผ่านเว็บ.....55.......โครงการดังนี้
กองทุนตำบลชะรัด.........6......โครงการ
กองทุนตำบลคลองทรายขาว....8.....โครงการ
กองทุนตำบลคลองเฉลิม.......5.........โครงการ
กองทุนตำบลกงหรา......3......โครงการ
กองทุนตำบลสมหวัง........2.............โครงการ
กองทุนตำบลชุมพล..........6..........โครงการ
กองทุนตำบลอ่างทอง...........5..........โครงการ
กองทุนตำบลบ้านนา...........5........โครงการ
กองทุนตำบลแพรกหา.........4..........โครงการ
กองทุนตำบลนาขยาด...........3.........โครงการ
กองทุนตำบลพนมวังก์...........4..........โครงการ
กองทุนเทศบาลตำบลบ้านสวน........7........โครงการ

 

95 0

53. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ( ระดับอำเภอ ตำบล ) อ.หนองจิก และอ.ยะหริ่ง ครั้งที่ 2

วันที่ 6 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

• ประชุมชี้แจงการจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน  10 ประเด็นให้มีคุณภาพ • ประชุมชี้แจงโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น • การฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน (เอกสารแนบ 1)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• สามารถจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน 10 ประเด็นให้มีคุณภาพ และมีโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น • สามารถฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน   อำเภอหนองจิก มี 13 กองทุน   1. แผนงาน อาหารและโภชนาการ  มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 38 โครงการ   2. แผนงาน ยาเสพติด  มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 39 โครงการ   3. แผนงาน กิจกรรมทางกาย  มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 45 โครงการ   4. แผนงาน โรคอุบัติใหม่ มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 36 โครงการ   5. แผนงาน สุรา มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 32 โครงการ 6. แผนงาน บุหรี่/ยาสูบ  มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 36 โครงการ 7.แผนงาน สุขภาพจิต  มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 37 โครงการ 8.แผนงาน ความปลอดภัยทางท้องถนน มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 37 โครงการ 9. แผนงาน การจัดการขยะ  มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 41 โครงการ 10.แผนงาน มลพิษทางอากาศ pm2.5  มีแผน 13 กองทุน มีโครงการรองรับ 36 โครงการ

อำเภอยะหริ่ง มี 9 กองทุน 1. แผนงาน อาหารและโภชนาการ  มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 27 โครงการ   2. แผนงาน ยาเสพติด  มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 22 โครงการ   3. แผนงาน กิจกรรมทางกาย  มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 24 โครงการ   4. แผนงาน โรคอุบัติใหม่ มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 20 โครงการ   5. แผนงาน สุรา มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 18 โครงการ 6. แผนงาน บุหรี่/ยาสูบ  มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 21 โครงการ 7.แผนงาน สุขภาพจิต  มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 18 โครงการ 8.แผนงาน ความปลอดภัยทางท้องถนน มีแผน  7 กองทุน มีโครงการรองรับ 22 โครงการ 9. แผนงาน การจัดการขยะ  มีแผน 9  กองทุน มีโครงการรองรับ 25 โครงการ 10.แผนงาน มลพิษทางอากาศ pm2.5  มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 20 โครงการ

 

52 0

54. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ( ระดับอำเภอ ตำบล ) อ.เมืองปัตตานี ครั้งที่ 2

วันที่ 6 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

• ประชุมชี้แจงการจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน  10 ประเด็นให้มีคุณภาพ • ประชุมชี้แจงโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น • การฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน (เอกสารแนบ 1)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี่ยงกองทุนตำบลและผู้รับผิดอบงานกองทุน มีความเข้าใจรายละเอียดการจัดทำแผนและเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น ตามผลการดำเนินงานที่แนบไว้ สามารถจัดทำแผนงาน ปีงบ 2567 ใน 10 ประเด็นให้มีคุณภาพ และมีโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น • สามารถฝึกปฏิบัติการการแผนงานให้ครอบคลุม 10 ประเด็น พร้อมเสนอโครงการที่ควรมีตามแผนงาน 10 ประเด็น
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงาน   อำเภอเมืองปัตตานี มี 10 กองทุน   1. แผนงาน อาหารและโภชนาการ  มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 13 โครงการ   2. แผนงาน ยาเสพติด  มีแผน 9 กองทุน มีโครงการรองรับ 24 โครงการ   3. แผนงาน กิจกรรมทางกาย  มีแผน 8 กองทุน มีโครงการรองรับ 13 โครงการ   4. แผนงาน โรคอุบัติใหม่ มีแผน 7 กองทุน มีโครงการรองรับ 8 โครงการ   5. แผนงาน สุรา มีแผน 1 กองทุน มีโครงการรองรับ 1 โครงการ 6. แผนงาน บุหรี่/ยาสูบ  มีแผน 7 กองทุน มีโครงการรองรับ 8 โครงการ 7.แผนงาน สุขภาพจิต  มีแผน 6 กองทุน มีโครงการรองรับ 10 โครงการ 8.แผนงาน ความปลอดภัยทางท้องถนน มีแผน 5 กองทุน มีโครงการรองรับ 7 โครงการ 9. แผนงาน การจัดการขยะ  มีแผน 10 กองทุน มีโครงการรองรับ 22 โครงการ 10.แผนงาน มลพิษทางอากาศ pm2.5  มีแผน 3 กองทุน มีโครงการรองรับ 6 โครงการ

 

24 0

55. ก.5 พัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ครั้งที่ 2 รุ่นที่ 2 จ.พัทลุง

วันที่ 26 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-10.30
ทำความเข้าใจความเชื่อมโยงโครงการกับแผนงานกองทุน
- สถานการณ์
- เป้าหมาย
- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- โครงการที่ควรดำเนินการ
การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ
- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา
- การเขียนโครงการที่มาจากแผน
- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย
- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์
- การแจงรายละเอียดการเงิน
- ผลผลิต ผลลัพธ์
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เข้าร่วม 8 กองทุน ภาคีหลากหลายเข้าร่วมกิจกรรม โครงการที่ได้รับการพัฒนาผ่านเว็บ.....34.......โครงการดังนี้
กองทุนตำบลชะรัด........9.......โครงการ
กองทุนตำบลคลองเฉลิม.......2.........โครงการ
กองทุนตำบลกงหรา.....2.......โครงการ
กองทุนตำบลสมหวัง..........5...........โครงการ
กองทุนตำบลนาขยาด...........4.........โครงการ
กองทุนตำบลพนมวังก์.........5............โครงการ
กองทุนเทศบาลตำบลบ้านสวน.......3.........โครงการ
กองทุนเทศบาลตำบลลำสินธุ์.......5.........โครงการ

 

60 0

56. ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ( กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน ) ครั้งที่ 2 อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วันที่ 18 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

• มีกิจกรรมกองทุนในฝัน สำหรับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เมืองปัตตานี • ชี้แจงบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
• นำเสนอสถานการณ์สุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ • บรรยายการเขียนโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่มีคุณภาพ
• การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านระบบ บนเว็บไซต์ (Website) ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ • การวิเคราะห์และถอดบทเรียนผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
• การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

• กรรมการกองทุนและผู้รับทุน ได้มีกิจกรรมกองทุนในฝันที่อยากให้เกิดขึ้นในพื้นที่
• กรรมการกองทุนและผู้รับทุน มีความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ สถานการณ์สุขภาพระดับพื้นที่ และการเขียนโครงการคุณภาพ ตามแผนงาน 10 ประเด็น
• กรรมการกองทุนตำบลและผู้รับทุน ได้การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการผ่านระบบ บนเว็บไซต์ (Website) และฝึกนำเสนอโครงการที่พัฒนา เพื่อรองรับการเสนอและอนุมัติต่อไป

 

0 0

57. ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ(กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน 10 ประเด็น,อ.หนองจิก,อ.ยะหริ่ง ครั้งที่ 2

วันที่ 22 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

• ชี้แจงโครงการ เป้าหมาย และทบทวนผลการดำเนินงานของกองทุนศูนย์เรียนรู้ อำเภอหนองจิก 13 แห่ง อำเภอยะหริ่ง  9  แห่ง ติดตามการจัดทำแผนการเงิน และแผนการดำเนินงาน ตามเป้าหมาย 10 ประเด็น • ทีมวิทยากรร่วม จำนวน 4 คน ได้จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ของกองทุนสุขภาพตำบล การจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่ม
• กิจกรรมเริ่มด้วยการชี้แจงโครงการและเป้าหมายที่ต้องให้มีการจัดทำแผนงานโครงการที่มีคุณภาพ  กรรมการสามารถพิจารณาโครงการที่เกิดประโยชน์สูงสุดกับชุมชน การใช้งบประมาณที่สมเหตุสมผล สำหรับผู้รับทุนสามารถดูแผนงานที่กองทุนได้เขียนไว้ในระบบ และสามารถเขียนโครงการผ่านระบบ • มีการชี้แจงรายละเอียดประเภทหรือกลุ่มของโครงการ
• การฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการ • การนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ / จากการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติทุกกลุ่มสามารถเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการบรรยายจาก ทีมวิทยากร และผู้เข้าร่วมประชุมสามารถทำกิจกรรม และให้ความสนใจ ในประเด็น ดังต่อไปนี้ • การแนะนำเว็บไซต์ (Website) กองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 12 แนวทางการเขียนโครงการเพื่อขอรับทุน
การแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเขียนโครงการในระบบได้ โดยมีการนำเสนอตัวอย่างโครงการของแต่ละกลุ่มของกองทุน มีการวิพากษ์ระหว่างกลุ่มและทีมวิทยากร การให้ข้อเสนอแนะโครงการ • กรรมการกองทุนสามารถพิจารณาในรายละเอียดโครงการความสมเหตุสมผลได้ • ผลการติดตามกองทุนศูนย์เรียนรู้ ทั้ง 2 อำเภอ • มีการนำเสนอ/การสรุปผลการดำเนินงานและ การประเมินคุณค่าโครงการ / จากการเรียนรู้ฝึกปฏิบัติทุกกลุ่มสามารถเขียนโครงการในระบบ บนเว็บไซต์ (Website)ได้

 

0 0

58. กส.5/5 ประชุมติดตามประเมิน และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. ครั้งที่ 5 จ.พัทลุง

วันที่ 25 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 25 มกราคม 2567
08.30-09.00 น ลงทะเบียนผู้เข้าประชุม คณะทำงาน
เวลา 09.00 น. นายสมนึก  นุ่นด้วง ผู้ประสานงานโครงการ ดำเนินการประชุมเชิงปฏิบัติการตามวาระดังนี้
วาระที่ 1 แจ้งเพื่อทราบ
1.1 จากการประชุมผู้ประสานงานหลักทุกเขต ได้มีการปรับปรุงแบบเก็บข้ออมูลให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น และตัดข้อมูลที่ไม่จำเป็น กล่าวคือตัดข้อมูลชุมชนจาก 52 ข้อเหลือ 50 ข้อ
1.2 สนส.มอ. ได้มอบหมายให้คณะทำงานเขต 12 จังหวัดพัทลุง เป็นผู้ประสานงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายและพัฒนาพื้นที่สุขภาวะส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่คำนึงถึงความปลอดภัยในพื้นที่ร่วมกับ สมาคมองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดสุราษฎร์ธานี
1.3 สนส.มอ. ได้คัดเลือกเอาพื้นที่ตำบลนาท่อม เป็นพื้นที่เด่นเพื่อการแลกเปลี่ยนกับภาคีเครือข่ายในการพัฒนาแผนกิจกรรมทางกายและตำบลบูรณาการอาหารของท้องถิ่น  ในวันที่ 27 มกราคม 2567 ณ ห้องประชุม สนส.มอ.โดยมีกลไกขับเคลื่อนประเด็น คุณกชกานต์  คงชู  คุณไพลิน  ทิพย์สังข์  คุณสมนึก  นุ่นด้วง  และกลไกระดับตำบล ระดับพื้นที่ จะได้เข้าร่วมกิจกรรม 13 คน
1.4 ได้ประสานงานกับเลขา พชอ. กงหรา แล้ว ในปีงบประมาณ 2567 พชอ.ได้กำหนดประเด็น สุขภาพจิต ประเด็นผู้สูงอายุ และประเด็นโรคเรื้อรัง จึงให้กองทุนในอำเภอกงหราได้พิจราณาสนับสนุนนโยบาย พชอ. ด้วย

09.30-10.30 น ทบทวนแผนงานกองทุนปี 2567 คณะวิทยากร
10.30-10.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 น ทบทวนแผนงานกองทุนปี 2567 คณะวิทยากร
12.00-13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 น ทบทวนโครงการปี 2567 คณะวิทยากร
14.30-14.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.30-16.30 น ทบทวนโครงการปี 2567 คณะวิทยากร

วันที่ 26 มกราคม 2567
09.00-10.30 น สรุปความก้าวหน้าโครงการที่พัฒนาโครงการที่อนุมัติโครงการที่ตอบสนองนโยบาย พชอ คณะวิทยากร
10.30-10.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 น พัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุน คณะวิทยากร
12.00-13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 น พัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุน คณะวิทยากร
14.30-14.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.30-16.30 น วางแผน แบ่งงานเพื่อการดำเนินงานในกิจกรรมต่อๆไป คณะทำงาน/ผู้ประสานงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามความก้าวหน้า ผลลัพธ์การขับเคลื่อนโครงการ โดยให้ทุกกองทุนตรวจสอบแผนสุขภาพกองทุน ปี 2567  รายละเอียด ดังนี้
2.1 ความสมบูรณ์ของแผนงาน ปี 2567  จำนวน          153 แผนงาน จาก 14 กองทุน ที่ประกอบด้วย
1. ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ 2 มิติ (จำนวน และร้อยละ)
2. ข้อมูลการกำหนดเป้าหมาย 1 ปี 4 มิติ(จำนวน ร้อยละ เชิงบวก และเชิงลบ)
3. แนวทางและวิธีการเพื่อการดำเนินงานสู่เป้าหมาย วิเคราะห์ตามปัจจัยกำหนดสุขภาพ (มีไว้ให้ในระบบครบทุกแผนแล้ว)
4. งบประมาณ
5. โครงการที่ควรดำเนินการ
2.2  โครงการที่พัฒนาผ่านเว็บ ปี 2567  เฉพาะ 10 แผนงานที่กำหนดในโครงการการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน  และ 2 แผนงานที่เป็นยุทธศาสตร์ พชอ กงหรา รวมจาก 14 กองทุนจำนวน  129  โครงการ
2.3  โครงการที่ได้รับการอนุมัติให้ดำเนินการปี 2567
เฉพาะ 10 แผนงานที่กำหนดในโครงการการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอเพื่อการจัดการระบบสุขภาพชุมชน รวมจาก 14 กองทุนจำนวน  30  โครงการ  ส่วนที่อยู่ในแผนที่นอกเหนือเพราะเป้นยุทธศาสตร์ของ พชอ. กงหรา  13 โครงการ

2.4  โครงการที่ตอบยุทธศาสตร์ พชอ.(ศรีนครินทร์) ที่ได้รับอนุมัติ
- แผนงานกิจกรรมทางกายจำนวน  7 โครงกร รวมงบประมาณ  97,000 บาท
- แผนงานอาหารและโภชนาการ จำนวน 2 โครงการ  รวมงบประมาณ  52,650 บาท

2.5 โครงการที่ตอบยุทธศาสตร์ พชอ.(กงหรา) ที่ได้รับอนุมัติ
- แผนงานสุขภาพจิต จำนวน  0 โครงกร รวมงบประมาณ  0  บาท
- แผนงานผู้สูงอายุ จำนวน 2 โครงการ  รวมงบประมาณ  25,000 บาท
- แผนงานโรคเรื้อรัง จำนวน 3 โครงการ  รวมงบประมาณ  35,000 บาท
2.6 พี่เลี้ยงกองทุน คณะทำงานระดับพื้นที่ที่ได้รับพัฒนาให้ใช้เว็บได้  83 คน

 

22 0

59. ประชุม สรุปผลโครงการ ประเมินผลโครงการ การเก็บข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ จังหวัดสงขลา

วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการการสรุปโครงการ การประเมินผลโครงการ การเก็บข้อมูลสถานการณ์ปัญหาเพื่อจากทำแผนสุขภาพกองทุน และการถอดบทเรียนความสำเร็จโครงการ แก่ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับงานกองทุนฯ และผู้เกี่ยวข้อง  วันที่ 4 เมษายน 2566 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ………………………………..

เวลา 08.30 -  09.00 น. -  ลงทะเบียน เวลา 09.00 – 12.00 น. -  การสรุปผลโครงการและการประเมินผลโครงการ ปี 2566 (การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในการขับเคลื่อนเป้าหมาย
ประเด็นอาหาร กิจกรรมทางกาย สุราและสิ่งเสพติด ยาสูบ
                    ปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่ อุบัติเหตุทางถนน มลพิษจาก                     สิ่งแวดล้อม และสุขภาพจิต) - การเก็บข้อมูลสถานการณ์ปัญหาเพื่อการทำแผนสุขภาพ                     กองทุน ปี 2568 เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 15.30 น. -    การถอดบทเรียนความสำเร็จโครงการ เวลา 15.30 – 16.00 น. -    ปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จำนวนกองทุนที่เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ  12 กองทุน
  • จำนวนผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติ ฯ                  59 คน

 

60 0

60. กส.5/6 ประชุมติดตามประเมิน และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.ครั้งที่ 5 จ.พัทลุง

วันที่ 5 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงทะเบียนผู้เข้าประชุม
ติดตามความก้าวหน้า แผนงานผ่านเว็บ
พักรับประทานอาหารว่าง
ติดตามความก้าวหน้า โครงการผ่านเว็บ
แนวทางการประเมินทางวิชาการโดยการตอบแบบสอบถาม 3 ระดับ (คณะทำงาน 2 ระดับ และภาคี)
และวางแผนการเก็บข้อมูลครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ความสมบูรณ์ของแผนงานผ่านเว็บ...14 กองทุน..
โครงการผ่านเว็บรายกองทุน...14 กองทุน.
คณะทำงานตอบแบบสอบถามของทีมวิชาการ..22...คน
รายชื่อผู้เข้าอบรมเก็บข้อมุูลกองทุนละ 4+1 คน
(ปรากฏตามเอกสารแนบไฟล์)

 

22 0

61. การสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบลอำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนกองทุนลงพื้นที่เพื่อสำรวจสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบลอำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง จ.ปัตตานี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกกองทุน..ได้ดำเนินการสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบลละ 301 ตัวอย่าง สำหรับสถานการณ์สุขภาพกองทุนตำบล ของอำเภอหนองจิก จำนวน 13 กองทุน รวมทั้งสิ้น 3,913 ตัวอย่าง สำหรับสถานการณ์สุขภาพกองทุนตำบล ของอำเภอยะหริ่ง จำนวน 9 กองทุน รวมทั้งสิ้น 2,709 ตัวอย่าง

 

22 0

62. การสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบล อำเภอเมืองปัตตานี ครั้งที่ 2

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตัวแทนกองทุนลงพื้นที่เพื่อสำรวจสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบลอำเภอเมืองปัตตานี 10 กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกกองทุน..ได้ดำเนินการสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบลละ 301 ตัวอย่าง สำหรับสถานการณ์สุขภาพกองทุนตำบล ของอำเภอเมืองปัตตานี จำนวน 10 กองทุน รวมทั้งสิ้น 3,010 ตัวอย่าง

 

10 0

63. ประชุมติดตามการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ และถอดบทเรียนความสำเร็จโครงการ ฯ จังหวัดสงขลา

วันที่ 21 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-  ทบทวนการดำเนินงานโครงการ ฯ - ประชุมติดตามการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ รายกองทุน - ถอดบทเรียนความสำเร็จโครงการ ฯ - ปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ - ปิดการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กองทุนอยู่ระหว่างการดำเนินการให้อาสาสมัครลงเก็บข้อมูลในพื้นที่ ภาพรวมมีความก้าวหน้า ประมาณ ร้อยละ 15 คาดว่าจะเสร็จทันตามกำหนดระยะเวลาที่กำหนด
  • ผลการถอดบทเรียนความสำเร็จ ฯ
  • รายงานปัญหา/อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

 

27 0

64. ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามรายงานและประเมินคุณค่าโครงการ จ.พัทลุง

วันที่ 27 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-09.00 น ลงทะเบียน
            กองทุนลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรม 10 กองทุน(กองทุนที่ไม่ได้เข้าร่วมกิจกรรม 4 กองทุน คือ ชุมพล/ลำสินธุ์/คลองเฉลิม/แพรกหา)
            ผู้รับผิดชอบโครงการ 42 คน
            คณะทำงานระดับตำบล 10 คน
            คณะทำงานระดับจังหวัด 8 คน(คณะทำงานระดับจังหวัดเขต 11 จำนวน 1 คน)
09.00-10.30 น. ทบทวนรายละเอียดโครงการ/ปฏิทินโครงการ โดยนางกชกานต์ คงชู เป็นวิทยากรหลัก และมีคณะวิทยากร เป็น facilitator
10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ (การลงรายงานกิจกรรม/รายงานการเงิน/การลงภาพประกอบ/การแนบไฟล์เอกสาร)

            กองทุน ทต.บ้านนา โครงการที่รายงานติตาม 5โครงการ
            กองทุน ทต.อ่างทอง โครงการที่รายงานติตาม 6.โครงการ
            กองทุน ทต.กงหรา โครงการที่รายงานติตาม.....4.โครงการ
            กองทุน ทต.คลองทรายขาว โครงการที่รายงานติตาม....6.โครงการ
            กองทุน ทต.ชะรัด โครงการที่รายงานติตาม.....8. โครงการ..
            กองทุน ทต.สมหวัง โครงการที่รายงานติตาม....6...โครงการ
          กองทุน ทต.นาขยาด โครงการที่รายงานติตาม....3.....โครงการ
          กองทุน ทต.บ้านสวน โครงการที่รายงานติตาม.....6..โครงการ
          กองทุน อบต.ชะมวง โครงการที่รายงานติตาม....1...โครงการ
          กองทุน อบต.พนมวังค์ โครงการที่รายงานติตาม....7...โครงการ
          สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน 3โครงการ โดยนางสาวไพลิน ทิพย์สังข์
              1. กองทุนตำบลชะรัด
              2. กองทุนตำบลชะมวง
              3. กองทุนตำบลบ้านสวน

12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. การประเมินคุณค่าโครงการโดยนายเสงี่ยม ศรีทวี เป็นวิทยากรหลัก และคณะวิทยากร เป็น facilitator
          กองทุน ทต.บ้านนา โครงการที่ประเมินคุณค่า..1  โครงการ
          กองทุน ทต.อ่างทอง โครงการที่ประเมินคุณค่า..5.โครงการ
          กองทุน ทต.กงหรา โครงการที่ประเมินคุณค่า....4....โครงการ
          กองทุน ทต.คลองทรายขาว โครงการที่ประเมินคุณค่า...6.....โครงการ
          กองทุน ทต.ชะรัด โครงการที่ประเมินคุณค่า....4....โครงการ
          กองทุน ทต.สมหวัง โครงการที่ประเมินคุณค่า....6....โครงการ
          กองทุน ทต.นาขยาด โครงการที่ประเมินคุณค่า....3....โครงการ
          กองทุน ทต.บ้านสวน โครงการที่ประเมินคุณค่า....1....โครงการ
          กองทุน อบต.ชะมวง โครงการที่ประเมินคุณค่า...1.....โครงการ
          กองทุน อบต.พนมวังค์ โครงการที่ประเมินคุณค่า...7....โครงการ

14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง
15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน 3โครงการ โดยนางสาวไพลิน ทิพย์สังข์
            1. กองทุนตำบลพนมวังก์
            2. กองทุนตำบลบ้านนา
            3. กองทุนตำบลนาขยาด
สรุปและปิดการประชุม โดย นางจิรนันท์์ ช่วยศรีนวล วิทยากรกลุ่ม /ผู้ประสานงานเขต 11 อำเภอชะอวด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนที่เข้าร่วม 10 กองทุน
กองทุนที่ไม่ได้เข้าร่วม 4 กองทุน
คณะทำงานระดับกองทุน 10 คน
คณะทำงานระดับจังหวัด/ผู้ประสานงานเขต 8 คน
จำนวนโครงการที่ได้รายงานติดตาม......52.......โครงการ
จำนวนโครงการที่ได้ประเมินคุณค่า.......38........โครงการ

 

80 0

65. อบรมการติดตามประเมินผล จังหวัดตรังและการเก็บข้อมุลครั้งที่ 2

วันที่ 30 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ทำ  ที่ได้ปฎิบัติจริง    เวลา 08.30 -09.00 น. ลงทะเบียน  กองทุนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน  5  กองทุน  ได้แก่  กองทุน  ทต.ย่านตาขาว  กองทุน ทต.นาวง กองทุน ทต.โคกหล่อ  กองทุน อบต.หาดสำราญ  กองทุน  อบต.นาโยงเหนือ  ผู้รับผิดชอลกองทุน  จำนวน  5  คน  คณะทำงาน  จำนวน  5  คน  ผู้เข้าร่วมจำนวน  15  คน
เวลา  09.00-  12.00น.  ทบทวนรายละเอียดโครงการ    กระบวนการปฎิบัติการ  การติดตามโครงการ  (การลงรายงานกิจกรรม/รายงานการเงิน  การลงภาพประกอบ/การแนบไฟล์เอกสาร  ต่างๆๆ
เวลา  13.00 - 16.00น.  การประเมินคุณค่าของโครงการ  การนำเสนอของกองทุนทั้ง 5  พื้นที่  โดยการนำมาเปิดดูแต่ละพื้นที่  เพื่อได้ประเมินร่วมกัน  มีการเสนอแนะจากทีมพี่เลี้ยงคณะทำงาน  มีการลงข้อมูลเพิ่มเติม  ส่วนไหนที่ยังมีข้อมูลไม่ครบถ้วน ได้ดำเนินการให้แต่ละพื้นที่ลงข้อมูลให้สมบูรณ์    และมีการดูในส่วนของการเก็บข้อมุลสถานการณ์ในครั้งที่ 2  ทั้ง 5  กองทุน  ครบตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนทั้ง 5 กองทุนได้เข้าร่วมครบตามกำหนด  ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น  มีการติดตามโครงการแต่ละพื้นที่ครบตามตัวชี้วัดที่ทางเขตกำหนดไว้  มีแผนครบตามที่กำหนดไว้  มีโครงการที่ได้รายงานติดตาม  ของแต่ละกองทุนตามที่กำหนดไว้ มีโครงการที่แต่ละกองทุนได้ประเมินคุณค่าไว้

 

17 0

66. การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น(ครั้งที่2) จ.พัทลุง

วันที่ 31 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานกองทุนตำบล ดำเนินการจัดเก็บข้อมุลสถานการณ์สุขภาพ
การเก็บข้อมูลสถานการณ์ชุมชน 9 ประเด็น 3 ระดับ (ตั้งแต่วันที่ 14 พฤษภาคม -30 พฤษภาคม 2567 ) ดังนี้
1. ข้อมูลชุมชน 1 ชุดให้คณะทำงานกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน)รับผิดชอบ.
2. ข้อมูลครัวเรือน 100 ชุดให้กระจายทุกหมู่บ้านในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน
3. ข้อมูลบุคคลบ้านละ 1-2 คน จะได้ข้อมูลบุคคล 200-400 คน ทำต่อเนื่องจากข้อมูลครัวเรือน
พัทลุงและ จ่ายเป็นค่าตอบแทนคณะทำงาน กองทุนละ 4500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุน    ชุมชน  ครัวเรือน  บุคคล
ตำบลอ่างทอง  1    123    208
ตำบลลำสินธุ์  1  200    205
ตำบลบ้านนา  1    197    434
ตำบลชุมพล  1  113    208
ชะรัด    1  104  213
คลองเฉลิม  1  243  200
สมหวัง    1  101  248
กงหรา    1    216    217
คลองทรายขาว  1    101  206
บ้านสวน    1  117  284
แพรกหา    1  202  207
ชะมวง    1  147  210
นาขยาด    1    206  205
พนมวังก์    1    101  215

 

70 0

67. การประกวดวิชาการกองทุนดีเด่นระดับจังหวัด ( ดำเนินการวันที่ 25 มิ.ย.2567 ) จ.ปัตตานี

วันที่ 25 มิถุนายน 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีนำเสนอผลการดำเนินงานกองทุนศูนย์เรียนรู้และกองทุนทั่วไป  ตามโครงการบูรณาการกลไกสร้างสุขภาวะระดับตำบล  อำเภอหนองจิก  ยะหริ่ง  และเมืองปัตตานี  จ.ปัตตานี    โดยการประกวดดังกล่าวแบ่งการประกวดเป็น  2 ประเภท 1.ประเภท oral presentation  มีกองทุนเข้าร่วมประกวดทั้งหมด 9 กองทุน 2.โปสเตอร์ presentation  มีกองทุนเข้าร่วมประกวด  ทั้งหมด  14  กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เวทีนำเสนอผลการดำเนินงานกองทุนส่วนเรียนรู้และกองทุนทั่วไป  ตามโครงการบูรณาการกลไกสร้างสุขภาวะระดับตำบล  อำเภอหนองจิก  ยะหริ่ง  และเมืองปัตตานี  ณ หอประชุมอำเภอเมืองปัตตานี  จังหวัดปัตตานี  วันที่ 25  มิถุนายน  2567
โดยในวันดังกล่าว  ได้รับเกียรติจากท่านรองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี  นายสนั่น  สนธิเมือง เป็นประธานเปิดงาน พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่จากสถาบันนโยบายสาธารณะ มอ.หาดใหญ่ ( สนส. มอ.) เจ้าหน้าที่จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ( สสส.) กทม .และพี่เลี้ยงกองทุนและผู้รับผิดชอบงานกองทุน  ทั้ง 3 อำเภอ ประมาณ  150 คน ร่วมงานในพิธีเปิดดังกล่าว
ตลอดจนได้รับเกียรติ จากกรรมการการตัดสิน จากหน่วยงานภาคีเครือข่าย  อาทิเช่น บุคลากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี  ท้องถิ่นอำเภอหนองจิก  ท้องถิ่นอำเภอยะหริ่ง  องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี  และโรงพยาบาลปัตตานี  ร่วมเป็นกรรมการในการตัดสิน  โดยการประกวดดังกล่าวแบ่งการประกวดเป็น  2 ประเภท 1.ประเภท oral presentation  มีกองทุนเข้าร่วมประกวดทั้งหมด 10 กองทุน 2.โปสเตอร์ presentation  มีกองทุนเข้าร่วมประกวด  ทั้งหมด    กองทุน หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมดังกล่าว สรุปผลการประกวดกองทุนดังต่อไปนี้ ประเภท oral presentation
รางวัลที่ 1 กองทุนตำบลตันหยงลุโละ  ได้รับโล่ห์รางวัล พร้อมเงินรางวัล 2,000 บาท รางวัลที่ 2 กองทุนเทศบาลตำบลบ่อทอง  ได้รับโล่ห์รางวัล  พร้อมเงินรางวัล  1,500 บาท
รางวัลที่ 3 กองทุนตำบลคลองมะนิง  ได้รับโล่ห์รางวัล  พร้อมเงินรางวัล  1,000 บาท
สำหรับรางวัลชมเชยได้แก่ 1.กองทุนตำบลเทศบาลตำบลหนองจิก    2.กองทุนตำบลบางเขา 3.กองทุนตำบลเทศบาลตำบลตอหลัง      4.กองทุนตำบลท่ากำชำ 5.กองทุนตำบลตะโละกาโปร์              6.กองทุนตำบลหนองแรด ประเภท โปสเตอร์  presentation
รางวัลที่ 1  กองทุนตำบลตาลีอายร์ ได้รับโล่ห์รางวัล  พร้อมเงินรางวัล  2,000 บาท
รางวัลที่ 2. กองทุนตำบลบางตาวา  ได้รับโล่ห์รางวัล  พร้อมเงินรางวัล  1,500 บาท
รางวัลที่ 3  กองทุนตำบลดาโต๊ะ  ได้รับโล่ห์รางวัล  พร้อมเงินรางวัล  1,000 บาท
สำหรับรางวัลชมเชย  ได้แก่ 1.กองทุนตำบลดอนรัก      2.กองทุนตำบลยาบี        3.กองทุนตำบลเกาะเปาะ  4.กองทุนตำบลคอลอตันหยง 5.กองทุนตำบลลิปะสะโง  6.กองทุนตำบลตุยง        7.กองทุนตำบลตะโละ      8.กองทุนตำบลปุโละปุโย 9.กองทุนตันหยงดาลอ    10.กองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง  11.กองทุนตำบลปิยะมุมัง

 

150 0

68. กส.5/7 ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนโครงการ จ.พัทลุง

วันที่ 9 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-09.00 น ลงทะเบียน คณะทำงาน
09.00-10.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ โดยสมนึก นุ่นด้วง
10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งกลุ่มนำเสนอผลลัพธ์ความสำเร็จตาม ตัวชี้วัด และปัจจัยความสำเร็จ/ข้อจำกัด
(เสริฟอาหารว่างในกระบวนการ) คณะวิทยากร
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนากองทุน คณะวิทยากร
14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง
15.00-16.00 น นำเสนอและเรียนรู้ร่วมกัน คณะวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พื้นที่ดำเนินการโครงการ
1. กองทุนศุนย์เรียนรุ้ 9 กองทุน
2. กองทุนทั่วไป 5 กองทุน
กลไกพี่เลี้ยง 22 คน
พี่เลี้ยงระดับจังหวัด  8 คน
พี่เลี้ยงระดับกองทุน 14 คน
พี่เลี้ยงกองทุน และภาคีผู้ขอรับทุน  ที่ได้รับการพัฒนาให้เขียนโครงการผ่านเว็บได้  83 คน
กองทุนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบ 8 กองทุน (ยกเว้น กงหรา, สมหวัง, คลองเฉลิม, แพรกหา, นาขยาด, พนมวังก์)
มีกิจกรรมที่ดำเนินการต่อเนื่องตามแผน  23 กิจกรรม ใช้งบประมาณ 585,194.00 บาท (ใช้เกินงบ 3994.00บาท)
มีแผนงานครบ 10 แผน จำนวน 14 กองทุน
มีโครงการที่พัฒนาขอรับผ่านเว็บ ปี 2566 จำนวน.    214.....โครงการ
มีโครงการที่ได้รับงบ ปี 2566 จำนวน...296...โครงการเป็นเงิน...... 5,709,100.00 บาท
มีโครงการที่พัฒนาขอรับผ่านเว็บ ปี 2567 จำนวน...273...โครงการ
มีโครงการที่ได้รับงบ ปี 2567 จำนวน...232...โครงการ  เป็นเงิน..... 5,439,198.00 บาท
กองทุนศูนย์เรียนรู้ต้นแบบผ่านตัวชี้วัด  6 กองทุน (มีแผนที่กำหนดครบ 10  มีโครงการได้รับอนุมัติอย่างน้อย 7 โครงการ) ได้แก่
1. อำเภอศรีนครินทร์ 4 กองทุน ผ่านตัวชี้วัด    ชุมพล,อ่างทอง,ลำสินธุ์,บ้านนา
2. อำเภอกงหรา 5 กองทุน ผ่านตัวชี้วัด  ชะรัด,คลองทรายขาว,  (ไม่ผ่านตัวชี้วัด กงหรา, สมหวัง, คลองเฉลิม )
กองทุนทั่วไป จำนวน 5 กองทุน    ผ่านตัวชี้วัด 3 กองทุน คือ  พนมวังก์, ชะมวง,บ้านสวน (ไม่ผ่าน แพรกหา, นาขยาด,)

รายละเอียดอื่นๆ ดูได้จากไฟล์เอกสารแนบมาด้วยแล้ว

 

64 0

69. ประชุมคณะทำงานทบทวนผลลัพธ์

วันที่ 17 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานปฏฺบัติการทบทวนผลลัพธ์
เวลา 09.00-09.30 น. สร้างความเข้าใจการทบทวนรายงานผลลัพธ์ ในรายประเด็น
เวลา 09.30-12.00 น.ทบทวน ตรวจสอบ
ความสมบูรณ์ของแผนงานผ่านเว้บ
จำนวนโครงการจาก 10 แผนงานยุทธศาสตร์
จำนวนโครงการจากแผนงานอื่นๆ
12.00-13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00-16.00 น ทบทวน ตรวจสอบ
โครงการที่พัฒนาขอรับทุน
จำนวนงบประมาณที่ได้รับ
โครงการที่เข้าสู่ระบบติดตาม
โครงการเด่น
กองทุนศูนย์เรียนรู้
จำนวนภาคีผู้ขอรับทุน
จำนวนคนที่สามารถเขียนโครงการผ่ายเว้บได้
โดยมีนายสมนึก นุ่นด้วงเป็นวิทยากรดำเนินการประชุม

เสริฟอาหารว่าง เช้า-บ่าย ในระหว่างการประชุมปฏิบัติการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตลอด 2ปี มีโครงการผ่านเว็บได้รับอนุมัติ 530 โครงการ งบประมาณ 9,597,373 บาท
รายละเอียดตามไฟล์เอกสารแนบ

 

22 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กองทุนศูนย์เรียนรู้ (2) กองทุนสมัครใจเข้าร่วม (3) ทบทวนพัฒนาแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปี 2566 จ.พัทลุง (4) ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ. ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง (5) ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ  อ.กงหรา จ.พัทลุง (6) สรุปประชุมการดำเนินงาน พื้นที่สุขภาพเขต 10  จังหวัดอุบลราชธานี (7) ประชุมสร้างความเข้าใจคณะทำงาน ครั้งที่ 1 จ.พัทลุง (8) ประชุมความร่วมมือ(MOU)กับ พชอ. กองทุนสุขภาพตำบล 2 อำเภอ (9) ประชุมความร่วมมือ(MOU)กับ พชอ. กองทุนสุขภาพตำบล 1 อำเภอ (10) ประชุมสร้างความเข้าใจกลไกติดตามงาน พชอ.พชต.กองทุน ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง (11) ประชุมคณะทำงานจังหวัดตรัง (12) จังหวัดสงขลา จดประชุมเชิงปฏิบติการการทบทวนแผนสุขภาพและแผนการเงินของกองทุนตำบลกับโครงการ ฯประเด็นเป้าหมายของโครงการสุขภาวะ 8 ประเด็น (13) ประชุมสร้างความเข้าใจแก่กรรมการและหน่วยขอรับงบสนับสนุนกองทุน กองทุน 5  กองทุน  จังหวัดตรัง (14) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองเปียะ (15) ก.5/1ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่1 จ.พัทลุง (16) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/ทต.นาทับ (17) ก.3 ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล จ.พัทลุง (18) การอบรมการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงกองทุน ของอ.หนองจิก  และ อ.ยะหริ่ง  จ.ปัตตานี (19) การประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล โดยใช้ระบบซูม จ.ปัตตานี (กองทุนสมัครใจ) (20) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองทราย (21) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.วังใหญ่ (22) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/ อบต.สะกอม (23) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.นาหม่อม (24) ประชุมภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนประเด็นร่วม พชอ. MoU จ.พัทลุง (25) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.พิจิตร (26) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.คลองหรัง (27) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.ทุ่งขมิ้น (28) จังหวัดสงขลาลงพื้นที่ปรับปรุงแผนสุขภาพ แผนเงินกองทุนและสอนการใช้การเขียนโครงการสุขภาวะผ่านเวปไซด์ https://localfund.happynetwork.org/อบต.แค (29) จังหวัดสงขลา ประชุมเชิงปฏิบัตการณ์อาสาสมัครในการเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพด้วยระบบGoogle Form ด้วยโทรศัพท์มือถือ (30) อบรมการเก็บข้อมูลด้วยระบบCoogle  Form  จังหวัดตรัง (31) จังหวัดสงขลา ลงพื้นที่เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพด้วยระบบGoogle Form 10 กองทุน (32) การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น(ครั้งที่ 1) จ.พัทลุง (33) จังหวดสงขลา ประชุมความร่วมมือ (MOU.) ผ่านกลไก พชอ.นาหม่อมกับกองทุนตำบล 1 อำเภอ (34) ประชุมติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่ 2 จ.พัทลุง (35) อบรมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นจากพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับตำบล  อ.หนองจิก และอ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี (36) อบรมเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์และลงแผนงาน 10 ประเด็นจากพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับตำบล  อ.เมือง จ.ปัตตานี (37) ประชุมเพื่อพัฒนาแผนงานและโครงการฯ (กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน) 10 ประเด็น อ.หนองจิก และ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี (38) จังหวัดสงขลา ประชุมเชิงปฏิบติการพัฒนาศักยภาพกองทุน การพัฒนาโครงการ สรุปผลการดำเนินงาน และการติดตามประเมินผลโครงการ (39) ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ(กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน 10 ประเด็น) อ.เมืองปัตตานี (40) อบรมการพัฒนาแผนกองทุนพร้อมพัฒนาโครงการของปี  2566  จังหวัดตรัง (41) ก.5 ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์  ครั้งที่ 1 รอบที่ 1-3 จ.พัทลุง (42) รายงานความก้าวหน้า (กองทุนศูนย์เรียนรู้)ให้กับ พชอ.ทั้ง 2 อำเภอ จ.ปัตตานี    ครั้งที่ 1 จ.ปัตตานี (43) ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟัง ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ อ.หนองจิก อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี (44) รายงานความก้าวหน้า (กองทุนสมัครใจ)ให้กับ พชอ. อำเภอเมือง จ.ปัตตานี    ครั้งที่ 1 จ.ปัตตานี (45) ประชุมกลไกติดตามงาน พชอ. ติดตามประเมินความก้าวหน้าครั้งที่3  ถอดบทเรียน ครั้งที่1 จ.พัทลุง (46) ติดตาม ประเมินศักยภาพกองทุน เยี่ยมเสริมพลังพร้อมรับฟัง ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ อ.เมือง จ.ปัตตานี (47) การติดตามประเมินความก้าวหน้าโครงการ ปี 2566และประชุมเชิงปฎิบัติการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงินกองทุน ปี 2567 จังหวัดสงขลา (48) ก.6 อบรมการติดตาม ประเมินคุณค่าโครงการ อ.ควนขนุน จ.พัทลุง (49) พัฒนาแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล ปี 2567 จ.พัทลุง (50) รายงานความก้าวหน้า (กองทุนศูนย์เรียนรู้)ให้กับ พชอ.ทั้ง 2 อำเภอ จ.ปัตตานี    ครั้งที่ 2 จ.ปัตตานี (51) ประชุมเชิงปฏิบัติการการทำแผนสุขภาพกองทุน แผนการเงินกองทุน ปี 2567และการเขียนโครงการระบบออนไลน์เวปไซด์กองทุน ฯ จังหวัดสงขลา (52) กส.5/4 ประชุมติดตามประเมิน  และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.ครั้งที่4 จ.พัทลุง (53) รายงานความก้าวหน้า (กองทุนสมัครใจ)ให้กับ พชอ. อำเภอเมือง จ.ปัตตานี    ครั้งที่ 2 (54) ประสานงาน พชอ.กงหรา (55) ก.5 พัฒนาโครงการผ่านเว็บกองทุน ครั้งที่ 2 รุ่นที่ 1 จ.พัทลุง (56) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ( ระดับอำเภอ ตำบล ) อ.หนองจิก และอ.ยะหริ่ง ครั้งที่ 2 (57) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ ( ระดับอำเภอ ตำบล ) อ.เมืองปัตตานี ครั้งที่ 2 (58) ก.5 พัฒนาโครงการเน้นผลลัพธ์ ครั้งที่ 2 รุ่นที่ 2 จ.พัทลุง (59) ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ( กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน ) ครั้งที่ 2 อำเภอเมืองปัตตานี  จังหวัดปัตตานี (60) ประชุมเพื่อพัฒนาพร้อมประเมินศักยภาพทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯ(กรรมการกองทุน/ผู้รับทุน 10 ประเด็น,v.หนองจิก,อ.ยะหริ่ง ครั้งที่ 2 (61) กส.5/5 ประชุมติดตามประเมิน  และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ. ครั้งที่ 5 จ.พัทลุง (62) อบรมการติดตามประเมินผล จังหวัดตรัง (63) ประชุม สรุปผลโครงการ ประเมินผลโครงการ การเก็บข้อมูลสถานการณ์ปัญหาสุขภาพ จังหวัดสงขลา (64) กส.5/6 ประชุมติดตามประเมิน  และรายงานความก้าวหน้าให้กับ พชอ.ครั้งที่ 6 จ.พัทลุง (65) การสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบลอำเภอหนองจิก และอำเภอยะหริ่ง จ.ปัตตานี ครั้งที่ 2 (66) การสำรวจสถานการณ์สุขภาพตำบล  อำเภอเมืองปัตตานี ครั้งที่ 2 (67) ประชุมติดตามการเก็บ้อมูลสถานการณ์สุขภาพ และถอดบทเรียนความสำเร็จโครงการลโครงการ จังหวัดสงขลา (68) ประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามรายงานและประเมินคุณค่าโครงการ จ.พัทลุง (69) การเก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ 9 ประเด็น(ครั้งที่2) จ.พัทลุง (70) การประกวดวิชาการกองทุนดีเด่นระดับจังหวัด  ( ดำเนินการวันที่ 25 มิ.ย.2567 )  จ.ปัตตานี (71) กส.5/7 ประชุมสรุปผลและถอดบทเรียนโครงการ จ.พัทลุง (72) ประชุมคณะทำงานทบทวนผลลัพธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 12 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด