แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ”
ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
หัวหน้าโครงการ
นายประวิช ขุนนิคม
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
ที่อยู่ ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ุ61-ข-05 เลขที่ข้อตกลง ุ61-ข-050
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ รหัสโครงการ ุ61-ข-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การสูบบุหรี่ของประชากรไทย จากข้อมูลรายงานสถิติสำนักสถิติแห่งชาติ พบว่า แนวโน้มการบริโภคยาสูบใน 10 ปีที่ผ่านมา (ช่วงปี 2550 -2560) ร้อยละและจำนวนบริโภคยาสูบของคนไทยมีแนวโน้มที่คงที่ แต่ในประชากรวัยรุ่นช่วงอายุระหว่าง 15-18 ปี มีแนวโน้มการสูบบุหรี่ที่สูงขึ้น (ร้อยละ 9.70) ซึ่งหากจำแนกตามภาค พบว่า ภาคใต้สูงเป็นอันดับหนึ่ง (สถานการณ์บุหรี่.pdf, n.d.) รองลงมาภาคอีสาน ภาคเหนือ เหนือ และภาคกลาง (ตามลำดับ) โดยประชากรจังหวัดกระบี่สูบบุหรี่สูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ (ร้อยละ 25) ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์การการสูบบุหรี่ของจังหวัดกระบี่ จากการสำรวจเกณฑ์ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดกระบี่ ปี 2560 ของสำนักงานพัฒนาชุมชน (จากการจัดเก็บข้อมลประชากรทั้งหมด 287,906 ราย) พบว่า ประชาชนในพื้นที่จังหวัดกระบี่มีอัตราการสูบบุหรี่สูงร้อยละ 10.97 และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 3.35 จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าสถานการณ์การสูบบุหรี่ของประชากรจังหวัดกระบี่ยังคงน่าเป็นห่วงและเป็นปัญหาสำคัญที่จะต้องมีการแก้ไขโดยเร่งด่วน
การดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานการณ์การสูบบุหรี่เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์จังหวัดที่จะต้องขับเคลื่อนดำเนินการ ซึ่งได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกการควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความตระหนักเรื่องพิษภัยและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การช่วยให้เลิกสูบเลิกดื่มสุรา และยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ ลดแรงสนับสนุนการดื่ม ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมและการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง จากปัญหาสถานการณ์ดังกล่าวของจังหวัดกระบี่จำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยนำร่องพื้นที่ของตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ด้วยกระบวนการชุมชนที่เข้มแข็งของพื้นที่ ขยายผลสู่พื้นที่อื่นๆ ไปสู่ในระดับอำเภอ จังหวัด และประเทศ ผ่านระบบกลไกที่สร้างขึ้นตามบริบทของพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเพิ่มปัจจัยเสริมของผู้สูบบุหรี่/ผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่ เสริมสร้างสุขภาวะ ด้านกาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ ให้มีความสมดุล ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล/ครอบครัว สิ่งแวดล้อม/เศรษฐกิจ/สังคม และระบบบริการสุขภาพ/ระบบกลไก เพื่อสร้างสุขภาพดีให้เกิดขึ้นในชุมชนพื้นที่ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ และสร้างบุคคลต้นแบบไปยังพื้นที่อื่นๆ ด้วย
แต่อย่างไรก็ตาม การดำเนินโครงการต่างๆ ล้วนมีผลกระทบต่อสุขภาพในหลายๆ มิติ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้นำกระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพมาเป็นแนวทางในการประเมินผลกระทบของโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จังหวัดกระบี่ โดยการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อให้ทราบผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับปัจจัยกำหนดสุขภาพอันจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงสุขภาพทั้ง 4 มิติ (กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ) โดยนำผลการประเมินที่ได้ไปสู่การปรับปรุง แก้ไข หรือพัฒนาโครงการให้สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สู่การนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับพื้นที่หรือ แผน ยุทธศาตร์ นโยบายต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ
- เพื่อกำหนดขอบเขต พื้นที่ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการ ให้มีความสมดุลระหว่างหลักฐานทางวิชาการของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น กับความกังวลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
- เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ
“คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%
อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
- เพื่อตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุง ทบทวนร่างรายงาน ด้วยกระบวนการการประเมินผลกระทบโดยสาธารณะ (Public Review)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมวางแผนงานประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโครงการพื้นที่ภาคใต้ตอนบนในโครงการวิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.)
วันที่ 28 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- นำข้อมูล รายละเอียดของแผนงาน/โครงการ มาศึกษา ทบทวนแผนการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อวิเคราะห์ว่ามีผลกระทบใดบ้างที่เกิดขึ้นจากโครงการเดิม หากมีผลกระทบเชิงลบต้องดำเนินการแก้ไขอย่างไร และหากมีผลกระทบเชิงบวกจะดำเนินการอย่างไรให้ดียิ่งขึ้น
- focus group แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- นำเสนอผลการวิเคราะห์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เกิดการทบทวนแผนการดำเนินการของโครงการ
- คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกันเกี่ยวกับบริบทของโครงการ
20
10
2. ประชุมวางแผนการกลั่นกรองโดยสาธารณะ (public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (public scoping)
วันที่ 19 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมวิเคราะห์ผลกระทบจากโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทราบข้อมูลสถาพปัญหา และเมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์เกิดการกำกนดตัวชี้วัดการดำเนินการและวางแผนการดำเนินการในอาคต
5
6
3. เวทีการกลั่นกรองโดยสาธารณะ (public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ กรณีศึกษาโครงการปัจจัยเสี่ยงโซนภาคใต้ตอนบน
วันที่ 22 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ในการหาแนวทางการดำเนินงาน ขอบเขต ตัวชี้วัดและวางแผนโครงการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อเสนอแนะและตัวชี้วัดเพิ่มเติมจากพื้นที่
30
30
4. ประชุมสรุปผลการจัดเวทีการกลั่นกรองและการกำหนดขอบเขตโดยสาธารณะ
วันที่ 25 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมปรึกษาหารือ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1 ตัวชี้วัดหลักของโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ
2 ปัจจัยความสำเร็จ และอุปสรรค และร่างรายงาน
10
7
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ
ตัวชี้วัด : แผนงาน โครงการที่ส่งผลกระทบในแต่ละกลุ่มประชากรต่อ โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ
“คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%
อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
2
เพื่อกำหนดขอบเขต พื้นที่ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการ ให้มีความสมดุลระหว่างหลักฐานทางวิชาการของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น กับความกังวลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ
“คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%
อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
3
เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ
“คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%
อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
ตัวชี้วัด : ผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ
“คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%
อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
4
เพื่อตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุง ทบทวนร่างรายงาน ด้วยกระบวนการการประเมินผลกระทบโดยสาธารณะ (Public Review)
ตัวชี้วัด : รายงานผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ
“คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%
อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ุ61-ข-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประวิช ขุนนิคม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ”
ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่หัวหน้าโครงการ
นายประวิช ขุนนิคม
ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
ที่อยู่ ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ุ61-ข-05 เลขที่ข้อตกลง ุ61-ข-050
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 มีนาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ จังหวัดกระบี่" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
บทคัดย่อ
โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ รหัสโครงการ ุ61-ข-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 30 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์การสูบบุหรี่ของประชากรไทย จากข้อมูลรายงานสถิติสำนักสถิติแห่งชาติ พบว่า แนวโน้มการบริโภคยาสูบใน 10 ปีที่ผ่านมา (ช่วงปี 2550 -2560) ร้อยละและจำนวนบริโภคยาสูบของคนไทยมีแนวโน้มที่คงที่ แต่ในประชากรวัยรุ่นช่วงอายุระหว่าง 15-18 ปี มีแนวโน้มการสูบบุหรี่ที่สูงขึ้น (ร้อยละ 9.70) ซึ่งหากจำแนกตามภาค พบว่า ภาคใต้สูงเป็นอันดับหนึ่ง (สถานการณ์บุหรี่.pdf, n.d.) รองลงมาภาคอีสาน ภาคเหนือ เหนือ และภาคกลาง (ตามลำดับ) โดยประชากรจังหวัดกระบี่สูบบุหรี่สูงเป็นอันดับ 1 ของประเทศ (ร้อยละ 25) ซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์การการสูบบุหรี่ของจังหวัดกระบี่ จากการสำรวจเกณฑ์ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จังหวัดกระบี่ ปี 2560 ของสำนักงานพัฒนาชุมชน (จากการจัดเก็บข้อมลประชากรทั้งหมด 287,906 ราย) พบว่า ประชาชนในพื้นที่จังหวัดกระบี่มีอัตราการสูบบุหรี่สูงร้อยละ 10.97 และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ร้อยละ 3.35 จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าสถานการณ์การสูบบุหรี่ของประชากรจังหวัดกระบี่ยังคงน่าเป็นห่วงและเป็นปัญหาสำคัญที่จะต้องมีการแก้ไขโดยเร่งด่วน
การดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานการณ์การสูบบุหรี่เป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์จังหวัดที่จะต้องขับเคลื่อนดำเนินการ ซึ่งได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกการควบคุมยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความตระหนักเรื่องพิษภัยและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การช่วยให้เลิกสูบเลิกดื่มสุรา และยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างสิ่งแวดล้อมให้ปลอดบุหรี่ ลดแรงสนับสนุนการดื่ม ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมและการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง จากปัญหาสถานการณ์ดังกล่าวของจังหวัดกระบี่จำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยนำร่องพื้นที่ของตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ด้วยกระบวนการชุมชนที่เข้มแข็งของพื้นที่ ขยายผลสู่พื้นที่อื่นๆ ไปสู่ในระดับอำเภอ จังหวัด และประเทศ ผ่านระบบกลไกที่สร้างขึ้นตามบริบทของพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงเพิ่มปัจจัยเสริมของผู้สูบบุหรี่/ผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่ เสริมสร้างสุขภาวะ ด้านกาย ใจ สังคม จิตวิญญาณ ให้มีความสมดุล ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล/ครอบครัว สิ่งแวดล้อม/เศรษฐกิจ/สังคม และระบบบริการสุขภาพ/ระบบกลไก เพื่อสร้างสุขภาพดีให้เกิดขึ้นในชุมชนพื้นที่ตำบลคลองท่อมเหนือ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ และสร้างบุคคลต้นแบบไปยังพื้นที่อื่นๆ ด้วย
แต่อย่างไรก็ตาม การดำเนินโครงการต่างๆ ล้วนมีผลกระทบต่อสุขภาพในหลายๆ มิติ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้นำกระบวนการประเมินผลกระทบทางสุขภาพมาเป็นแนวทางในการประเมินผลกระทบของโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จังหวัดกระบี่ โดยการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพจะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อให้ทราบผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับปัจจัยกำหนดสุขภาพอันจะส่งผลต่อเนื่องไปถึงสุขภาพทั้ง 4 มิติ (กาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ) โดยนำผลการประเมินที่ได้ไปสู่การปรับปรุง แก้ไข หรือพัฒนาโครงการให้สมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สู่การนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับพื้นที่หรือ แผน ยุทธศาตร์ นโยบายต่อไปในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ
- เพื่อกำหนดขอบเขต พื้นที่ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการ ให้มีความสมดุลระหว่างหลักฐานทางวิชาการของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น กับความกังวลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
- เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่
- เพื่อตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุง ทบทวนร่างรายงาน ด้วยกระบวนการการประเมินผลกระทบโดยสาธารณะ (Public Review)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมวางแผนงานประเมินผลกระทบด้านสุขภาพโครงการพื้นที่ภาคใต้ตอนบนในโครงการวิชาการสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ (ศวสต.) |
||
วันที่ 28 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
20 | 10 |
2. ประชุมวางแผนการกลั่นกรองโดยสาธารณะ (public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (public scoping) |
||
วันที่ 19 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมวิเคราะห์ผลกระทบจากโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทราบข้อมูลสถาพปัญหา และเมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์เกิดการกำกนดตัวชี้วัดการดำเนินการและวางแผนการดำเนินการในอาคต
|
5 | 6 |
3. เวทีการกลั่นกรองโดยสาธารณะ (public screening) และการกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ กรณีศึกษาโครงการปัจจัยเสี่ยงโซนภาคใต้ตอนบน |
||
วันที่ 22 กรกฎาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ในการหาแนวทางการดำเนินงาน ขอบเขต ตัวชี้วัดและวางแผนโครงการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อเสนอแนะและตัวชี้วัดเพิ่มเติมจากพื้นที่
|
30 | 30 |
4. ประชุมสรุปผลการจัดเวทีการกลั่นกรองและการกำหนดขอบเขตโดยสาธารณะ |
||
วันที่ 25 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมปรึกษาหารือ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1 ตัวชี้วัดหลักของโครงการ และปัจจัยกำหนดสุขภาพ 2 ปัจจัยความสำเร็จ และอุปสรรค และร่างรายงาน
|
10 | 7 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ ตัวชี้วัด : แผนงาน โครงการที่ส่งผลกระทบในแต่ละกลุ่มประชากรต่อ โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ |
||||
2 | เพื่อกำหนดขอบเขต พื้นที่ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการ ให้มีความสมดุลระหว่างหลักฐานทางวิชาการของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น กับความกังวลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ |
||||
3 | เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการดำเนินโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ
“คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100%
อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ตัวชี้วัด : ผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ |
||||
4 | เพื่อตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุง ทบทวนร่างรายงาน ด้วยกระบวนการการประเมินผลกระทบโดยสาธารณะ (Public Review) ตัวชี้วัด : รายงานผลการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการเสริมสร้างศักยภาพตำบลสุขภาวะ “คลองท่อม Model” แหล่งท่องเที่ยวน้ำตกร้อนปลอดบุหรี่ 100% อบต.คลองท่อมเหนือ อ.คลองท่อม จ.กระบี่ จังหวัด กระบี่
รหัสโครงการ ุ61-ข-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประวิช ขุนนิคม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......