directions_run

การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช ”

จังหวัดนครศรีธรรมราช

หัวหน้าโครงการ
สายสุนีย์ จำรัส

ชื่อโครงการ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

ที่อยู่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 61-ข-053 เลขที่ข้อตกลง 61-ข-053

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช



บทคัดย่อ

โครงการ " การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช รหัสโครงการ 61-ข-053 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 เมษายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 1 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ
  2. เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)
  3. เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing)
  4. เพิ่อทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การประชุมเตรียมความพร้อม HIA Public Screening

    วันที่ 17 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมผู้วิจัยร่วมกันพิจารณาและทบทวนรายละเอียดโครงการทั้ง 5 โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้วิจัยทั้ง 5 โครงการ ในประเด็นต่างๆ ได้แก่ ที่มาความสำคัญ วัตถุประสงค์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ หน่วยงานภาคีต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และโดยเฉพาะอย่างนิ่งรายละเอียดกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นในโครงการแต่ละโครงการ

     

    6 6

    2. การประชุมเตรียมความพร้อม HIA Public Screening ระหว่างทีมวิจัยและผู้ดำเนินโครงการ

    วันที่ 22 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้ดำเนินโครงการ ผู้วิจัยซึ่งทำหน้าที่ประเมินโครงการ และทีม สจรส ประชุมร่วมกันเพื่อพิจารณาละเอียดโครงการ และร่วมกันทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงการในลักษณะที่คล้ายคลึงกับโครงการทั้ง 5 โครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ได้ความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับรายละเอียดกิจกรรมของโครงการรวมถึง ได้ประเด็นเพิ่มเติม เพื่อระบุในรายละเอียดในกิจกรรมของโครงการ จากการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

     

    16 16

    3. การประชุมเพื่อวิเคราะห์ และสรุปผลการทบทวนเอกสาร/โครงการ

    วันที่ 30 มิถุนายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ร่วมกันทบทวนและวิเคราะห์รายละเอียดต่างๆ ได้แก่ กิจกรรมของโครงการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และภาคีที่เกี่ยวข้อง

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้วิจัยสามารถเติมเต็มกิจกรรมต่างๆ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และภาคีที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ที่จะทำให้การดำเนินโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้อย่างแท้จริง

     

    6 8

    4. ประชุมเตรียมความพร้อมก่อนการจัดเวที HIA Screening and Scoping

    วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทีมวิจัยที่ประเมินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สามารถวางกรอบการดำเนินการจัดเวที HIA Screening and Scoping ได้แก่ วันที่จะจัด ลักษณะการจัดเวที ภาคีเครื่อข่ายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่จะเข้าร่วมเวที

     

    8 8

    5. จัดเวที HIA Screening and Scoping

    วันที่ 27 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1) ผู้ดำเนินโครงการอธิบายวัตถุประสงค์ ที่มาและความสำคัญ รวมถึงกิจกรรมต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในโครงการ 2) เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียซักถามประเด็นต่างๆ ที่มีข้อสงสัย รวมถึงพิจารณาและทบทวนรายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการ 3) ผู้วิจัยชี้แจงรายละเอียดบทบาทหน้าที่ และการประยุกต์ใช้ HIA ในการประเมินโครงการ รวมถึงช่วยเติมเต็มรายละเอียดกิจกรรมต่างๆ ที่เห็นว่ามีความสำคัญ อันจะทำให้โครงการสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จากการศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในโครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพด้านการสูบบุหรี่และดื่มเหล้าในกลุ่มนักเรียนมัธยมต้นโดยกองทุนท้องถิ่น อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช พบประเด็นที่สำคัญดังต่อไปนี้       4.1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ของการมีส่วนร่วม การจัดให้มีการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียทำให้เกิดแกนคณะทำงานโครงการฯ และผลผลิต/ผลลัพธ์ต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับโครงการ แสดงดังต่อไปนี้

    • เกิดแกนคณะทำงานโครงการฯ จำนวน 6 คน
    • คณะทำงานโครงการ สามารถบูรณาการประเด็นปัจจัยเสี่ยงเข้ากับงานเดิมที่ดำเนินการอยู่
    • เกิดกลไก/เครือข่าย คือศูนย์ควบคุมปัจจัยเสี่ยง สคล.ใต้บน สพม. 12  เครือข่ายเยาวชนนครศรีธรรมราช พี่เลี้ยงกองทุนตำบล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ชมรมผู้สูงอายุ
    • เกิดทีมสนับสนุน จำนวน 2 คน
    • เกิดเครือข่ายเยาวชน จำนวน 12 เครือข่าย
    • เกิดแกนนำ/พี่เลี้ยง เยาวชน จำนวน 20 คน
    • เกิดการนำเสนอประเด็นปัจจัยเสี่ยงต่อฝ่ายนโยบายในจังหวัดนครศรีธรรมราช เช่น การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง การจัดงานโดยไม่มีเหล้าและบุหรี่
    • เกิดมติสมัชชาสุขภาพจังหวัดนครศรีธรรมราช ประเด็นการปกป้องเด็กและเยาวชนจากเหล้า บุหรี่ แบบบูรณาการ
    • เกิดแกนนำปฏิบัติการหลักระดับกองทุน 6 คน
    • เกิดการสนับสนุนการดำเนินงานของกองทุนฯ จำนวน 6 กองทุน
    • เกิดกองทุนฯ ที่ดำเนินโครงการด้านการลดปัจจัยเสี่ยงนำร่อง จำนวน 10 โครงการ (6 กองทุน)
    • เกิดการดำเนินงานด้านการลดปัจจัยเสี่ยง ขยายผลในระดับคือ จังหวัด อำเภอ ตำบล (อำเภอเมืองอยู่ในขั้นรอการนำเสนอ)
    • เกิดกระบวนการทำงานที่เป็นขั้นตอน
    • มีข้อมูลด้านปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด ของเด็กและเยาวชน ระดับมัธยมต้น ในจังหวัดนครศรีธรรมราช จากการศึกษาเชิงสำรวจ (survey study) ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
    • องค์กร/หน่วยงานให้การยอมรับในฐานข้อมูล เนื่องจากมีการรับรองโดยสถาบันการศึกษาคือ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ความร่วมมือด้านการลดปัจจัยเสี่ยงกับสถานศึกษาระดับมัธยมในเขตอำเภอเมือง และ สพม.12

     

    20 21

    6. จัดประชุมเพื่อวิเคราะห์และสรุปผลการจัดเวที screening และ scoping

    วันที่ 30 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ผู้วิจัยร่วมกันวิเคราะห์และสรุปผลที่ได้จากการจัดเวที Screening และ Scoping รวมถึงเพิ่มเติมประเด็นต่างๆ ให้รายละเอียดกิจกรรมมีความสมบูรณ์เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้ดำเนินโครงการกำหนดไว้มากที่สุด

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ได้ข้อสรุปรายละเอียดกิจกรรมของโครงการว่าโครงการจะมีกิจกรรมอะไรบ้าง และรายละเอียดในกิจกรรมต่างๆ นั้นเป็นอย่างไร และสามารถทำให้ผู้ดำเนินโครงการสามารถกำหนดกลุ่มเป็าหมายและประเด็นปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพที่ชัดเจนมากขึ้น นั่นคือ กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักเรียนมัธยมต้น และประเด็นปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ ได้แก่ การดื่มเหล้า และการสูบบุหรี่ นอกจากนี้ยังพบประเด็นปัญหาและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ผ่านมาต่อการดําเนินโครงการฯ ดังนี้ 1) การออกแบบโครงการฯ ที่ยังไม่มีฐานข้อมูลหรือการเตรียมการที่ดี
    2) ผู้ทำโครงการและผู้มีส่วนได้เสียขาดความเข้าใจในระบบสุขภาพท้องถิ่น ทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่วางไว้ในโครงการได้
    3) ขาดการจัดทำแผนการทำงานร่วมระดับพื้นที่ที่จะทำให้สามารถลดความซ้ำซ้อนในด้านงบประมาณ  กิจกรรม และเวลา

     

    6 6

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ
    ตัวชี้วัด : 1) มีข้อมูลผลกระทบของโครงการและแผนการดำเนินงาน รวมถึงโครงการอื่นๆ ที่มีลักษณะคล้ายกับโครงการ 2) มีผลกระทบต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นเบื้องต้น

     

    2 เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping)
    ตัวชี้วัด : 1) รายละเอียดกิจกรรมสำคัญของโครงการมีประเด็น ครอบคลุมตัวชี้วัด ข้อจำกัด การดำเนินโครงการ 2) มีผู้ส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ (Stakeholder analysis) ที่ครอบคลุม 3) มีการ mapping กิจกรรมหลักของโครงการและปัจจัยกำหนดสุขภาพ (Social Determinant of Health; SDH) ที่ส่งผลกระทบถึงสุขภาวะทั้ง 4 มิติ 4) ได้ SDH ที่สำคัญจัดทำร่างตัวชี้วัดการประเมิน 5) มีการจัดประชุมกลุ่ม/เวทีรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำเสนอร่างตัวชี้วัดตาม SDH ที่จัดทำขึ้น ุ6) มีเครื่องมือรวบรวมข้อมูลตามตัวที่วัดที่กำหนด

     

    3 เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing)
    ตัวชี้วัด : 1) ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเครื่องมือที่กำหนด 2) ร่างรายงานการประเมินผลกระทบซึ่ง ซึ่งครอบคลุม 3)

     

    4 เพิ่อทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)
    ตัวชี้วัด : 1) เกิดการจัดเวทีการแสดงความคิดเห็นระหว่างทีมวิจัยร่วมกับ Stakeholder เพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อร่างรายงาน 2) เกิดการจัดเวทีร่วมกับ Stakeholder จัดทำข้อเสนอ เพื่อแนะนำโรงการวิจัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกลั่นกรองนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมโดยสาธารณะ (2) เพื่อกำหนดขอบเขตการศึกษาโดยสาธารณะ (Public scoping) (3) เพื่อประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (Assessing) (4) เพิ่อทบทวนร่างรายงานผลการศึกษาโดยสาธารณะ (Public review)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีศึกษา โครงการลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยระบบสุขภาพชุมชน จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช

    รหัสโครงการ 61-ข-053

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สายสุนีย์ จำรัส )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด