directions_run

งานสื่อสารสาธารณะ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ งานสื่อสารสาธารณะ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ ”

จังหวัดกระบี่ และ จังหวัดพังงา

หัวหน้าโครงการ
นายธรรมดิวิชย์ ศรีรุ้ง

ชื่อโครงการ งานสื่อสารสาธารณะ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ

ที่อยู่ จังหวัดกระบี่ และ จังหวัดพังงา จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ 65-00336 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 ตุลาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"งานสื่อสารสาธารณะ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัดพังงา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดกระบี่ และ จังหวัดพังงา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
งานสื่อสารสาธารณะ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ



บทคัดย่อ

โครงการ " งานสื่อสารสาธารณะ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดกระบี่ และ จังหวัดพังงา รหัสโครงการ 65-00336 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2565 - 31 ตุลาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จังหวัดพังงา
  2. จังหวัดกระบี่
  3. ประชุมวางแผนงานการสื่อสารการจัดเวทีขับเคลื่อนประเด็นฯ
  4. สื่อสารเวทีขับเคลื่อนประเด็น ศาลาด่านโมเดล อ.เกาะลันตา จ.กระบี่
  5. ผลิตอินโฟกราฟฟิคและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เวทีศาลาด่านโมเดล
  6. ประชุมวางแผนเพื่อจัดการอบรมเพื่มศักยภาพแกนนำในพื้นที่
  7. ประชุมวางแผนงานการสื่อสารการจัดเวทีขับเคลื่อนประเด็นฯ มะรุ่ยแห่งความสุข
  8. สื่อสารเวทีขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่่อการสร้างเสริมสุขภาพ วันที่ 17-18 สิงหาคม 65
  9. ประชุมวางแผนอบรมและแผนการขับเคลื่อนประเด็นฯ ศาลาด่านโมเดล
  10. ผลิตสื่อคลิปวีดีโอและอินโฟกราฟฟิคและเผยแพร่
  11. สื่อสารเวที Kick off เปิดตัวโครงการ "มะรุ่ยแห่งความสุข"
  12. เวทีอบรมเชิงปฎิบัติการแผนผังภูมินิเวศ "ศาลาด่านโมเดล"
  13. สื่่อสารการประชุมหาเรือความมั่นคงทางอาหาร บ้านหลังสอด ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา
  14. สื่อสารเวทีขับเคลื่อนประเด็น บ้านหลังสอด "กินดี อยู่ดี ที่เกาะลันตาน้อย"
  15. ประชุมวางแผนเตรียมข้อมูลสำหรับเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น "ศาลาด่านโมเดล"
  16. เวทีชี้แจงการเก็บข้อมูล "มะรุ่ยแห่งความสุข"
  17. การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ พัฒนาทักษะ และการสื่อสารสาธารณะเพื่อชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมวางแผนงานการสื่อสารการจัดเวทีขับเคลื่อนประเด็นฯ

วันที่ 16 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการสื่อสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แผนการดำเนินงานการสื่อสารประเด็นศาลาด่านโมเดล และแผนการเผยแพร่ ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น สื่อออนไลน์ เฟสบุ๊ค สถานีวิทยุในพื้นที่ ภาพข่าว อินโฟกราฟฟิก และคลิปวีดีโอ

 

5 5

2. สื่อสารเวทีขับเคลื่อนประเด็น ศาลาด่านโมเดล อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผลิตอินโฟกราฟฟิกเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การการจัดเวที  ถ่ายภาพทำข่าวเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การจัดเวที ผลิตคลิปวีดีโอเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อินโฟกราฟฟิก 1 ชิ้น ข่าวประขาสัมพันธฺผ่านสื่อมวลชนในพื้นที่ในช่องทางออนไลน์และสถานีวทยุ  คลิปวีดีโอจำนวน 2 คลิป จากการเผยแพร่มีผู้เข้าถึงประมาณ 5000 คน

 

8 50

3. ผลิตอินโฟกราฟฟิคและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เวทีศาลาด่านโมเดล

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกแบบและผลิตเป็นอินโฟกราฟ และนำมาเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ ต่างๆ ผ่านเครื่อข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อินโฟกราฟฟิก จำนวน 8 ชุด เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่อทางออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค ไลน์ และอื่นๆ ประชาชนรับรับรู้ในวงกว้าง

 

3,000 3,000

4. ประชุมวางแผนเพื่อจัดการอบรมเพื่มศักยภาพแกนนำในพื้นที่

วันที่ 7 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนและกำหนดสถานที่จัดกิจกรรม กำหนดกลุ่มเป้าหมาย อบรมให้ความรู้ด้านสื่่อออนไลน์ ให้แกนนำในพื้นที่สามารถผลิตสื่อและสื่อสารเองได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แผนการดำเนินงานและกลุ่มเป้าหมาย กระบวนการดำเนินกิจกรรม

 

3 3

5. ประชุมวางแผนงานการสื่อสารการจัดเวทีขับเคลื่อนประเด็นฯ มะรุ่ยแห่งความสุข

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงานจัดการประชุมวางแผน และชีแจงวัสถุประสงค์ ถ่ายภาพกิจกรรม เผยแพร่ข่าวผ่านช่องทางสื่อออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้วันเวลาในการประชุมเวทีขับเคลื่อนประเด็น มีแผนการสื่อสาร ผลิตวีดีโอเพื่ือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ก่อนการจัดเวที ผลิตอินโฟกราฟฟิกเผยแพร่ในช่องสื่อออนไลน์ สถานีวิทยุ ประชาชนรับรู้รับทราบของโครงการ แกนนำคณะทำงานได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการจัดทำโครงการ

 

20 20

6. สื่อสารเวทีขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่่อการสร้างเสริมสุขภาพ วันที่ 17-18 สิงหาคม 65

วันที่ 17 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถ่ายภาพ ผลิตอินโฟกราฟฟิก และสื่อสารผ่านช่องทางออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ภาพการจัดกิจกรรม อินโฟกราฟฟิก เผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ผ่านเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ เกิดการรับรู้ในวงกว้าง

 

50 50

7. ประชุมวางแผนอบรมและแผนการขับเคลื่อนประเด็นฯ ศาลาด่านโมเดล

วันที่ 8 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการดำเนินการขับเคลื่อนประเด็นฯ และการสื่อสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แผนงานการขับเคลื่อนประเด็นและแผนการสื่ื่อสาร

 

20 20

8. ผลิตสื่อคลิปวีดีโอและอินโฟกราฟฟิคและเผยแพร่

วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกแบบผลิตอินโฟกราฟฟิค สัมภาษณ์ผู้นำ นายก อบต.มะรุ่ย ผลิตเป็นคลิปวีดีโอสั้นสำหรับเผยแพร่ทางสื่ออนไลน์ต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้อินโฟกราฟฟิกจำนวน 1 ชิ้น  ได้คลิปวีดีโอ 1 ชิ้น โดยเผยแพร่สื่อสารทางสื่อออนไลน์ ในช่องทางต่างๆ มีผู้เข้าถึงประมาณ 3000 คน

 

3,000 3,000

9. สื่อสารเวที Kick off เปิดตัวโครงการ "มะรุ่ยแห่งความสุข"

วันที่ 18 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธผ่านช่องทางออนไลน์ ผ่านเครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ และเครือข่ายสื่่อจังหวัดพังงา ถ่ายทอดสดผ่านเฟสบุ๊คไลฟ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการรับรู้ในวงกว้างผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆที่มี

 

50 50

10. เวทีอบรมเชิงปฎิบัติการแผนผังภูมินิเวศ "ศาลาด่านโมเดล"

วันที่ 17 ตุลาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผลิตคลิปวีดีโอ จำนวน 2 คลิป สื่อสารผ่านช่องทางออนไลน์ ถ่ายทอดสดผ่านเฟสบุ๊คไลฟล์  ช่องทางสื่อสาร เพจสื่อสร้างสุขภาคใต้ เพจเครื่อข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ รายการ 5 แยกข่าว ผ่านสถานีวิทยุแห่งประเทศไทย 7 จังหวัด 11 สถานี เป็นต้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คลิปวิีดีโอจำนวน 2 คลิป
มีการเข้าถึงกิจกรรมในวงกว้างผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ สร้างการรับรู้ของโครงการ และมีเครือข่ายสื่อเพิ่มขึ้น

 

50 50

11. สื่่อสารการประชุมหาเรือความมั่นคงทางอาหาร บ้านหลังสอด ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำข่าวประชาสัมพันธ์กิจกรรม ผ่านสื่่อออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ภาพถ่ายข่าวการทำกิจกรรมและสื่อสารผ่านช่องทางออนไลน์ เพจสื่อสร้างสุขภาคใต้ และ เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ มีการรับรู้กิจกรรมในวงกว้าง

 

15 15

12. สื่อสารเวทีขับเคลื่อนประเด็น บ้านหลังสอด "กินดี อยู่ดี ที่เกาะลันตาน้อย"

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำข่าวถ่ายภาพสื่่อสารผ่านช่องทางสื่อออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ภาพข่าวและรายละเอียดกิจกรรม สื่อสารผ่านสื่ออนไลน์เครือข่ายสื่อสร้างสุขภาคใต้ และมีการรับรู้ในวงกว้าง

 

25 30

13. ประชุมวางแผนเตรียมข้อมูลสำหรับเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น "ศาลาด่านโมเดล"

วันที่ 2 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถ่ายภาพทำข่าวกิจกรรมสื่อสารผ่านช่องทางสื่อออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ภาพถ่ายและรายละเอียดกิจกรรม สื่อสารส่งต่อผ่านช่องทางสื่อต่างๆ เกิดการรับรู้ในพื้นที่และนอกพื้นที่ในวงกว้าง

 

20 30

14. เวทีชี้แจงการเก็บข้อมูล "มะรุ่ยแห่งความสุข"

วันที่ 8 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ถ่ายภาพเขียนข่าว สื่อสารผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ เพจสื่อสร้างสุขภาคใต้ และเครื่อข่ายสื่อสร้างสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการรับรู้กิจกรรมในวงกว้าง

 

30 30

15. การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ พัฒนาทักษะ และการสื่อสารสาธารณะเพื่อชุมชน

วันที่ 12 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ ด้านการเขียนคอนเทนท์ เทคนิคการถ่ายภาพด้วยมือถือ เทคนิคการถ่ายวีดีโอและตัดต่อด้วยมือถือ วิธีการสื่อสารผ่านช่องทางสื่อออนไลน์ ในแพลตฟอร์มต่างๆ เช่น Facebook TikTok  และจัดให้มีกิจกรรม workshop ลงมือทำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นักสื่อสารสุขภาวะในชุมชน ที่สามารถสื่่อสานเรื่องราวในชุมชนของตัวเองได้ จำนวน 25 คน และ ร่วมกันจัดตั้งเพจเฟสบุ๊ค Local of Lanta เป็นเพจกลางไว้สื่อสารคอนเทนท์ต่างๆ ใน 11 ชุมชนท่องเที่ยวของเกาะลันตา

 

40 40

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จังหวัดพังงา (2) จังหวัดกระบี่ (3) ประชุมวางแผนงานการสื่อสารการจัดเวทีขับเคลื่อนประเด็นฯ (4) สื่อสารเวทีขับเคลื่อนประเด็น ศาลาด่านโมเดล อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ (5) ผลิตอินโฟกราฟฟิคและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เวทีศาลาด่านโมเดล (6) ประชุมวางแผนเพื่อจัดการอบรมเพื่มศักยภาพแกนนำในพื้นที่ (7) ประชุมวางแผนงานการสื่อสารการจัดเวทีขับเคลื่อนประเด็นฯ มะรุ่ยแห่งความสุข (8) สื่อสารเวทีขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่่อการสร้างเสริมสุขภาพ วันที่ 17-18 สิงหาคม 65 (9) ประชุมวางแผนอบรมและแผนการขับเคลื่อนประเด็นฯ ศาลาด่านโมเดล (10) ผลิตสื่อคลิปวีดีโอและอินโฟกราฟฟิคและเผยแพร่ (11) สื่อสารเวที Kick off เปิดตัวโครงการ "มะรุ่ยแห่งความสุข" (12) เวทีอบรมเชิงปฎิบัติการแผนผังภูมินิเวศ "ศาลาด่านโมเดล" (13) สื่่อสารการประชุมหาเรือความมั่นคงทางอาหาร บ้านหลังสอด ต.เกาะลันตาน้อย อ.เกาะลันตา (14) สื่อสารเวทีขับเคลื่อนประเด็น บ้านหลังสอด "กินดี อยู่ดี ที่เกาะลันตาน้อย" (15) ประชุมวางแผนเตรียมข้อมูลสำหรับเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น "ศาลาด่านโมเดล" (16) เวทีชี้แจงการเก็บข้อมูล "มะรุ่ยแห่งความสุข" (17) การฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ  พัฒนาทักษะ และการสื่อสารสาธารณะเพื่อชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


งานสื่อสารสาธารณะ ประเด็นการจัดการฐานทรัพยากรธรรมชาติ จังหวัด พังงา

รหัสโครงการ 65-00336

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธรรมดิวิชย์ ศรีรุ้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด