แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง ”
จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
น.ส.พรองค์อินทร์ธาระธนผล
ชื่อโครงการ เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง
ที่อยู่ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง สชต.นศ.010
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ที่ได้
การประเมินผล
ปัญหาและอุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
เอกสารประกอบอื่นๆ
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย
2. ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและรูปแบบการสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อนสุขภาวะทางสังคม
3.กำหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการสื่อสาร กับการขับเคลื่อนสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. เวทีสาธารณะ "คนเมืองตรัง บ้านโคกออก ร่วมจัดการ ชุมชนอยู่ดีมีสุข"
วันที่ 19 มีนาคม 2561 เวลา 09:00:16:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- ลงพื้นที่สำรวจชุมชน ล่องแพ ในพื้นที่ป่าชายเลน พื้นที่สำรวจ ชุมชน บ้านโคกออก ม.8 อ.หาดสำราญ
- เก็บข้อมูลภาพลกิจกรรมและจัดทำรายละเอียดในชุมขนและกับแหล่งท่องเที่ยว พื้นที่เขารูปช้าง คลองปรักเบน บ้าหวี โคกออก
- ผลิตรายการถ่ายทอดสด ทางเฟสบุคไลค์ ผ่านสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้
- ผลิตรายการสัมภาษณ์สด ทาง วิทยุกระจายเสียง แห่งประเทศไทย คลื่น 91.25 สวท.ตรัง และ รายการ ตรัง 360 องศา ทางคลื่น104.75 พะยูนเรดิโอ
- เนื้อหาและภาพ นำมาลงสกู๊ป นสพ.ท้องถิ่น
- ประชาสัมพันธ์ในเครือข่าย เฟสบุค / เพจ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1. กลุ่มแกนนำ มีการพัฒนาความรู้เรื่องการทำสื่อประชาสัมพันธ์เพิ่มมากขึ้น ในด้านการนำเสนอข้อมูลและเนื้อหาที่น่าสนใจ เพื่อให้ผู้คนลงมาท่องเที่ยวในพื้นที่
2. แกนนำ มีการเชื่อมโยงกลุ่มเครือข่ายอื่นๆ เช่น กลุ่มเด็ก และเยาวชนให้ลงมาทำกิจกรรมในพื้นที่ ปลูกป่าชายเลน ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ อนุรักษ์ธรรมชาติ
ผลลัพธ์
1. ทางกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกออกได้มีการจัดการวางแผนงานด้านการท่องเที่ยว และพัฒนาผู้รับผิดชอบงานในกลุ่มชัดเจนขึ้น
2. พฤติกรรมทางกลุ่มรวมตัวกันเข้มแข็งมากขึ้น มีกลุ่มชุมชนองค์กร เดินทางมาท่องเที่ยวและศึกษาดูงานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนำรายได้มาสู่กลุ่มมากกว่าเดิม
3. สิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังหน่วยงานท้องถิ่นได้เข้ามาสนับสนุน ความรู้และงบประมาณที่จะอำนวยความสะดวกให้พื้นทีท่องเที่ยวมีความสะอาดปลอดภัย
4. ทางกลุ่มได้ขยายพื้นที่ของขนาดแพ การรวมกลุ่มทำกิจกรรมต่อเนื่อง ในชุมชน
5. ทางกลุ่มเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการท่องเที่ยว มาดูงานและทำกิจกรรมในพื้นที่ เช่น อสม./ กลุ่มผู้นำจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ / นักศึกษาและเยาวชนเดินทางมาทำกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
30
22
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย
2. ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและรูปแบบการสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อนสุขภาวะทางสังคม
3.กำหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการสื่อสาร กับการขับเคลื่อนสังคม
ตัวชี้วัด : 1. อธิบายกระบวนการสื่อสารและเนื้อหาในการสื่อสารสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
2. ได้รูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมกับประเด็นที่ขับเคลื่อนในพื้นที่
3. มีแนวปฏิบัติเรื่องจริยธรรมของนักสื่อสารชุมชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.พรองค์อินทร์ธาระธนผล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)
“ เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง ”
จังหวัดตรังหัวหน้าโครงการ
น.ส.พรองค์อินทร์ธาระธนผล
ชื่อโครงการ เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง
ที่อยู่ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง สชต.นศ.010
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | |
บทคัดย่อ | |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | |
วัตถุประสงค์โครงการ | |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | |
กลุ่มเป้าหมาย | |
ผลลัพธ์ที่ได้ | |
การประเมินผล | |
ปัญหาและอุปสรรค | |
ข้อเสนอแนะ | |
เอกสารประกอบอื่นๆ |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย 2. ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและรูปแบบการสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อนสุขภาวะทางสังคม 3.กำหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการสื่อสาร กับการขับเคลื่อนสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ |
---|
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. เวทีสาธารณะ "คนเมืองตรัง บ้านโคกออก ร่วมจัดการ ชุมชนอยู่ดีมีสุข" |
||
วันที่ 19 มีนาคม 2561 เวลา 09:00:16:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1. กลุ่มแกนนำ มีการพัฒนาความรู้เรื่องการทำสื่อประชาสัมพันธ์เพิ่มมากขึ้น ในด้านการนำเสนอข้อมูลและเนื้อหาที่น่าสนใจ เพื่อให้ผู้คนลงมาท่องเที่ยวในพื้นที่ 2. แกนนำ มีการเชื่อมโยงกลุ่มเครือข่ายอื่นๆ เช่น กลุ่มเด็ก และเยาวชนให้ลงมาทำกิจกรรมในพื้นที่ ปลูกป่าชายเลน ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ อนุรักษ์ธรรมชาติ ผลลัพธ์
1. ทางกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกออกได้มีการจัดการวางแผนงานด้านการท่องเที่ยว และพัฒนาผู้รับผิดชอบงานในกลุ่มชัดเจนขึ้น
|
30 | 22 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. สนับสนุนการผลิตสื่อและจัดรายการเพื่อการสื่อสารสาธารณะให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย
2. ผลักดันให้เกิดการพัฒนาสื่อที่มีคุณภาพและรูปแบบการสื่อสารกับประเด็นขับเคลื่อนสุขภาวะทางสังคม
3.กำหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรมการสื่อสาร กับการขับเคลื่อนสังคม ตัวชี้วัด : 1. อธิบายกระบวนการสื่อสารและเนื้อหาในการสื่อสารสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างไร 2. ได้รูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสมกับประเด็นที่ขับเคลื่อนในพื้นที่ 3. มีแนวปฏิบัติเรื่องจริยธรรมของนักสื่อสารชุมชน |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
บทคัดย่อ*
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
เครือข่ายสื่อสร้างสุข จ.ตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.พรองค์อินทร์ธาระธนผล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......