แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ”
4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง
หัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล
ชื่อโครงการ แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ที่อยู่ 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ - เลขที่ข้อตกลง 61-ข-029
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562
กิตติกรรมประกาศ
"แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช
บทคัดย่อ
โครงการ " แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง รหัสโครงการ - ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 190,850.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 520 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการ (nutrition) คือ สภาวะทางร่างกายที่เป็นผลมาจากการได้รับอาหาร (food) ที่เหมาะสมและเพียงพอสอดคล้องกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัย ผู้มีภาวะโภชนาการดีย่อมมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดี เจ็บป่วยน้อยและแข็งแรงกว่าผู้มีภาวะโภชนาการด้อย เด็กที่มีสุขภาพดีย่อมเรียนรู้ได้ดี และผู้ที่แข็งแรงย่อมมีประสิทธิภาพในการทำงาน สำหรับผู้มีภาวะทุพโภชนาการ จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย ความสามารถในการต้านทานโรคลดลง และการเจริญเติบโตของสมองและสติปัญญาช้าลง
หลายประเทศประสบกับปัญหาทุพโภชนาการ ทั้งปัญหาการขาดสารอาการและปัญหาภาวะโภชนาการเกิน ถึงแม้ว่าปัญหาทั้งสองอาจจะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน แต่ในระยะยาวบุคคลที่มีการขาดสารอาหารอาจจะกลายเป็นผู้ที่มีปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนได้ ซึ่งอาจจะมีหลายปัจจัยเป็นตัวกระตุ้นและการจัดการปัญหานี้เป็นไปค่อนข้างยาก
ประเทศไทยเป็นกรณีศึกษาที่ดีในการจัดการปัญหาการขาดสารอาหารในกลุ่มเด็ก ซึ่งสามารถลดจำนวนเด็กที่ขาดสารอาหารภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งปัจจัยความสำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากความร่วมมือของชุมชน อาสาสมัคร และเครือข่ายในทุกระดับ ทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคม อย่างไรก็ตามจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิตของคนภายในประเทศ และการเปลี่ยนแปลงทางประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประกอบกับรูปแบบครอบครัวที่เปลี่ยนไป กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ที่อยู่อาศัยอยู่ในพื้นที่จำกัดไม่มีการปลูกพืชผักสวนครัวกินเอง นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงในเชิงวัฒนธรรมของประเทศทั้งเชิงธุรกิจ เป็นธุรกิจออนไลน์มากขึ้น สะดวกรวดเร็วไม่ต้องเคลื่อนไหวร่างกายมากนัก มีวัฒนธรรมการกินที่เน้นการอาหารพร้อมบริโภคและมักมีพลังงานสูง เช่น อาหารขยะ (Junk food) รวมทั้งการมีร้านค้าข้างถนนมากมายที่ขายเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น ชา กาแฟ ซึ่งมีส่วนผสมของน้ำตาลและนมข้นหวาน อาจนำสู่ภาวะโรคอ้วน และกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนในภาพรวม
การดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย จึงมีความสำคัญโดยเฉพาะประเด็นโรคอ้วนซึ่งมีแนวโน้นเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนในทุกกลุ่มวัย การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (health impact assessment; HIA) จึงมีความสำคัญเพื่อวิเคราะห์ว่านโยบาย แผนงาน โครงการพัฒนาหรือกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อภาวะโภชนาการของกลุ่มวัยต่างๆอย่างไร ซึ่งการประเมินผลกระทบทางสุขภาพทั้งในทางบวกและทางลบ เป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญต่อการสร้างความตระหนักและสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว และคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งกำหนดยุทธศาสตร์ มาตรการและแผนปฏิบัติการสร้างเสริมโภชนาการสมวัย ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงได้ดำเนินการวิจัยนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพต่อการดำเนินงานโภชนาการสมวัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดนครศรีธรรมราช
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) สถานการณ์ภาวะโภชนาการและการบริโภคของกลุ่มวัย ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
- 2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย ได้แก่ นโยบาย แผนงาน มาตรการ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการดำเนินงานภาวะโภชนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมครั้งที่ 1 : ชี้แจงโครงการวิจัย
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมทีมวิจัยชี้แจงการทำโครงการวิจัย HIA และวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้แผนงานการทำวิจัยในช่วงเดินกุมภาพันธ์ ถึง สิงหาคม 61
10
10
2. ลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ
5
5
3. ประชุมครั้งที่ 2 : ประชุมเตรียมการลงเก็บข้อมูล/จัดทำแบบสอบถาม
วันที่ 1 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมทีมวิจัยจัดทำแบบสอบถาม และวางแผนการลงพื้นที่เก็บข้อมูล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้เครื่องมือแบบสอบถามภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบล และกำหนดช่วงเวลาลงพื้นที่เก็บข้อมูล
10
10
4. ลงพื้นที่ทำความเข้าใจในการเก็บข้อมูล ประเมินยุทธศาสตร์ใน 4 อปท.
วันที่ 20 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่ทำความเข้าใจในการเก็บข้อมูล ประเมินยุทธศาสตร์ใน 4 อปท.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อบต.ทั้ง 4 มีความเข้าใจต่อเครื่องมือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพด้านโภชนาการสมวัย
4
4
5. อบรมการรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์
วันที่ 19 มิถุนายน 2561 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เรียนรู้การจัดทำรายงานกิจกรรมบนเว็บไซต์ พร้อมฝึกปฏิบัติและซักถามเมื่อมีข้อสงสัย
- ได้จัดทำปฏิทินการดำเนินงานโครงการ
- แลกเปลี่ยนการจัดการเงินโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- สามารถรายงานผลกิจกรรมบนเว็บไซต์ได้ และได้ฝึกทดลองทำ 1 กิจกรรม
- ได้เรียนรู้การรายงานผลออนไลน์ที่สามารถทำได้ทุกเวลา และทาง สจรส.ซึ่งเป็นผู้ติดตามให้คำแนะนำได้ตลอดเวลา
10
15
6. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ตำบลหูล่อง/ตำบลเขาแก้ว/ตำบลจันดี/ตำบลไสหร้า
วันที่ 20 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล และ อ.สิทธิพรรณ เรือนจันทร์ ลงพื้นที่ อบต.เขาแก้ว และ รพ.สต.ร่อนพิบูลย์ ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเก็บข้อมูลภาวะโภชนาการสมวัย และเตรียม work shop คืนข้อมูลผลการสำรวจภาวะโภชนาการ ในเดือนตุลาคม 2561
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ข้อมูลภาวะโภชนาการใน ต.เขาแก้ว ดังรายละเอียด
1.วัยทารก (แรกเกิด – 1 ปี) จำนวน 32 คน พบว่า
1.1น้ำหนัก
- น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คน
- น้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 13 คน
- น้ำหนักค่อนข้างมาก จำนวน 1 คน
- น้ำหนักมากเกินเกณฑ์ จำนวน 9 คน
1.2ส่วนสูง
- เตี้ย จำนวน 8 คน
- ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 1 คน
- ตามเกณฑ์ 14 คน
- ค่อนข้างสูง จำนวน 3 คน
- สูงกว่าเกณฑ์ จำนวน 6 คน
2.วัยก่อนเรียน (1-5 ปี) จำนวน 69 คน
2.1น้ำหนัก
- น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 7 คน
- น้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 5 คน
- น้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 47 คน
- น้ำหนักค่อนข้างมาก จำนวน 3 คน
- น้ำหนักมากเกินเกณฑ์ จำนวน 7 คน
2.2ส่วนสูง
- เตี้ย จำนวน 15 คน
- ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 3 คน
- ตามเกณฑ์ 36 คน
- ค่อนข้างสูง จำนวน 3 คน
- สูงกว่าเกณฑ์ จำนวน 12 คน
3.วัยเรียน (6-12 ปี) จำนวน 37 คน
3.1น้ำหนัก
- น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน
- น้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 4 คน
- น้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 28 คน
- น้ำหนักค่อนข้างมาก จำนวน 2 คน
- น้ำหนักมากเกินเกณฑ์ จำนวน 3 คน
3.2ส่วนสูง
- เตี้ย จำนวน 0 คน
- ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 4 คน
- ตามเกณฑ์ 28 คน
- ค่อนข้างสูง จำนวน 2 คน
- สูงกว่าเกณฑ์ จำนวน 3 คน
50
4
7. ยื่นขอจริยธรรมการวิจัย
วันที่ 27 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ยื่นขอจริยธรรมการวิจัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ยื่นขอจริยธรรมการวิจัย
1
1
8. สำรวจภาวะโภชนาการในตำบลหูล่อง อ.ปากพนัง
วันที่ 30 สิงหาคม 2561 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล และ อ.สิทธิพรรณ เรือนจันทร์ ลงพื้นที่ อบต.หูล่อง และ รพ.สต.บ้านบางน้อง ต.หูล่อง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเก็บข้อมูลภาวะโภชนาการ และเตรียม work shop คืนข้อมูลผลการสำรวจภาวะโภชนาการในเดือนตุลาคม 2561
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ข้อมูลภาวะโภชนาการภาวะโภชนาการแต่ละกลุ่มวัย ดังรายละเอียด
1.วัยทารก (แรกเกิด – 1 ปี) จำนวน 20 คน
1.1น้ำหนัก
- น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 5 คน
- ค่อนข้างน้อย จำนวน 0 คน
- ตามเกณฑ์ จำนวน 11 คน
- ค่อนข้างมาก จำนวน 0 คน
- มากเกินเกณฑ์ จำนวน 4 คน
1.2ส่วนสูง
- เตี้ย จำนวน 7 คน
- ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 2 คน
- ตามเกณฑ์ 5 คน
- ค่อนข้างสูง 2 คน
- สูงกว่าเกณฑ์ 4 คน
2.วัยก่อนเรียน (1-5 ปี) จำนวน 89 คน
2.1น้ำหนัก
- น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน
- ค่อนข้างน้อย จำนวน 8 คน
- ตามเกณฑ์ จำนวน 57 คน
- ค่อนข้างมาก จำนวน 5 คน
- มากเกินเกณฑ์ จำนวน 19 คน
2.2ส่วนสูง
- เตี้ย จำนวน 14 คน
- ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 2 คน
- ตามเกณฑ์ 42 คน
- ค่อนข้างสูง 3 คน
- สูงกว่าเกณฑ์ 28 คน
3.วัยเรียน (6-12 ปี) จำนวน 47 คน
3.1น้ำหนัก
- น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน
- ค่อนข้างน้อย จำนวน 6 คน
- ตามเกณฑ์ จำนวน 1 คน
- ค่อนข้างมาก จำนวน 29 คน
- มากเกินเกณฑ์ จำนวน 6 คน
3.2ส่วนสูง
- เตี้ย จำนวน 5 คน
- ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 4 คน
- ตามเกณฑ์ 25 คน
- ค่อนข้างสูง 2 คน
- สูงกว่าเกณฑ์ 11 คน
15
4
9. ลงพื้นที่วางแผนการประชุมในพื้นที่ 4อปท. (ต.หูล่อง/ต.เขาแก้ว/ต.จันดี/ต.ไสหร้า)
วันที่ 4 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงพื้นที่วางแผนการประชุมในพื้นที่ 4 อปท. (ต.หูล่อง/ต.เขาแก้ว/ต.จันดี/ต.ไสหร้า)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้กำหนดวันจัดประชุมข้อมูลผลการวิจัยภาวะโภชนาการสมวัยใน 4 ตำบล
50
4
10. ประชุมครั้งที่ 3 : สรุปวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภค
วันที่ 15 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดประชุมทีมวิจัยสรุปวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภค
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
10
10
11. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ใน 3 อบต. (เขาแก้ว/หูล่อง/จันดี)
วันที่ 5 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ทีมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดย ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล ผศ.ดร.เกียรติกำจร กุศล ผศ.ดร.เรวดี เพชรศิราสัณห์ อ.สุดา ใจห้าว อ.จิราวรรณ คล้ายวิเศษ และ อ.ชุติมา รอดเนียม ร่วมเปิดเวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แก่ คณะทำงานโภชนาการสมวัยของ อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง และร่วมกันมองภาพอนาคตให้เกิดแผนงานโครงการปี 2561 ให้สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและศักยภาพตำบล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ผลการวิจัยการด้านโภชนาการสมวัยใน 3 ตำบล ว่า ข้อมูลจากการศึกษาสถานการณ์ และข้อมูลยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ได้นำไปสู่การเขียนโครงการใช้เงินกองทุนตำบลเพื่อปฏิบัติการตามแผนงานยุทธศาสตร์อาหารในแต่ละตำบล
50
50
12. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เวทีคืนข้อมูลสุขภาวะ 5 กลุ่มวัย อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง
วันที่ 22 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ทีมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดย ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล ผศ.ดร.เกียรติกำจร กุศล ผศ.ดร.เรวดี เพชรศิราสัณห์ อ.สุดา ใจห้าว อ.จิราวรรณ คล้ายวิเศษ และ อ.ชุติมา รอดเนียม ร่วมเปิดเวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แก่ คณะทำงานโภชนาการสมวัยของ อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง และร่วมกันมองภาพอนาคตให้เกิดแผนงานโครงการปี 2561 ให้สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและศักยภาพตำบล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ระดมสอง และมีการทบทวนสถานการณ์โภชนาการเพิ่มเติม รวมทั้งการประเมินยุทธศาสตร์อาหาร พบว่า มีการเขียนโครงการของทุนกองทุนตำบลเพื่อดำเนินงานด้านโภชนาการให้บรรลุตามแผนยุทธศาสตร์อาหาร
50
30
13. ประชุมครั้งที่4 : ประชุมวิเคราะห์ข้อมุลเชิงคุณภาพ
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมครั้งที่4 : ประชุมวิเคราะห์ข้อมุลเชิงคุณภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
10
10
14. ประชุมครั้งที่ 5 : ประชุมสรุปข้อมูล และเตรียมนำเสนอการวิจัย
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมทีมวิจัยเพื่อจัดทำข้อมูลยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้นโภชนาการสมวัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ร่างยุทธศาสตร์ระบบอาหารประเด็นโภชนาการสมวัย และเป็นข้อมูลนำเข้าเวทีทบทวนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับจังหวัด
10
10
15. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลจันดี
วันที่ 24 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลจันดี
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลจันดี ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการ
8
8
16. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลไสหร้า
วันที่ 25 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลไสหร้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลไสหร้า ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการดำเนินโครงการ
7
7
17. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลเขาแก้ว
วันที่ 26 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลเขาแก้ว
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลเขาแก้ว ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการดำเนินโครงการ
7
7
18. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลหูล่อง
วันที่ 29 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ประชุมติดตามแผนงานโครงการ แผนภาวะโภชนาการสมวัยในระดับตำบลหูล่อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จากการประชุมพบว่า แผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารในระดับตำบลหูล่อง ด้านภาวะโภชนาการได้นำเข้าสู่แผนเทศบาลและใช้งบกองทุนตำบลในการจัดการดำเนินโครงการ
7
7
19. การถอดเทป การประชุมติดตามโครงการ 4 ตำบล
วันที่ 15 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ถอดเทป การประชุมติดตามโครงการ 4 ตำบล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้ข้อมูลผลการติดตามแผนยุทธศาสตร์ระบบอาหารด้านโภชนาการทั้ง 4 ตำบล
1
1
20. การเขียนรายงาน เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มวัย
วันที่ 15 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ได้รายงานฉบับสมบูรณ์
3
3
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1) สถานการณ์ภาวะโภชนาการและการบริโภคของกลุ่มวัย ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1. ข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการทุกกลุ่มวัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช
2
2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย ได้แก่ นโยบาย แผนงาน มาตรการ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1. ข้อมูลปัจจัยสาเหตุของปัญหาการส่งเสริมงานโภชนาการในจังหวัดนครศรีธรรมราช
2. มีการจัดเวทีและลงเก็บข้อมูลในพื้นที่และกลุ่มที่เกี่ยวข้อง
3
3) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการดำเนินงานภาวะโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : 1. มีร่างแผนยุทธศาสตร์ประเด็นภาวะโภชนาการสมวัย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ -
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ”
4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนังหัวหน้าโครงการ
ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล
ชื่อโครงการ แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช
ที่อยู่ 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ - เลขที่ข้อตกลง 61-ข-029
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562
กิตติกรรมประกาศ
"แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช
บทคัดย่อ
โครงการ " แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช " ดำเนินการในพื้นที่ 4 ตำบล 3 อำเภอของจังหวัดนครศรีธรรมราช ประกอบด้วย ตำบลไสหร้าและเทศบาลตำบลจันดีอำเภอฉวาง ตำบลเขาแก้วอำเภอลานสกา และตำบลหูล่องอำเภอปากพนัง รหัสโครงการ - ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 190,850.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 520 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โภชนาการ (nutrition) คือ สภาวะทางร่างกายที่เป็นผลมาจากการได้รับอาหาร (food) ที่เหมาะสมและเพียงพอสอดคล้องกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัย ผู้มีภาวะโภชนาการดีย่อมมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดี เจ็บป่วยน้อยและแข็งแรงกว่าผู้มีภาวะโภชนาการด้อย เด็กที่มีสุขภาพดีย่อมเรียนรู้ได้ดี และผู้ที่แข็งแรงย่อมมีประสิทธิภาพในการทำงาน สำหรับผู้มีภาวะทุพโภชนาการ จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย ความสามารถในการต้านทานโรคลดลง และการเจริญเติบโตของสมองและสติปัญญาช้าลง หลายประเทศประสบกับปัญหาทุพโภชนาการ ทั้งปัญหาการขาดสารอาการและปัญหาภาวะโภชนาการเกิน ถึงแม้ว่าปัญหาทั้งสองอาจจะเกิดขึ้นไม่พร้อมกัน แต่ในระยะยาวบุคคลที่มีการขาดสารอาหารอาจจะกลายเป็นผู้ที่มีปัญหาภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนได้ ซึ่งอาจจะมีหลายปัจจัยเป็นตัวกระตุ้นและการจัดการปัญหานี้เป็นไปค่อนข้างยาก ประเทศไทยเป็นกรณีศึกษาที่ดีในการจัดการปัญหาการขาดสารอาหารในกลุ่มเด็ก ซึ่งสามารถลดจำนวนเด็กที่ขาดสารอาหารภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งปัจจัยความสำเร็จที่ผ่านมาเกิดจากความร่วมมือของชุมชน อาสาสมัคร และเครือข่ายในทุกระดับ ทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคม อย่างไรก็ตามจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิตของคนภายในประเทศ และการเปลี่ยนแปลงทางประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประกอบกับรูปแบบครอบครัวที่เปลี่ยนไป กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ที่อยู่อาศัยอยู่ในพื้นที่จำกัดไม่มีการปลูกพืชผักสวนครัวกินเอง นอกจากนั้นการเปลี่ยนแปลงในเชิงวัฒนธรรมของประเทศทั้งเชิงธุรกิจ เป็นธุรกิจออนไลน์มากขึ้น สะดวกรวดเร็วไม่ต้องเคลื่อนไหวร่างกายมากนัก มีวัฒนธรรมการกินที่เน้นการอาหารพร้อมบริโภคและมักมีพลังงานสูง เช่น อาหารขยะ (Junk food) รวมทั้งการมีร้านค้าข้างถนนมากมายที่ขายเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น ชา กาแฟ ซึ่งมีส่วนผสมของน้ำตาลและนมข้นหวาน อาจนำสู่ภาวะโรคอ้วน และกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนในภาพรวม การดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการให้เหมาะสมกับช่วงวัย จึงมีความสำคัญโดยเฉพาะประเด็นโรคอ้วนซึ่งมีแนวโน้นเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนในทุกกลุ่มวัย การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (health impact assessment; HIA) จึงมีความสำคัญเพื่อวิเคราะห์ว่านโยบาย แผนงาน โครงการพัฒนาหรือกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อภาวะโภชนาการของกลุ่มวัยต่างๆอย่างไร ซึ่งการประเมินผลกระทบทางสุขภาพทั้งในทางบวกและทางลบ เป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญต่อการสร้างความตระหนักและสร้างการมีส่วนร่วมจากภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว และคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งกำหนดยุทธศาสตร์ มาตรการและแผนปฏิบัติการสร้างเสริมโภชนาการสมวัย ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงได้ดำเนินการวิจัยนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบทางสุขภาพต่อการดำเนินงานโภชนาการสมวัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัดนครศรีธรรมราช
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1) สถานการณ์ภาวะโภชนาการและการบริโภคของกลุ่มวัย ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ
- 2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย ได้แก่ นโยบาย แผนงาน มาตรการ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการดำเนินงานภาวะโภชนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมครั้งที่ 1 : ชี้แจงโครงการวิจัย |
||
วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 10 |
2. ลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ |
||
วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นลงพื้นที่ประสานทำความเข้าใจโครงการ
|
5 | 5 |
3. ประชุมครั้งที่ 2 : ประชุมเตรียมการลงเก็บข้อมูล/จัดทำแบบสอบถาม |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 10 |
4. ลงพื้นที่ทำความเข้าใจในการเก็บข้อมูล ประเมินยุทธศาสตร์ใน 4 อปท. |
||
วันที่ 20 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่ทำความเข้าใจในการเก็บข้อมูล ประเมินยุทธศาสตร์ใน 4 อปท. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
4 | 4 |
5. อบรมการรายงานผลกิจกรรมของโครงการและการจัดทำรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ |
||
วันที่ 19 มิถุนายน 2561 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 15 |
6. ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ตำบลหูล่อง/ตำบลเขาแก้ว/ตำบลจันดี/ตำบลไสหร้า |
||
วันที่ 20 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำผศ.ดร.นัยนา หนูนิล และ อ.สิทธิพรรณ เรือนจันทร์ ลงพื้นที่ อบต.เขาแก้ว และ รพ.สต.ร่อนพิบูลย์ ต.เขาแก้ว อ.ลานสกา จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเก็บข้อมูลภาวะโภชนาการสมวัย และเตรียม work shop คืนข้อมูลผลการสำรวจภาวะโภชนาการ ในเดือนตุลาคม 2561 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ข้อมูลภาวะโภชนาการใน ต.เขาแก้ว ดังรายละเอียด 1.วัยทารก (แรกเกิด – 1 ปี) จำนวน 32 คน พบว่า
1.1น้ำหนัก
- น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คน 2.วัยก่อนเรียน (1-5 ปี) จำนวน 69 คน
2.1น้ำหนัก
- น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 7 คน
- น้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 5 คน 3.วัยเรียน (6-12 ปี) จำนวน 37 คน
3.1น้ำหนัก
- น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน
- น้ำหนักค่อนข้างน้อย จำนวน 4 คน
|
50 | 4 |
7. ยื่นขอจริยธรรมการวิจัย |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำยื่นขอจริยธรรมการวิจัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นยื่นขอจริยธรรมการวิจัย
|
1 | 1 |
8. สำรวจภาวะโภชนาการในตำบลหูล่อง อ.ปากพนัง |
||
วันที่ 30 สิงหาคม 2561 เวลา 10:00 น.กิจกรรมที่ทำผศ.ดร.นัยนา หนูนิล และ อ.สิทธิพรรณ เรือนจันทร์ ลงพื้นที่ อบต.หูล่อง และ รพ.สต.บ้านบางน้อง ต.หูล่อง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เพื่อเก็บข้อมูลภาวะโภชนาการ และเตรียม work shop คืนข้อมูลผลการสำรวจภาวะโภชนาการในเดือนตุลาคม 2561 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.วัยทารก (แรกเกิด – 1 ปี) จำนวน 20 คน 1.1น้ำหนัก - น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 5 คน - ค่อนข้างน้อย จำนวน 0 คน - ตามเกณฑ์ จำนวน 11 คน - ค่อนข้างมาก จำนวน 0 คน - มากเกินเกณฑ์ จำนวน 4 คน 1.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 7 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 2 คน - ตามเกณฑ์ 5 คน - ค่อนข้างสูง 2 คน - สูงกว่าเกณฑ์ 4 คน 2.วัยก่อนเรียน (1-5 ปี) จำนวน 89 คน 2.1น้ำหนัก - น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน - ค่อนข้างน้อย จำนวน 8 คน - ตามเกณฑ์ จำนวน 57 คน - ค่อนข้างมาก จำนวน 5 คน - มากเกินเกณฑ์ จำนวน 19 คน 2.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 14 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 2 คน - ตามเกณฑ์ 42 คน - ค่อนข้างสูง 3 คน - สูงกว่าเกณฑ์ 28 คน 3.วัยเรียน (6-12 ปี) จำนวน 47 คน 3.1น้ำหนัก - น้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 0 คน - ค่อนข้างน้อย จำนวน 6 คน - ตามเกณฑ์ จำนวน 1 คน - ค่อนข้างมาก จำนวน 29 คน - มากเกินเกณฑ์ จำนวน 6 คน 3.2ส่วนสูง - เตี้ย จำนวน 5 คน - ค่อนข้างเตี้ย จำนวน 4 คน - ตามเกณฑ์ 25 คน - ค่อนข้างสูง 2 คน - สูงกว่าเกณฑ์ 11 คน
|
15 | 4 |
9. ลงพื้นที่วางแผนการประชุมในพื้นที่ 4อปท. (ต.หูล่อง/ต.เขาแก้ว/ต.จันดี/ต.ไสหร้า) |
||
วันที่ 4 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงพื้นที่วางแผนการประชุมในพื้นที่ 4 อปท. (ต.หูล่อง/ต.เขาแก้ว/ต.จันดี/ต.ไสหร้า) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 4 |
10. ประชุมครั้งที่ 3 : สรุปวิเคราะห์ข้อมูลภาวะโภชนาการ และพฤติกรรมการบริโภค |
||
วันที่ 15 กันยายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
10 | 10 |
11. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ใน 3 อบต. (เขาแก้ว/หูล่อง/จันดี) |
||
วันที่ 5 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำทีมคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดย ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล ผศ.ดร.เกียรติกำจร กุศล ผศ.ดร.เรวดี เพชรศิราสัณห์ อ.สุดา ใจห้าว อ.จิราวรรณ คล้ายวิเศษ และ อ.ชุติมา รอดเนียม ร่วมเปิดเวทีคืนข้อมูลภาวะสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แก่ คณะทำงานโภชนาการสมวัยของ อบต.เขาแก้ว อ.ลานสกา อบต.ไสหร้า และเทศบาลตำบลจันดี อ.ฉวาง และร่วมกันมองภาพอนาคตให้เกิดแผนงานโครงการปี 2561 ให้สอดคล้องกับภาวะสุขภาพและศักยภาพตำบล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ผลการวิจัยการด้านโภชนาการสมวัยใน 3 ตำบล ว่า ข้อมูลจากการศึกษาสถานการณ์ และข้อมูลยุทธศาสตร์ระบบอาหาร ได้นำไปสู่การเขียนโครงการใช้เงินกองทุนตำบลเพื่อปฏิบัติการตามแผนงานยุทธศาสตร์อาหารในแต่ละตำบล
|
50 | 50 |
12. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เวทีคืนข้อมูลสุขภาวะ 5 กลุ่มวัย อบต.หูล่อง อ.ปากพนัง |
||
วันที่ 22 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
50 | 30 |
13. ประชุมครั้งที่4 : ประชุมวิเคราะห์ข้อมุลเชิงคุณภาพ |
||
วันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมครั้งที่4 : ประชุมวิเคราะห์ข้อมุลเชิงคุณภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
10 | 10 |
14. ประชุมครั้งที่ 5 : ประชุมสรุปข้อมูล และเตรียมนำเสนอการวิจัย |
||
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
10 | 10 |
15. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลจันดี |
||
วันที่ 24 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
8 | 8 |
16. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลไสหร้า |
||
วันที่ 25 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
7 | 7 |
17. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลเขาแก้ว |
||
วันที่ 26 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
7 | 7 |
18. ประชุมติดตามแผนงานโครงการ ตำบลหูล่อง |
||
วันที่ 29 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
7 | 7 |
19. การถอดเทป การประชุมติดตามโครงการ 4 ตำบล |
||
วันที่ 15 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำถอดเทป การประชุมติดตามโครงการ 4 ตำบล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
1 | 1 |
20. การเขียนรายงาน เกี่ยวกับภาวะโภชนาการและพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มวัย |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
3 | 3 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1) สถานการณ์ภาวะโภชนาการและการบริโภคของกลุ่มวัย ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยผู้สูงอายุ ตัวชี้วัด : 1. ข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการทุกกลุ่มวัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช |
||||
2 | 2) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการของแต่ละกลุ่มวัย ได้แก่ นโยบาย แผนงาน มาตรการ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัด : 1. ข้อมูลปัจจัยสาเหตุของปัญหาการส่งเสริมงานโภชนาการในจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. มีการจัดเวทีและลงเก็บข้อมูลในพื้นที่และกลุ่มที่เกี่ยวข้อง |
||||
3 | 3) ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการดำเนินงานภาวะโภชนาการสมวัย ตัวชี้วัด : 1. มีร่างแผนยุทธศาสตร์ประเด็นภาวะโภชนาการสมวัย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
แผนงานวิจัยการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ต่อการดำเนินงานด้านภาวะโภชนาการสมวัย ของประชาชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
รหัสโครงการ -
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผศ.ดร.นัยนา หนูนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......