แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ อำเภอพระพรหม สุราษฎร์ธานี ”

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
นายอภิวัฒน์ ไชยเดช

ชื่อโครงการ อำเภอพระพรหม สุราษฎร์ธานี

ที่อยู่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 65-00336 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"อำเภอพระพรหม สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อำเภอพระพรหม สุราษฎร์ธานี



บทคัดย่อ

โครงการ " อำเภอพระพรหม สุราษฎร์ธานี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน
  2. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน
  3. เรียนรู้เวปไซด์กองทุนหลักประกันสุขภาพ
  4. ประชุมวางแผนขับเคลื่อนงานและจัดทำบันไดผลลัพธ์ในการดำเนินกลไก พชอ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช
  5. ทบทวนประเด็นและกลไก พชอ อำเภอพระพรหม
  6. ทบทวนแผนสุขภาพตำบล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน

วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ซักซ้อมเนื้อหา ตามวัตถุประสงค์กับพี่เลี้ยงขับเคลื่อนโครงการ
  2. ทำหนังสือเชิญประชุม และนัดแนะ ประสานงานวิทยากรเนื้อหา จัดเตรียมเอกสารลงทะเบียน เอกสารทางการเงินทุกประเภท ประสานงานเรื่องอาหารและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมประชุม
  3. ดำเนินการประชุมตามวาระ จดบันทึกการประชุม เก็บภาพถ่าย
  4. สรุปประเมินผลการการประชุม เพื่อหาทางปรับปรุงพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 26 คน เกิดความเข้าใจและร่วมมือในการดำเนินการขับเคลื่อนโครงการ เกิดการซักถามและแลกเปลี่ยนแนวคิดในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและตัวแทน พชอ อำเภอพระพรหม ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นายกเทศมนตรี นายกองคฺการบริหารส่วนตำบล โดยมุ่งเน้นในการแก้ปัญหาตามประเด็น พชอ คือ โรค NCD  เบาหวานและความดัน โดยสาเหตุหลักมาจากเรื่องของพฤติการการกินการบริโภค และการออกกำลังกาย

 

0 30

2. เรียนรู้เวปไซด์กองทุนหลักประกันสุขภาพ

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ศึกษารายละเอียด เป้าหมาย วัตถุประสงค์กิจกรรม
  2. ประสานในการออกหนังสือเชิญ  กลุ่มเป้าหมาย
  3. จัดเตรียมเอกสาร เอกสารการเงิน ใบลงทะเบียน ประสานเรื่องอาหาร อาหารว่าง ประสานงานห้องประชุม การเตรียมเครื่องมือในการประชุม การจัดห้องประชุม
  4. ซักซ้อมการจดบันทึกรายงานการประชุม การสรุปผล การแปรผล การพัฒนา อุปสรรคในการดำเนินงานการปรับปรุงพัฒนาแก้ไข
  5. ดำเนินการจัดการประชุมตามวัน เวลา กำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพทั้ง 4 กองทุน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดเทศบาล ผู้ติดตามจาก สนส มอ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผอ รพ สต เลขา พชอ อำเภอพระพรหม คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ เกิดการเรียนรู้กระบวนการ โครงสร้างของ เวปไซด์กองทุน เกิดการเรียนรู้ในการการจัดการข้อมูลสุขภาพ ระดับตำบลผ่านเวปกองทุนฯ เกิดการเรียนรู้ในการติดตามแระเมินผล ผ่านเวปกองทุนหลักประกันสุขภาพ เกิดแผนสุขภาพระดับตำบล แผนสุขภาพระดับอำเภอ

 

20 30

3. ประชุมวางแผนขับเคลื่อนงานและจัดทำบันไดผลลัพธ์ในการดำเนินกลไก พชอ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

*

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

*

 

0 0

4. ทบทวนประเด็นและกลไก พชอ อำเภอพระพรหม

วันที่ 21 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ทบทวนประเด็น พชอ อำเภอพระพรหม ในการกำหนดที่ผ่านมาเมื่อธันาคม 2565 คือ ประเด็น NCD ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
  2. ทบทวนข้อมูลปัจจุบันของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ ปี 2566 ข้อมูลร้อยละการควบคุมน้ำตาลและความดัน  ข้อมูลการควบคุมความดันโลหิตสูง
  3. ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย ประสานวิทยากร  อาหารและอาหารว่าง
  4. เวียนหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย
  5. ดำเนินการประชุม นำเสนอข้อมูลเบาหวานและความดัน ที่เป็นปัญหาของอำเภอพระพรหมใน
  6. จดบันทึกรายงานการประชชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมการประชุมจำนวน 33 คน ประกอบด้วย นายอำเภอพระพรหม สาธารณสุขอำเภอพระพรหม เกษตรอำเภอ พัฒนาการอำเภอ นายก อปถ  ตัวแทนคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภา ผอ รพ สต  เข้าใจถึงสภาพปัญหาของข้อมูลด้านสุขภาพของอำเภอพระพรหม โดยการหยิบยกข้อมูลความดันโลหิตสูงและเบาหวานมาเป็นข้อมูลเบื้องต้น เพราะเบาหวานและความดัน เป็นบ่อเกิดของโรคอื่นๆ ที่ตามมา  ผลของการประชุม ที่ประชุมกำหนด ให้ปัญหาหา NCD ยังคงเป็นปัญหาของอำเภอพระพรหม ที่ประชุมได้เน้นหนักไปที่ปัฯหาโรคไตในผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 130 คนที่ป่วยเป็นโรคไตในระยะที่ 1                             สรุป ประเด็นปัญหา พชอ คือ โรค NCD  เน้นหนักเบาหวานความดัน  เนื่องจากอำเภอพระพรหม ได้จัดทำแผนการขอทุนไปก่อนแล้ว นำโครงการดังกล่าวมาวิเคราะห์เพื่อจัดประเด็นในการดำเนินงานเข้าประเด็น พชอ

 

20 33

5. ทบทวนแผนสุขภาพตำบล

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ทบทวนข้อมูล ทั้งสามกลุ่ม ในระดับตำบล ผ่านฐานข้อมูล HDC ของสถานบริการสาธารณสุข 2. ตรวจสอบข้อมูลกับระดับพื้นที่ รพ สต
3. ทบทวนแผนกองทุนหลักประกันสุขภาพ ของแต่ละกองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายจำนวน 25 คน เข้าใจทิศทาง และแผนการดำเนินงานแก้ปัญหา NCD ตามประเด็น  พชอ โดยการทบทวนแผนงานโครงการในปี 2566

 

0 25

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงคณะทำงาน (2) ประชุมชี้แจงคณะทำงาน (3) เรียนรู้เวปไซด์กองทุนหลักประกันสุขภาพ (4) ประชุมวางแผนขับเคลื่อนงานและจัดทำบันไดผลลัพธ์ในการดำเนินกลไก พชอ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช (5) ทบทวนประเด็นและกลไก พชอ อำเภอพระพรหม (6) ทบทวนแผนสุขภาพตำบล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อำเภอพระพรหม สุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 65-00336

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอภิวัฒน์ ไชยเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด