แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ งานสื่อสาร กองทุนสุขภาพ (รวม 3 อำเภอ) ”



หัวหน้าโครงการ
นายอานนท์ มีศรี

ชื่อโครงการ งานสื่อสาร กองทุนสุขภาพ (รวม 3 อำเภอ)

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 65-00336 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"งานสื่อสาร กองทุนสุขภาพ (รวม 3 อำเภอ) จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
งานสื่อสาร กองทุนสุขภาพ (รวม 3 อำเภอ)



บทคัดย่อ

โครงการ " งานสื่อสาร กองทุนสุขภาพ (รวม 3 อำเภอ) " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการออกแบบและวางแผนเพื่อการสื่อสาร
  2. ผลิตงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อน Onair , Online , Onground
  3. อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  4. อำเภอเมืองพัทลุง
  5. อำเภอเมืองกระบี่
  6. ประชุมหารือคณะทำงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์
  7. เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร ฟังเสียงประชาชน “ราคายาง ” ตกต่ำ วิกฤตินี้ ชาวสวนจะอยู่รอดอย่างไร “พืชร่วมยาง” พยุงชีพต่อชีวิตให้รอดพ้นอีกนานแค่ไหน ใคร?จะช่วย
  8. Kick off ขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ กลไกอำเภอ พชอ. เชื่อมโยงกองทุนตำบล
  9. ประชุมร่วมกับคณะทำงานขับเคลื่อน พชอ. เสนอแนวทางการดำเนินงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์
  10. เวทีสื่อสารสาธารณะ “สื่อให้ปังต้องให้โดน ด้วยพลัง 5 ตัวจี๊ด
  11. เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร ฟังเสียงประชาชน ภาคใต้แห่งความสุขกับข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาพื้นที่ภาคใต้
  12. พัฒนาศักยภาพและขยายเครือข่ายสื่อสร้างสุขประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์
  13. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปแผนการดำเนินงานสื่อสาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมหารือคณะทำงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2565 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์ และกรอบการดำเนินงานสื่อสาร  ของการดำเนินกิจกรรม
  2. กำหนดรูปแบบ การนำเข้า การใช้ Plat form และ เลือกใช้ Plat form Canva
  3. ทดสอบการใช้ และการนำข้อมูลลงใน Plat เปรียบเทียบการใช้งาน ระยะที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อการวางแผนกิจกรรมและวางแผนงานพื้นที่เพื่อการออกแบบเนื้อหาและรูปแบบของการนำเสนอโดยที่ใช้แผนการดำเนินงานสื่อสารในระยะที่ 4 มาเป็นแนวทางในการดำเนินงานและวางแผนเพื่อการพัฒนา Platform กลางของเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ เพื่อที่จะใช้สื่อสารร่วมกันและสาธารณะจะได้รับรู้และเข้ามาติดตาม ที่ประชุมได้เสนอ plat form ดังนี้

- Page fb  เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ ใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์งาน สถานที่ดำเนินงาน และงานข่าวสารของแต่ละพื้นที่ - YouTube เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ ใช้เพื่อการลงวีดีโอ งานบันทึกย้อนหลัง - เว็บไซต์ www.สื่อสร้างสุขภาคใต้.com ใช้เพื่องานบันทึกข้อมูลข่าวสาร งานข่าว เอกสารเพื่อการ Download ภาพกิจกรรมของเครือข่าย - Canva Online 2. แผนการดำเนินงานสื่อสารประเด็นความมั่นคงของมนุษย์และกิจกรรมงวดที่ 2
3. สื่อสิ่งพิมพ์
- ผ่านช่องทาง : Facebook page สื่อสร้างสุขภาคใต้

 

4 4

2. เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร ฟังเสียงประชาชน “ราคายาง ” ตกต่ำ วิกฤตินี้ ชาวสวนจะอยู่รอดอย่างไร “พืชร่วมยาง” พยุงชีพต่อชีวิตให้รอดพ้นอีกนานแค่ไหน ใคร?จะช่วย

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นรายการ ทอล์ค เชิญแขกรับเชิญที่มีความรู้ความชำนาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้มาแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาและแนวทางการแก้ไขในระดับนโยบาย และเชิญกลุ่มผู้แทนเครือข่ายต่างๆที่ได้รับผลกระทบหรือการขับเคลื่อนงานที่เกิดผลความสำเร็จ มาแลกเปลี่ยนหรือมาส่งเสียงผ่านสื่อเพื่อให้สาธารณะได้รับรู้และได้เรียนรู้จากแหล่งข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จากสถานการณ์ปัญหาเรื่องของราคา ผลผลิต อาหารไม่ปลอดภัย และทางออกคือการสร้างพื้นที่สีเขียวเป็นแนวทางให้ภาคเกษตรได้เป็นทางออก การสร้างสวนยางแบบยั่งยืนเพื่อการเพิ่มรายได้ในพื้นที่สวนยาง เป็นอีก 1 ต้นแบบที่สามารถช่วยเหลือพี่น้องเกษตรกรได้ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 ได้เชิญ นายสุนทร รักษ์รงค์ บอร์ดการยาง บอร์ดยางโลก และที่ปรึกษาการแก้ปัญหาราคายางของรองนายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้เฉพาะด้าน และได้มีนโยบายการแก้ปัญหาเรื่องรายได้ ผลผลิต สร้างมูลค่า และ การสร้างชุมชนสีเขียว โยงไปถึงเกษตรกรรมยั่งยืน สวนยางยั่งยืนเป็นส่วนหนึ่งจะจัดการอย่างไรเพื่อให้มีรายได้เพิ่ม ด้วยการทำสวนยางยั่งยืน และยกระดับเป็นพื้นที่สีเขียว
  2. สื่อประชาสัมพันธ์ poster
  3. รายการฟังเสียงประชาชน ผ่านช่องทาง : Facebook page สื่อสร้างสุขภาคใต้ และ Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช

- https://www.facebook.com/scmanews/videos/1946650732198356/

 

5 5

3. Kick off ขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ กลไกอำเภอ พชอ. เชื่อมโยงกองทุนตำบล

วันที่ 21 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงคณะทำงาน ทีมจัดการ ทีมสื่อ ทีมพื้นที่ เพื่อการสร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อให้เห็นการทำงานในแต่ละส่วน ท้องถิ่น หน่วยงานสุขภาพ ภาคประชาสังคม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เกิดความเข้าใจและร่วมมือในการดำเนินการขับเคลื่อนโครงการ
  2. เกิดการซักถามและแลกเปลี่ยนแนวคิดในการดำเนินงานระหว่างคณะทำงานและตัวแทน พชอ. อำเภอพระพรหม ตัวแทนกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตำบล โดยมุ่งเน้นในการแก้ปัญหาตามประเด็น พชอ. คือ โรค NCD  เบาหวานและความดัน โดยสาเหตุหลักมาจากเรื่องของพฤติกรรมการกินการบริโภค และการออกกำลังกาย
  3. ได้งานสื่อสาร ที่จะสนับสนุนพื้นที่ คือ การพัฒนาศักยภาพ การขยายเครือข่ายสื่อ และ นำเสนอการขับเคลื่อนงาน ที่ พชอ. ที่เป็นรูปธรรม และการเชื่อมโยงกับกองทุนท้องถิ่น

 

7 7

4. ประชุมร่วมกับคณะทำงานขับเคลื่อน พชอ. เสนอแนวทางการดำเนินงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมเพื่อเสนอแนวทางการดำเนินงานสื่อสารและสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการกลไก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามที่สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ให้การสนับสนุนโครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อการสสร้างเสริมสุขภาพ  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ใน 4 ประเด็นหลัก  คือ ความมั่นคงทางอาหาร ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ และความมั่นคงทางฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  สู่เป้าหมาย “ภาคใต้แห่งความสุข” สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการกลไก  ทั้งภาคีภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน ภาคเอกชน  วิชาการ และสื่อสารมวลชน  ในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะทั้งระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพ  พร้อมทั้งพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถของภาคีเครือข่ายและถ้าสนับสนุนประเด็นงานในพื้นที่เพียงอย่างเดียว ผลลัพธ์ที่เกิดอาจไม่เพียงพอ ต้องมีการเสริมองค์ความรู้ และพัฒนาศักยภาพของคนในกองทุน  เพื่อการนำเนื้อหาไปสื่อสารผ่านแพลตฟอร์ม กองทุนละ 2 คน เป้าหมาย การทำสื่อเชิงลึก องค์ประกอบโดยรวมด้านอาหาร เนื้อหาแล้วแต่บริบทของพื้นที่  สื่อให้เห็นพลังของพื้นที่และการเปลี่ยนแปลงด้านนโยบายที่ตอบโจทย์โดยตรง  คาดหวังในการเสริมศักยภาพคนของกองทุนให้ทำได้และทำเป็น

 

5 5

5. เวทีสื่อสารสาธารณะ “สื่อให้ปังต้องให้โดน ด้วยพลัง 5 ตัวจี๊ด

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สนับสนุนงานสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อน ความมั่นคงทางมนุษย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. สื่อประชาสัมพันธ์ poster
  2. สื่อประชาสัมพันธ์ one page
  3. สื่อสิ่งพิมพ์

- ผ่านช่องทาง : Facebook page สื่อสร้างสุขภาคใต้

 

3 3

6. เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร ฟังเสียงประชาชน ภาคใต้แห่งความสุขกับข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาพื้นที่ภาคใต้

วันที่ 9 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นรายการ ทอล์ค เชิญแขกรับเชิญที่มีความรู้ความชำนาญเฉพาะ ด้านมาให้ความรู้ มาแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหา และแนวทางการแก้ไข ในระดับนโยบาย และเชิญภาคประชาสังคมที่ได้รับผลกระทบ หรือ การขับเคลื่อนงานที่เกิดผลความสำเร็จ มาแลกเปลี่ยน หรือมาส่งเสียงผ่านสื่อเพื่อให้สาธารณะได้รับรู้และได้เรียนรู้จากแหล่งข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ภาคใต้แห่งความสุข กับการนำข้อเสนอเชิงนโยบาย ส่งให้กับหน่วยงานในระดับนโยบายเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทำนโยบาย และขับเคลื่อนในทุกระดับ พื้นที่ภาคใต้โดยเครือข่ายสร้างสุขภาคใต้ ได้หยิบยก ประเด็น ทั้ง 4 ประเด็น คือ ความมั่นคงของมนุษย์ ความมั่นคงทางสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงทางสุขภาพ และ ความมั่นคงทางมนุษย์ ภาคประชาสังคมมองเรื่องนี้อย่างไร มีแนวทางการจัดทำข้อเสนอให้กับหน่วยงานเพื่อประกอบการจัดทำนโยบายหลัก คุณเจกะพันธ์ พรหมมงคล ได้เข้ามาร่วมให้ข้อคิดเห็นและเสนอทิศทางการขับเคลื่อนเพื่อนำไปสู่ภาคใต้แห่งความสุข
    ผ่านรายการ ฟังเสียงประชาชน ทางช่องทาง : Facebook page สื่อสร้างสุขภาคใต้ และ Facebook page สมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช

- https://youtu.be/kaant-bB-Qk 2. สื่อประชาสัมพันธ์ poster

 

5 5

7. พัฒนาศักยภาพและขยายเครือข่ายสื่อสร้างสุขประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์

วันที่ 29 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการจัดอบรมเพื่อการพัฒนาศักยภาพให้ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการใช้เทคโนโลยีสำหรับงานสื่อสารและการเขียนเนื้อหา(Content) และ ออกแบบการสื่อสารผ่าน Plat form

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการขยายเครือข่ายสื่อเป็นแผนงานในชุดโครงการ เพื่อจะให้มีเครือข่ายสื่อสร้างสุขที่ทำหน้าที่สื่อสารสุขภาพในพื้นที่ของตนเอง และการค้นหาข้อมูล ข้อเท็จจริง และทำการสื่อสารโดยที่ใช้ช่องทาง ที่เหมาะสม เพื่อการแก้ปัญหา fake news ให้ข้อมูลมาจากคนในพื้นที่โดยคนในพื้นที่ได้ทำหน้าที่สื่อสารด้วยตนเอง

 

6 6

8. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปแผนการดำเนินงานสื่อสาร

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการประชุมเพื่อสรุปแผนการดำเนินงานสื่อสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในระยะที่ 2 เครือข่ายสื่อนครศรีธรรมราช ได้รับงบประมาณ จำนวน 60,000 บาท สำหรับค่าตอบแทนดูแลระบบ IT จำนวน 10,000 บาท สำหรับงานสื่อสารประเด็น ความมั่นคงของมนุษย์ 4  พื้นที่ คือ
1. จังหวัดนครศรีธรรมราช กับ กลไกระดับอำเภอ พชอ. อำเภอพระพรหม 2. จังหวัดพัทลุง กับกลไก ระดับอำเภอ พชอ. อำเภอเมือง
3. จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลไกความร่วมมือ กองทุนระดับจังหวัด กสส. 4. จังหวัดกระบี่ กลไกระดับอำเภอ พชอ. อำเภอเกาะลันตา
    ระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมงานสื่อสาร 2 เดือน กับการใช้งานสื่อสารเพื่อการสนับสนุนงานพื้นที่ สำหรับงานสื่อสารนอกจากที่ดำเนินงานโดยพื้นที่เอง ส่วนของงานสื่อสาร กลางจะช่วยสนับสนุนงานสื่อสาร ทั้งรูปแบบ ช่องทาง และการขยายผล การติดตามนโยบายสำหรับสถาบันนโยบายสาธารณะได้สนับสนุนงานสื่อสารกลาง ทั้ง 4 พื้นที่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เวทีสาธารณะ บทเรียนการใช้กลไกในพื้นที่ พชอ. พชต. กองทุนตำบล ท้องถิ่น และท้องที่ ใครทำพหน้าที่อะไรสนับสนุนงานกันอย่างไร กิจกรรมสื่อสารที่ได้ทำไปแล้ว 1. อ.พระพรหม 2. กองทุน กสส. จ.สุราษฎร์ธานี 3. กลไก พชอ. อ.เมืองพัทลุง 4. รายการ ออนไลน์ ฟังเสียงประชาชน รูปแบบงานสื่อสาร 1. One page 2. เวทีสาธารณะ 3. ข่าวสั้น 4. เบนเนอร์ประชาสัมพันธ์ ช่องทางการสื่อสาร 1. เพจ เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ 2. Tik Tok สื่อสร้างสุขภาคใต้ 3. www.เครือข่ายสื่อภาคใต้.com

 

7 7

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการออกแบบและวางแผนเพื่อการสื่อสาร (2) ผลิตงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อน Onair , Online , Onground (3) อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี (4) อำเภอเมืองพัทลุง (5) อำเภอเมืองกระบี่ (6) ประชุมหารือคณะทำงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ (7) เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร ฟังเสียงประชาชน “ราคายาง ” ตกต่ำ วิกฤตินี้ ชาวสวนจะอยู่รอดอย่างไร “พืชร่วมยาง” พยุงชีพต่อชีวิตให้รอดพ้นอีกนานแค่ไหน ใคร?จะช่วย (8) Kick off ขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ กลไกอำเภอ พชอ. เชื่อมโยงกองทุนตำบล (9) ประชุมร่วมกับคณะทำงานขับเคลื่อน พชอ. เสนอแนวทางการดำเนินงานสื่อสารเพื่อสนับสนุนงานขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ (10) เวทีสื่อสารสาธารณะ “สื่อให้ปังต้องให้โดน ด้วยพลัง 5 ตัวจี๊ด (11) เวทีปฏิบัติงานสื่อสาร ฟังเสียงประชาชน ภาคใต้แห่งความสุขกับข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาพื้นที่ภาคใต้ (12) พัฒนาศักยภาพและขยายเครือข่ายสื่อสร้างสุขประเด็นความมั่นคงทางมนุษย์ (13) ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปแผนการดำเนินงานสื่อสาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


งานสื่อสาร กองทุนสุขภาพ (รวม 3 อำเภอ) จังหวัด

รหัสโครงการ 65-00336

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอานนท์ มีศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด