directions_run

โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


“ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11 ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กองทุนสมัครใจทั่วไป
  2. ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบข้อมูลและทำแผนงานกองทุน
  3. ประชุมทีมคณะทำงาน ติดตามความก้าวหน้า
  4. ก.1 ประสานงานกองทุนเข้าร่วมโครงการ จ.นครศรีธธรมราช
  5. ก.2 ก.2 ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เว็บกองทุนตำบลภาคใต้ จ.นครศรีะรรมราช .
  6. 4. ประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล จ.นครศรีธรรมราช
  7. เก็บข้อมูลสถานการสุขภาพ 9 ประเด็น 3 ระดับ จ.นครศรีะรรมราช
  8. ประชุมติดตามประเมินผลความก้าวหน้า และถอดบทเรียน
  9. ประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนกองทุน ปี 2567
  10. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการปี 2567
  11. ประชุมคณะทำงานติดตามประเมินความก้าวหน้า
  12. การติดตามโครงการและประเมินผล
  13. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ครั้งที่ 2
  14. สรุป ถอดบทเรียนโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ก.1 ประสานงานกองทุนเข้าร่วมโครงการ จ.นครศรีธธรมราช

วันที่ 13 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำคณะทำงานเขต 12 โดยนายสมนึก นุ่นด้วง และนางสาวธมล มงคลศิลป์ เดินทางโดนรถยนต์ส่วนตัว ไปพบผู้บริหารกองทุนตามนัดหมาย (กองทุนที่ได้รับการแนะนำจากผู้ประสานงานเขต 11 จำนวน 5 กองทุน)ดังนี้โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ประธานกองทุน เลขากองทุน และเจ้าหน้าทีกองทุน ใช้เวลาประสานงาน 2 วันดังนี้
วันที่ 9/12/2565
นายสมนึก นุ่นด้วง และนางสาวธมล มงคลศิลป์  คณะทำงานจากเขต 12 เดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัวจาก พัทลุงถึงพื้นที่เป้าหมาย 1. กองทุน อบต.ขอนหาด 2. กองทุน อบต.วังอ่าง  3. กองทุน อบต.เขาพระทอง  4. กองทุน ทต.การะเกด 5. กองทุน อบต.เขาพระบาท เพื่อประสานงานสร้างความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมาย 1. ประธานกองทุน  2 เลขากองทุน  3. เจ้าหน้าทีกองทุน  ได้พื้นที่ตอบสมัครใจเข้าร่วม 3 กองทุน คือ 1. กองทุน อบต.ขอนหาด
2. กองทุน อบต.วังอ่าง
3. กองทุน อบต.เขาพระทอง

วันที่ 15/12/2565
นายสมนึก นุ่นด้วง และนางสาวธมล มงคลศิลป์  คณะทำงานจากเขต 12 เดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัวจาก พัทลุงถึงพื้นที่เป้าหมาย 1. กองทุน อบต.สามตำบล 2. กองทุน อบต.สวนหลวง  3. กองทุน อบต.เกาะขัน  4. กองทุน ทต.ท่าประจะ  5. กองทุน อบต.ชะอวดเพื่อประสานงานสร้างความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมาย 1. ประธานกองทุน  2 เลขากองทุน  3. เจ้าหน้าทีกองทุน  ได้พื้นที่ตอบสมัครใจเข้าร่วม 2 กองทุน คือ
1. กองทุน อบต.เกาะขัน
2. กองทุน อบต.ชะอวด

ทั้ง 2 วัน กินข้าวกลางวัน ที่ร้านดาวประดับใจ ถนนเอเชีย ตำบลเกาะขันธ์ อ.ชะอวด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้พบสร้างความเข้าใจ 10 กองทุน
  2. ได้กองทุนสมัครเข้าร่วมโครงการ 5 กองทุน คือ
        1. กองทุน อบต.ขอนหาด
        2. กองทุน อบต.วังอ่าง
        3. กองทุน อบต.เขาพระทอง
        4. กองทุน อบต.เกาะขัน
        5. กองทุน อบต.ชะอวด

 

2 0

2. ก.2 ก.2 ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เว็บกองทุนตำบลภาคใต้ จ.นครศรีะรรมราช .

วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-09.00 ลงทะเบียนผู้เข้าประชุม 11 คน (เจ้าหน้าที่กองทุน 5 คน /เลขากองทุนหรือภาคีอื่นๆ 6 คน)
09.00-10.30น.นายสมนึก นุ่นด้วง ชี้แจงรายละเอียดโครงการ แผนการดำเนินงาน บันไดผลลัพธ์ สรรหาคณะทำงานจัดโครงสร้าง
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น. นางสาวธมล มงคลศิลป์ แนะเว็บไซต์กองทุน ทุกเมนู และการสมัครเป้นสมาชิกในรหัสกองทุน โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรผู้ช่วย
12.00-13.00 น. พักรับประททานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. นางสาวไพลิน ทิพย์สังข์ แนะนำการทดลองใช้เว็บทำแผนงาน (PA) โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรผู้ช่วย
14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-15.30 น. นาสมนึก นุ่นด้วง แนะนำการทดลองเขียนโครงการผ่านเว็บ โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรผู้ช่วย
ถามตอบได้ตลอดกระบวนการ /มอบหมายให้ทุกกองทุนไปลงรายการกิจกรรมตามโครงการตัวอย่างให้เรียบร้อยภายใน 20 มค.นี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าประชุม 11 คน (เจ้าหน้าที่กองทุน 5 คน /เลขากองทุนหรือภาคีอื่นๆ 6 คน)
  2. กลุ่มเป้าหมายเข้าใจรายละเอียดโครงการ และร่วมกันจัดโครงสร้างคณะทำงานระดับพื้นที่ ดังนี้
      1. นางสาวฐิติชล แนมใสย ปลัด อบต.วังอ่าง    หัวหน้าคณะทำงาน
      2. นางสาวกชกร อ่อนขวัญ เจ้าหน้าที่กองทุน อบต.วังอ่าง ผู้ประสานงาน
      3. นางสาวประอรรัตน์ สุวรรณ์ภักดี นักจัดการทั่วไป ผู้รับผิดชอบงานกองทุน อบต.ขอนหาด คณะทำงาน
      4. นางวิไลวรรณ ศิริสภาภรณ์ นักพัฒนาชุมชนชำนาญการ อบต.เขาพระทอง คณะทำงาน
      5. นางสัญญาณัฐ ใจเพียร นักจัดการทั่วไป ผู้รับผิดชอบงานกองทุน อบต.ชะอวด คณะทำงาน
      6. นางสาวพิมพ์ศจี โรจน์มณี นักจัดการทั่วไป ผู้รับผิดชอบงานกองทุน อบต.เกาะขันธ์ คณะทำงาน
  3. กลุ่มเป้าหมายได้ทำความเข้าใจและทดลองใช้เว็บกองทุน ทำตามตัวอย่างได้

ปัญหา/อุปสรรค 1. กองทุนที่ไม่ได้นำคอมพิวมาด้วย 2 กองทุน 2. ขาดการประสานภาคีเขเ้าร่วมประชุมทั้ง 5 กองทุน 3. เลขากองทุนไม่เข้า่ร่วม 3 กองทุน

 

18 0

3. 4. ประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล จ.นครศรีธรรมราช

วันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 09.00 น กลุ่มเป้าหมายที่เป็นคณะทำงานระดับจังหวัด ร่วมประชุมออนไลน์
    กลุ่มเป้าหมาที่เป็นคณะทำงานระดับกองทุน และผู้เก็บข้อมูล  ให้รวมกันที่กองทุนภายใต้การอำนวยความสะดวกของคณะทำงานระดับกองทุน จากภาพออนไล์จะเป้นการเรียนรู้ผ่านจอโปรเจคเตอร์ โดยมีการลงทะเบียนการประชุมไว้เป้นหลักฐานอีกส่วนหนึ่ง เวลา 12.00-13.00 น พักกลางวัน 1 ชั่วโมง เวลา 13.00- 15.00 น เรียนรู้การเก็บข้อมูลเช่นเดียวกับช่วงเช้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. คณะทำงาน เข้าประชุม 5คน (ชะอวด  0คน/เกาะขันธ์ 1คน /ขอนหาด 1คน  เเขาพระทอง 1 คน /วังอ่าง  2 คน
  2. ผู้เก็บข้อมูล 5ตำบล เข้าร่วมประชุม 20 คน(ชะอวด  5คน/เกาะขันธ์ 5คน /ขอนหาด 5คน  เเขาพระทอง 4 คน /วังอ่าง  1 คน)
  3. กำหนดการเก็บข้อมูล( ตามภาพ)

 

20 0

4. เก็บข้อมูลสถานการสุขภาพ 9 ประเด็น 3 ระดับ จ.นครศรีะรรมราช

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การเก็บข้อมูลสถานการณ์ชุมชน 9 ประเด็น 3 ระดับ ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม -15 กุมภาพันธุ์ 2566  เริ่มเก็บวันที่ 15/01/66  ดังนี้
1. ข้อมูลชุมชน 1 ชุดให้คณะทำงานกองทุน(เจ้าหน้าที่กองทุน)รับผิดชอบ.
2. ข้อมูลครัวเรือน 200 ชุดให้กระจายทุกหมู่บ้านในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน
3. ข้อมูลบุคคลบ้านละ 1-2 คน จะได้ข้อมูลบุคคล 200-400 คน ทำต่อเนื่องจากข้อมูลครัวเรือน
4. ใน 1 ชุดข้อมูล จะประกอบด้วยข้อมูลครัวเรือน 5 คำถาม และข้อมูลบุคคล 24 คำถาม
5. จ่ายเป็นค่าตอบแทนคณะทำงาน กองทุนละ 2400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลำดับ  กองทุน        ชุมชน  ครัวเรือน  บุคคล
1 วังอ่าง        1 200    205
2 เกาะขันธ์        1 200    319
3 ขอนหาด        1 208    207
4 เขาพระทอง        1 400    402
5 ชะอวด        1 202    223

 

20 0

5. ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบข้อมูลและทำแผนงานกองทุน

วันที่ 11 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 10 เมษายน 2566
08.00-08.30 ลงทะเบียน โดยคณะทำงาน
08.30-10.30 สร้างความเข้าใจการเข้าถึงข้อมูล 3 ระดับ โดยคณะวิทยากร
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง โดยคณะทำงาน
10.45-12.00 ตรวจปรับปรุงข้อมูลทั้ง 3 ระดับ โดยมีคณะทำงาน/วิทยากรผู้ช่วยประจำกลุ่ม โดยคณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน โดยคณะทำงาน
13.00-14.30 ตรวจปรับปรุงข้อมูลทั้ง 3 ระดับ โดยมีคณะทำงาน/วิทยากรผู้ช่วยประจำกลุ่ม โดยคณะวิทยากร
14.30-14.45    พักรับประทานอาหารว่าง โดยคณะทำงาน
14.45-16.00 ตรวจปรับปรุงข้อมูลทั้ง 3 ระดับ โดยมีคณะทำงาน/วิทยากรผู้ช่วยประจำกลุ่ม โดยคณะวิทยากร
วันที่ 11 เมษายน 2566
08.00-08.30 ลงทะเบียน คณะทำงาน
08.30-10.30 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่ม คณะวิทยากร
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่ม คณะวิทยากร
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่ม คณะวิทยากร
14.30-14.15 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 กระบวนการปฏิบัติการจัดทำแผนรายประเด็น โดยมีคณะทำงานเป็นวิทยากรประจำกลุ่มถาม-ตอบ ของผู้เข้าร่วมประชุม และ AAR ของคณะทำงาน คณะวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้ข้อมูลสถาการณ์สุขภาพชุมชนที่ผ่านการตรวจสอบ/ปรับปรุงทั้ง 9 ประเด็นครอบคลุมทั้ง 5 กองทุน คุณภาพข้อมูลพร้อมใช้ทำแผนกองทุน
  2. ได้แผนกองทุนครบถ้วนทั้ง 9 ประเด็น 4 กองทุน (ชะอวด/วังอ่าง/เขาพระทอง/ขอนหาด) (อบต.เกาะขันไม่ได้เข้าร่วมในวันที่ 11)

 

14 0

6. ประชุมติดตามประเมินผลความก้าวหน้า และถอดบทเรียน

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.30-10.30 น ชี้วัตถุประสงค์การประชุมติดตามความก้าวหน้า และการทำแผนอำเภอ
10.30-10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 น รายงานความก้าวหน้า ผลผลิต ผลลัพธ์การขับเคลื่อนโครงการ เป็นรายกองทุนโดยเจ้าหน้าที่/ผู้แทนกรรมการกองทุน
12.00-13.00 น รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น สรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง
14.45-15.30 น วางแผนการดำเนินงานช่วงต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผนงานกองทุนมีความสมบุรณ์เพิ่มขึ้น 3 กองทุน (2 กองทุนไม่เข้าร่วม)
  2. ได้แผนการดำเนินงานครั้งต่อไป 7 กันยายน 2566 การทำแผนกองทุน ปี 2567
  3. บทเรียนจากการทำงาน

ปัจจัยความสำเร็จ
1. เจ้าหน้าที่กองทุนเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงาน สร้างความเข้าใจการใช้เว้บ การเก็บข้อมูล การทำแผนงานกองทุน
2. พี่เลี้ยงระดับเขตเป็นผู้ประสานงานหลักกับพื้นที่
3. มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน
4. ใช้ข้อมูลที่ได้จากแบบสำรวจ ร่วมกับข้อมูลจาก HDC สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช

ข้อจำกัด
1. คณะทำงานผู้ประสานงานในพื้นที่ยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่
2. การเว้นช่วง ให้มีระยะหว่างของการจัดกิจกรรมทำให้เกิดแรงเสียดทาน
3. การนำใช้เว็บกองทุนไปใช้เป็นการทำงานซ้ำซ้อน เกิดแรงต้านจากคนทำงาน

 

15 0

7. ประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนกองทุน ปี 2567

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-10.30 น. ติดตามความก้าวหน้าโครงการ แผนงาน โครงการ ปี 2566
                        แนะนำแหล่งข้อมูลมือ 2
                        แนวทางการจัดทำแผน ปี 2567
10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. การปฏิบัติการ จัดทำแผนปี 2567
                      (สถานการณ์ เป้าหมาย งบประมาณ )
12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. การปฏิบัติการ จัดทำแผนปี 2567 (ต่อ)
                      สถานการณ์ เป้าหมาย งบประมาณ )
14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง
15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนเข้าร่วมกิจกรรม 2 กองุทน จำนวน 6 คน
ได้แผนสุขภาพกองทุน 2 กองทุน เทศบาลชะอวด /อบต.เกาะขันธ์

 

20 0

8. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการปี 2567

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-10.30 ทำความเข้าใจกับแผนงานกองทุน (- สถานการณ์/- เป้าหมาย/- แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย/- โครงการที่ควรดำเนินการ)
10.30-10.45 พักรับประทานอาหารว่าง
10.45-12.00 การพัฒนาโครงการผ่านเว็บ (- การขอเป็นเจ้าของโครงการเพื่อพัฒนา/- การเขียนโครงการที่มาจากแผน/- การเขียนโครงการจากเมนูหน้าเว็บ)
12.00-13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 แนวทางและวิธีการสำคัญเพื่อสู่เป้าหมาย(- การออกแบบกิจกรรมสู่ผลลัพธ์/- การแจงรายละเอียดการเงิน/- ผลผลิต ผลลัพธ์)
14.30-14.45 พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.45-16.00 สุ่มนำเสนอโครงการของกลุ่มเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน
โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 28 คน ดังนี้
1. เจ้าหน้าที่กองทุน 3 คน (ทต.ชะอวด/อบต.ขอนหาด/อบต.เกาะขันธ์)
2. กรรมการกองทุน 3 คน
3. ผู้ขอรับทุน 19 คน
4. คณะวิทยากร 3 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนเข้าร่วม 3 กองทุน (ทต.ชะอวด/อบต.ขอนหาด/อบต.เกาะขันธ์)
พัฒนาโครงการผ่านเว็บ 17 โครงการ (ทต.ชะอวด 9 /อบต.ขอนหาด 2/อบต.เกาะขันธ์ 6)

 

35 0

9. ประชุมทีมคณะทำงาน ติดตามความก้าวหน้า

วันที่ 26 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.30-10.30 น สรุปความก้าวหน้ารายกองทุน โครงการที่ขอรับทุน โครงการที่พัฒนา โครงการที่อนุมัติ คณะวิทยากร
10.30-10.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
10.45-12.00 น พัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุน คณะวิทยากร
12.00-13.00 น พักรับประทานอาหารกลางวัน คณะทำงาน
13.00-14.30 น พัฒนาโครงการบริหารจัดการกองทุน คณะวิทยากร
14.30-14.45 น พักรับประทานอาหารว่าง คณะทำงาน
14.30-16.30 น วางแผน แบ่งงานเพื่อการดำเนินงานในกิจกรรมต่อๆไป คณะทำงาน/ผู้ประสานงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พื้นที่ชะอวด ปี 2567
กองทุนขอนหาด แผนงานอาหาร โครงการคัดกรองสารเคมีในเลือดของเกษตรกร หมู่ที่ 4, 5, 6 14,000.00 รพ.สต.บ้านตรอกแค
แผนงานกิจกรรมทางกาย โครงการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มพลังให้ร่างกาย สุขภาพใจเข็งแรง 25,000.00 โรงเรียนบ้านตรอกแค
แผนงานสารเสพติด โครงการยาเสพติดปลอดภัยในรั้วโรงเรียนขอนหาดประชาสรรค์ 10,000.00 โรงเรียนขอนหาดประชาสรรค์
แผนงานอุบัตเหตุ โครงการเด็ก ๆ ปลอดภัยสวมใส่หมวกกันน๊อค 20,000.00 โรงเรียนอนุบาลขอนหาด๑
แผนงานขยะ โครงการ................. 30,000.00 องค์การบริหารส่วนตำบลขอนหาด
                โครงการยาเสพติดปลอดภัยในรั้วโรงเรียน 16,850.00 โรงเรียนขอนหาดประชาสรรค์
                โครงการสิ่งแวดล้อมดีทุกบ้านต้องมีถังขยะเปียก 17,350.00 องค์การบริหารส่วนตำบลขอนหาด

กองทุนเกาะขัน
                โครงการเด็กไทยกินอยู่อย่างไรห่างโรคและยาเสพติด 10,000.00 โรงเรียนเกาะขันธ์ประชาภิบาล
โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ม 1-5 25,000.00 อสม
โครงการ“เกาะขันธ์น่าอยู่ หมู่บ้านสะอาด ลดโรคในชุมชนอย่างยั่งยืน” ตำบลเกาะขันธ์ ปี2567 39,000.00 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้เสียบ
โครงการสตรีร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านม ตำบลเกาะขันธ์ ปี2567 19,400.00 อาสาสมัครสารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 8
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุลดเสี่่ยงโรคเบาหวานในต.เกาะขันธ์ ปี2567 34,650.00 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไม้เสียบ
โครงการวัยใส ห่างไกลโรค โรงเรียนเกาะขันธ์ประชาภิบาล 20,875.00 โรงเรียนเกาะขันธ์ประชาภิบาล
โครงการเหาหายสบายหัว 8,775.00 โรงเรียนบ้านลานนา (นางสาวเนตรชนกไข่รอดทต.ชะอวด
                โครงการมะเร็งเต้านม ของเทศบาลชะอวด 54,400.00 อสม.


เทศบาลตำบลชะอวด
โครงการลดพุง ลดอ้วน เทศบาลตำบลชะอวด 96,200.00 อสม.เทศบาลตำบลชะอวด
โครงการเด็กเทศบาลตำบลชะอวดปลอดภัยไม่จมน้ำ ปี 2567 46,600.00 นายอภิชาติข้องจิตร์
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตด้วยสุนทรียภาพทางด้านดนตรีและกีฬาโรงเรียนบ้านชะอวด 107,300.00 โรงเรียนบ้านชะอวด
โครงการเพศศึกษากับวัยใส 60,000.00 โรงเรียนบ้านชะอวด
โครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ 50,000.00 ….
โครงการรณรงค์ ลดใช้โฟม "กินง่าย ตายไว" กลุ่มแม่ค้าหน้าโรงเรียนบ้านชะอวด 25,000.00 เทศบาลตำบลชะอวด
โครงการคัดกรองสายตาในกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุเทศบาลตำบลชะอวด 75,000.00 เทศบาลตำบลชะอวด
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มผุ้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 40,000.00 …..

 

10 0

10. ประชุมคณะทำงานติดตามประเมินความก้าวหน้า

วันที่ 4 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงทะเบียนผู้เข้าประชุม
ติดตามความก้าวหน้า แผนงานผ่านเว็บ
พักรับประทานอาหารว่าง
ติดตามความก้าวหน้า โครงการผ่านเว็บ
แนวทางการประเมินทางวิชาการโดยการตอบแบบสอบถาม 3 ระดับ (คณะทำงาน 2 ระดับ และภาคี)
และวางแผนการเก็บข้อมูลครั้งที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนงานสมบูรณ์......
โครงการผ่านเว็บ.....
คณะทำงานทำแบบสอบถาม....คน
รายชื่อเก็บข้อมูลครั้งที่ 2
(ตามเอกสารแนบไฟล์)

 

12 0

11. การติดตามโครงการและประเมินผล

วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30-09.00 น ลงทะเบียน คณะทำงาน 09.00-10.30 น. ทบทวนรายละเอียดโครงการ/ปฏิทินโครงการ คณะวิทยากร 10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง 10.45-12.00 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ(การลงรายงานกิจกรรม/รายงานการเงิน/การลง ภาพประกอบ/การแนบไฟล์เอกสาร) คณะวิทยากร 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. กระบวนการปฏิบัติการ การติดตามโครงการ(ต่อ) 14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง 15.00-16.00 น สุ่มตัวอย่างนำเสนอเรียนรู้ร่วมกัน คณะวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการที่ได้มีการรายงานติดตามจำวน  24 โครงการ ดังนี้ 1. กองทุนขอนหาด  นำเข้าโครงการสู่ระบบ 6 โครงการ รายงานตอชิดตามผล  6 โครงการ 2. กองทุนตำบลเกาะขันธ์  นำเข้าโครงการสู่ระบบ 10 โครงการ รายงานตอชิดตามผล  10 โครงการ 3. กองทุนเทศบาลตำบลชะอวด นำเข้าโครงการสู่ระบบ 8 โครงการ รายงานตอชิดตามผล  8 โครงการ

 

20 0

12. เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ครั้งที่ 2

วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดเก็บข้อมูล 10 ประเด็นปัญหาสุขภาพ จากแหล่งข้อมูล 3 ระดับ โดยใช้เครื่องมือ Google Form โดยใช้แอพในโทรศัพท์ ให้ได้จำนวน และกลุ่มเป้าหมายที่กำหนด ทั้ง 4 กองทุน คือ
ระดับบุคคลอย่างน้อย 200 ตัวอย่าง จาก 4 กลุ่มอายุ
5-15ปี จำนวนอย่างน้อย 50 ชุด
16-25ปี จำนวนอย่างน้อย 50 ชุด
26-64ปี จำนวนอย่างน้อย 50 ชุด
65ปีขึ้นไป จำนวนอย่างน้อย 50 ชุด
ระดับครัวเรือนอย่างน้อย 100 ชุด
และระดับชุมชน 1 ชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูลไม่น้อยกว่าที่กำหนด 3 กองทุน เกาะขัน ขอนหาด ชะอวด

 

20 0

13. สรุป ถอดบทเรียนโครงการ

วันที่ 16 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

09.00-10.30 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ สมนึก  นุ่นด้วง 10.30-10.45 น. พัก/อาหารว่าง
10.45-12.00 น. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แบ่งกลุ่มนำเสนอผลลัพธ์ความสำเร็จตาม ตัวชี้วัด และปัจจัยความสำเร็จ/ข้อจำกัด
(เสริฟอาหารว่างในกระบวนการ) คณะวิทยากร 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-14.30 น. ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนากองทุน คณะวิทยากร 14.30-14.45 น. พัก/อาหารว่าง
15.00-16.00 น นำเสนอและเรียนรู้ร่วมกัน คณะวิทยากร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนทั่วไป 5 กองทุน (ออกจากการเข้าร่วมโครงการในปี 2567 จำนวน 3 กองทุน)รับเพิ่ม 1 กองทุน กลไกพี่เลี้ยง 6 คน
พี่เลี้ยงระดับจังหวัด  3 คน
พี่เลี้ยงระดับกองทุน 3 คน

อบต.เกาะขันธ์ แผนงาน.......10.............แผน โครงการตามแผนที่กำหนดและได้รับอนุมัติ 7 โครงการ อบต.ขอนหาด แผนงาน..........10..........แผน โครงการตามแผนที่กำหนดและได้รับอนุมัติ 6 โครงการ

ทต.ชะอวด แผนงาน......10..............แผน โครงการตามแผนที่กำหนดและได้รับอนุมัติ  8โครงการ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กองทุนสมัครใจทั่วไป (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจสอบข้อมูลและทำแผนงานกองทุน (3) ประชุมทีมคณะทำงาน ติดตามความก้าวหน้า (4) ก.1 ประสานงานกองทุนเข้าร่วมโครงการ  จ.นครศรีธธรมราช (5) ก.2 ก.2 ประชุมสร้างความเข้าใจการใช้เว็บกองทุนตำบลภาคใต้  จ.นครศรีะรรมราช . (6) 4. ประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้เครื่องมือเก็บข้อมูล จ.นครศรีธรรมราช (7) เก็บข้อมูลสถานการสุขภาพ 9 ประเด็น 3 ระดับ จ.นครศรีะรรมราช (8) ประชุมติดตามประเมินผลความก้าวหน้า และถอดบทเรียน (9) ประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนกองทุน ปี 2567 (10) ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการปี 2567 (11) ประชุมคณะทำงานติดตามประเมินความก้าวหน้า (12) การติดตามโครงการและประเมินผล (13) เก็บข้อมูลสถานการณ์สุขภาพ ครั้งที่ 2 (14) สรุป ถอดบทเรียนโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการกลไกสร้างเสริมสุขภาวะระดับตำบลและอำเภอ เขต 11 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด