directions_run

โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 ”

แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน )

หัวหน้าโครงการ
นายสุวิทย์ สมบัติ

ชื่อโครงการ โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1

ที่อยู่ แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน ) จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 มิถุนายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน )

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 " ดำเนินการในพื้นที่ แพร่ พะเยา น่าน (รวม 53 กองทุน ) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 มิถุนายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,200,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พื้นที่ดำเนินการภาคเหนือเขต1 ใน 3 จังหวัด 4 อำเภอคือ อำเภอสูงเม่นและร้องกวาง จังหวัดแพร่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยาและอำเภอเวียงสาจังหวัดน่าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
  2. เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการ บันทึกกิจกรรม การติดตามประเมินคุณค่าโครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด (Online 2 ครั้ง Onsite 2 ครั้ง)
  2. 2.พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลพื้นที่ แพร่ น่าน พะเยา (53 กองทุน ) จำนวน 4 ครั้ง
  3. 3. ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน 53 กองทุน จำนวน 2 ครั้ง
  4. 4. พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 30 กองทุน 2 ครั้ง
  5. 1.1 พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ออนไลน์
  6. 1.2พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัดในพื้นที่จ.แพร่ น่าน พะเยา
  7. 2.2 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่ ครั้งที่ 1 อำเภอเมืองพะเยา
  8. 2.3 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอ ร้องกวาง จ.แพร่
  9. 1.3 ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ online
  10. 1.4 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน
  11. 2.4 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จ.แพร่
  12. 3.4 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่1
  13. 2.5 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอเวียงสา จ.น่าน (ออนไลน์)
  14. 3.1 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2
  15. 3.2 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 1-2
  16. 3.3ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา
  17. 3.6 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย กองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า
  18. 3.5 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่ ครั้งที่ 1
  19. 3.7 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยง อำเภอเวียงสา
  20. 3.8 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน ครั้งที่ 1 (ออนไลน์)
  21. 3.10 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน กองทุนอำเภอร้องกวาง โดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่2
  22. 3.9 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 3
  23. 1.5ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน
  24. 3.11 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
  25. 3.12 ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ
  26. 3.13 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
  27. 3.14 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่
  28. 4.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 32 กองทุน
  29. 4.1.2 ประชุมทีมพี่เลี้ยงอำเภอสูงเม่นและอำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่เพื่อสรุปการพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
  30. 4.1.1 ประชุมกองทุนต้นแบบ กองทุนสุขภาพท้องถิ่นในพื้นที่ เขต อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
  31. 4.2.1 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
  32. 4.2.2 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
  33. 4.2.3 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
  34. 4.1.3 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
  35. 4.1.4 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
  36. 4.1.5 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
  37. 4.1.6 ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อสรุปการติดตามพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ
  38. 4.1.7การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
  39. 4.2การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน (มิถุนายน 2565)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ยกรัะดับเป็นแผนพัฒนากิจกรรมทางกายรดับอำเภอร่วมกับพชอ.


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.1 พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ออนไลน์

วันที่ 17 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ครั้งที่ 1 ประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ZOOM) วัตถุประสงค์ 1) เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการ 2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1 08.30 - 09.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าสู่ระบบ ZOOM / เตรียมความพร้อม ซักซ้อมระบบ 09.00 - 10.20 น. ทิศทางสำคัญของการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1/ชี้แจงแนวทาง และขั้นตอนการดำเนินงานโครงการชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการประชุม
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 10.20 – 10.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.30 – 11.00 น.ทิศทาง ระเบียบและข้อกำหนดกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ปี2564 โดย นางสาวมนัสชนก ณ มงคล สปสช.1 11.00 – 12.00 น.แผนการบริหารจัดการโครงการฯ แนวทางสำคัญของการการติดตามงานโครงการฯในพื้นที่แลกเปลี่ยน แนวทาง แผนการดำเนินงานโครงการฯ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น.แลกเปลี่ยนแผนการบริหารงานโครงการฯในพื้นที่โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 13.00 – 14.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 14.30 –16.00น.สรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานกลางประชุม onsite จำนวน 4 คน และเข้าร่วมประชุม on line จำนวน 15 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงระดับเขต 1 คน จากสปสช.1 และพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่ น่าน พะเยาจำนวน 4 คนจากสาธารณสุขอำเภอ 2 คนและเทศบาล 2 คน พี่เลี้ยงพื้นที่ อำเภอสูงเม่น 3 คน ผอ.รสสต. 2 คนและอบต.1 คน อำเภอร้องกวาง 2 คน จากสสอ.รพสต . อำเภอเมืองพะเยา 2 คน จากเทศบาล และอำเภอเวียงสา 3 คนจากรพสต.และเทศบาล ร่วมการแลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำแผนกิจกรรมทางกายและร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการของ 4 อำเภอเป้าหมาย

 

15 0

2. 1.2พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัดในพื้นที่จ.แพร่ น่าน พะเยา

วันที่ 31 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ครั้งที่ 2 onsiteและon zoom วัตถุประสงค์ 1) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1 2) เพื่อเสริมศักยภาพทีมพี่เลี้ยงในการจัดทำแผนงาน โครงการกองทุนตำบลส่งเสริมกิจกรรมทางกาย กิจกรรม 1.ชี้แจงแนวทาง เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและขั้นตอน การดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมาย ภ อำเภอคือสูงเม่น และร้องกวาง จังหวัดแพร่ อำเภอเวียงสาจังหวัดน่านและอำเภอเมืองพะเยา แนวทางการทำแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2.ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย แนวคิดการจัดทำโครงการฯ แนวทางสำคัญ ของการติดตามงานโครงการฯในพื้นที่แลกเปลี่ยน แนวทาง แผนการดำเนินงานโครงการฯ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3.ฝึกบันทึกการจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายและการพัฒนาโครงการในโปรแกรม โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 4.จัดทำแผนปฏิบัติการดำเนินงานในแต่ละพื้นที่ สรุปแผนการติดตามเสริมพลังในแต่ละพื้นที่และปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีพี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมครอบคลุมทุกพื้นที่ จังหวัดแพร่และพะเยาร่วมประชุมonsite จำนวน 12  คน และพี่เลี้ยงจังหวัดน่านและอำเภอเวียงสาประชุม on zoom จำนวน 6 คน 2. แลกเปลี่ยนแนวทางการจัดทำทำแผนกิจกรรมทางกายเสนอแนะควรมีการจัดทำแบบประเมินกิจกรรมทางกายและแบบฟอร์มการจัดเก็บข้อมูลกิจกรรมทางกายรายบุคคลและรวบรวมบันทึกในโปแกรมเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดทำแผนรายพื้นที่ 3.วิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ในการดำเนินการคัดเลือกพื้นที่และ4.กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมพัฒนาศักยภาพในรอบแรกโดยแต่ละกองทุนคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน ผู้สนใจรับทุนพัฒนาโครงการกิจกรรมทางกาย เจ้าหน้าที่รพสต.และผู้รับผิดชอบคนกองทุน นัดหมายการปฏิบัติงานในพื้นที่

 

47 0

3. 2.2 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่ ครั้งที่ 1 อำเภอเมืองพะเยา

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ วันที่18 พฤศจิกายน2564 ณ ห้องประชุม สาธารณสุขอำเภอเมืองพะเยา อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่ 4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.เมืองพะเยา สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นทีกำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 43คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต.ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯและผู้สนใจรับทุน อาสาสมัครสาธารณสุข 2-3 คน จาก 14 กองทุนในอำเภอพะเยา ผู้เข้าร่วมประชุมมีความเข้าใจในกระบวนการทำแผนและฝึกบันทึกการทำแผนกิกรรมทางกายลงในโปรแกรม จำนวน10 แผน

 

40 0

4. 1.3 ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ online

วันที่ 28 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

การประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดและพื้นที่ วันที่ 28 มกราคม 2565 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมสมาคมภาคีพัฒนาจังหวัดแพร่  ตำบลป่าแมต อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ และ ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม Zoom meeting …………………………………………………………… เวลา 09.00 – 09.15 น. ลงทะเบียน/เตรียมระบบ เวลา 09.15- 11.00 น. ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่  ติดตามความก้าวหน้าการบันทึกแผนงานโครงการ เกณฑ์การประเมินผล โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
เวลา 11.00 -11.15 น. แจ้งเรื่องกองทุน กปท. ทุกแห่งในการเปิดใช้โปรแกรมใหม่
โดย นางสาวมนัสชนก ณ มงคล เวลา 11.15 – 12.00 น. แจ้งเรื่องผลการประชุมจากทีมกลาง / การทดลองใช้แบบการประเมินตนเองด้านกิจกรรมทางกาย และสุขภาวะประกอบด้วยการประเมิน 3 ส่วน ดังนี้ 1) การประเมินด้านกิจกรรมทางกาย (Physical Activity; PA) 2) การประเมินพฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Behavior; SB) 3) การประเมินพฤติกรรมหน้าจอ (Screen Time; ST)
โดย  นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ เวลา 12.00 – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 – 15.30 น. - ทวนสอบการบันทึกแผนงานโครงการออนไลน์ของพื้นที่ - กำหนดพื้นที่การติดตามกองทุนของพี่เลี้ยง (แห่งละ 3-4 กองทุนต่อคน) - จัดทำแผนปฏิบัติการการติดตาม หนุนเสริมพื้นที่ใน 2 ระดับคือ
1. พื้นที่เดิม 2 แห่ง คือ อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ และอ.เวียงสา จ.น่าน (จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำ) 2. พื้นที่ 2 แห่ง คือ อ.เมือง พะเยา และอ.ร้องกวาง (จัดทำแผนการติดตามในพื้นที่) โดยนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ และ ทีมพี่เลี้ยง เวลา 15.30 – 16.00 น. สรุป/แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยนายสุวิทย์ สมบัติ,นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์และ ทีมพี่เลี้ยง

หมายเหตุ: 10.30 น. และ 14.30 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
              เวลาอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมพี่เลี้ยงเข้าประชุมครอบคลุม 100% คือ
ทีมประสานงานประชุม onsite 4 คน
ทีมพี่เลี้ยงระดับเขตเขต ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ จำนวน 15 คน

มีแผนปฏิบัติการการจัดกิจกรรมใน 2 ระดับ คือ
1. พื้นที่เดิม 2 แห่ง คือ อ.สูงเม่น จ.แพร่ และอ.เวียงสา จ.น่าน จำนวน 29 กองทุน (จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพแกนนำ) 2. พื้นที่ 2 แห่ง คือ อ.เมือง จ.พะเยา และอ.ร้องกวาง จ.แพร่ จำนวน 24 กองทุน  (จัดทำแผนการติดตามในพื้นที่)

มอบหมายพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่จำนวน 14 คนๆละ 3-4 กองทุน(53 กองทุน) จากการตรวจสอบการบันทึกข้อมูลออนไลน์ พบ การบันทึกสถานการณ์ และการบันทึกโครงการยังงไม่ครบถ้วนสมบูรณ์  บันทึกเพียง 24/53 กองทุน

เกณฑ์การตรวจสอบพื้นที่เรียนรู้หรือพื้นที่ต้นแบบประกอบด้วย กรบันมทึกสถานการณ์ ครอบคลุมทั้ง 8 สถานการณ์ การกำหนดเป้าหมายสอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ โครงการที่ควรดำเนินการสอดคล้องกับเป้าหมายที่เป็นปัญหาของพื้นที่ และมีการพัฒนาโครงกาารอย่างน้อย พื้นที่ละ  1 โครงการ

เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานมีความรู้ความเข้าใจและสามารถถ่ายทอดการบันทึกหรือจัดทำแผงานโครงการกิจกรรมทางกายได้

 

19 0

5. 1.4 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน วัตถุประสงค์ และเป้าหมายการดำเนินงานโครงการแก่ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน แนวทางการสนับสนุนกิจกรรม และการจัดทำแผนปฏิบัติการดครงการในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุม10  คนและมีการการจัดทำแผนปฏิบัติการโครงการในพื้นที่ การจัดเตรียมวัสดุอุปกรณืในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมให้แต่ละพื้นที่ 1.ชี้แจงวัตถุประสงค์และกิจกรรมโครงการในพื้นที่ เขต 1 2.จัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการ 3.ทบทวนการโปรแกรมในการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในการดำเนินงานโครงการฯ 4.แลกเปลี่ยนรูปแบบพัฒนาศักยภาพทีมและแกนนำ
5.สรุปผล

 

12 0

6. 2.4 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จ.แพร่

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่ 4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.สูงเม่น สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 45 คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต. 16 แห่ง กองทุนฯ 1-2 คนจาก 13 กองทุน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาล และนักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จากปท.และเทศบาล ในอำเภอสูงเม่น

มีการบันทึกข้อมูลแผนงาน 12 โครงการ/13 แห่ง ยกเว้น ต.ร่องกาศ (อยู่ระหว่างการดำเนินงาน) มีโครงการพัฒนา 5 โครงการ

 

37 0

7. 2.5 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอเวียงสา จ.น่าน (ออนไลน์)

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมสมาคมภาคีพัฒนาจังหวัดแพร่และประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่ 4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน  34  คน ประกอบด้วยพี่เลี้ยงจังหวัดและพื้นที่ ตัวแทนจากรพสต. กองทุนฯ 1-2 คนจาก 16 กองทุน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข พยาบาล และนักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานกองทุนฯ จากอปท.และเทศบาล ในอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

 

45 0

8. 3.4 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่1

วันที่ 3 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (3-26 เมษายน 2565) จำนวน 51 กองทุน โดยทีมพี่เลี้ยงเขต(ส่วนกลาง) กิจกรรม ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ในสถานการณ์ปัญหา ทบทวนการจัดทำแผน บรรยายความเชื่อมโยงการทำแผนการพัฒนาโครงการ ฝึกปฏิบัติการ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ การพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ที่มีการบันทึกผ่านเว็บไซด์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมพี่เลี้ยงระดับเขต พี่เลี้ยงระดับอำเภอ/จังหวัด ประกอบด้วย สาธารณสุขอำเภอ , ผู้รับผิดชอบงานกองทุนจาก สสอ. ทีมประเมินกองทุนระดับเขตจากอปท. และตัวแทนกองทุน ประกอบด้วย จนท.กองทุนตำบล ,กรรมการกองทุน,ผู้เสนอโครงการ เป้าหมายกองทุนละ 2 -3  คน การบันทึกแผนจำนวน 51 แผน พัฒนาโครงการ 24 โครงการ

 

112 0

9. 3.7 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยง อำเภอเวียงสา

วันที่ 17 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ (14-17 มีนาคม 2565) จำนวน 16 กองทุน วันละ 4 แห่งทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
ทบทวนการบันทึกสถานการณ์ การทำแผนการพัฒนาโครงการและการบันทึกข้อมูลออนไลน์ โดยพี่เลี้ยงพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 1ุ6 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 14 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 12 โครงการ

 

32 0

10. 3.2 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 1-2

วันที่ 19 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 1 วันที่ 19 มีนาคม 2565 ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา
ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและเขต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 13 โครงการ

 

40 0

11. 3.1 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2

วันที่ 22 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

เข้าเยี่ยมพื้นที่ ทบทวนการจัดทำสถานการณ์ การทำแผนกิจกรรมทางกายการพัฒนาโครงการและการบันทึกข้อมูลในพื้นที่ จำนวน 10 กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนได้วันละ 3 กองทุน รวม 4 วัน การบันทึกแผนรวม 10 แผน

 

30 0

12. 3.3ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา

วันที่ 24 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

20-24มีนาคม 2565 เยี่ยม กองทุน ทบทวนการทำแผน บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา ให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตาวจสอบรายละเอียดโครงการ บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยี่ยม กองทุน วันละ3 แห่ง 5 วัน มีการบันทึกแผน13 แผน พัฒนาโครงการ 10 โครงการ

 

89 0

13. 3.6 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย กองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า

วันที่ 4 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 31 มีนาคม 2565 จัดประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ของกองทุน
นัดหมาย กลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมประชุม และเตรียมความพร้อมร่วมกิจกรรมการขับเคลื่อนตำบลภาวะสุขภาพผ่านกระบวนการกิจกรรมทางกาย ในวันที่ 7-9 เมษายน 2565

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมบริหาร ตัวแทน เครือข่าย กลุ่มเป้าหมายที่ขอรับการสนับสนุนกองทุนฯ ตัวแทน แกนนำชุมชน เข้าร่วมรารือ และให้ข้อคิดเห็นและเเลกเปลี่ยนกระบวนการในการจัดงานและมีการนัดหมายกิจกรรมที่จะจัดในวันที่ 7-9 เมษายน 2565 โดยมีข้อเสนอให้ เรียนเชิญ นายอำเภอและสาธารณสุขอำเภอ ทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง จังหวัด และพื้นที่ เข้าร่วมกิจกรรมในวันดังกล่าว

 

20 0

14. 3.5 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่ ครั้งที่ 1

วันที่ 4 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายน 2565
ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและเขต จำนวน 3 กองทุน

ครั้งที่ 2 วันที่ 2 เมษายน 2565
ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ทดลองบันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและเขต จำนวน 3 กองทุน

ครั้งที่ 3-5 วันที่ 3,5,6 เมษายน 2565 ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ
บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา
บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ จำนวน 7 กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 8 โครงการ

 

42 0

15. 1.5ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน

วันที่ 30 เมษายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานวัตถุประสงค์ 1) เพื่อติดตามผลการดำเนินงานโครงการ 2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพและติดตามพื้นที่กองทุนของโครงการในพื้นที่ เขต1 เวลา กิจกรรม 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทาง เป้าหมายและขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ แผนการบริหารจัดการโครงการฯ ทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ

10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.30 – 12.00 น. ทบทวนการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.30 น. แลกเปลี่ยนรูปแบบการติดตาม ผลการติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวางสูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา และจัดทำแผนการติดตามพื้นที่กองทุน โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด

13.00 – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม

14.30 – 16. 00 น. สรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่ พี่เลี้ยงส่วนกลางให้คำแนะนำการทำแผน  การทบทวนนิยาม บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ พร้อมให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตรวจสอบรายละเอียดโครงการ พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนสุขภาพตำบลได้วันละ 3 กองทุน
แกนนำกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการบันทึกแผนงาน /โครงการที่พัฒนาเกี่ยวกับกิจกรรมการทางกายมากขึ้น
แกนนำกองทุนฯ พื้นที่สูงเม่น ร้องกวาง และเมืองพะเยา ส่วนใหญ่สามารถพัฒนาแผนได้ อำเภอเวียงสายังไม่สามารถลงบันทึกได้เนื่องจากผู้รับผิดชอบงานมีภารกิจเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการและบางส่วนยังไม่ได้อนุมัติงบกองทุน

 

20 0

16. 3.8 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน ครั้งที่ 1 (ออนไลน์)

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด แกนนำกองทุน
ประชุมทางไกลผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (ZOOM) วัตถุประสงค์ 1) เพื่อทบทวนการดำเนินงานโครงการ 2) เพื่อวางแผนการจัดแผนปฏิบัติการกิจกรรมของโครงการในพื้นที่ เขต1 08.30 - 09.00 น. ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าสู่ระบบ ZOOM / เตรียมความพร้อม ซักซ้อมระบบ 09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทาง และขั้นตอนการดำเนินงานโครงการชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการประชุม
โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 10.20 – 10.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.30 – 11.00 น.ทิศทาง ระเบียบและข้อกำหนดกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ปี2565 โดย นางสาวมนัสชนก ณ มงคล สปสช.1 11.00 – 12.00 น ทบทวนการจัดทำแผน การพัฒนาโครงการฯ การบันทึกกิจกรรม และการติดตามงานโครงการฯในพื้นที่  แลกเปลี่ยน แนวทาง แผนการดำเนินงานของพื้นที่ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น.ปฏิบัติการบันทึกข้อมูลในระบบ 13.00 – 14.30 น.พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 14.30 –16.00น.แลกเปลี่ยนแผนการบริหารงานโครงการฯในพื้นที่โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัสรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 12 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 12 แผน
มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 4 โครงการ

 

34 0

17. 3.9 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 3

วันที่ 4 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ครั้งที่ 3 วันที่ 29 เมษายน 2565 ติดตามการดำเนินงานและปัญหาการบันทึกข้อมูลของพื้นที่จำนวน 14 กองทุน ทั้ง 8 หัวข้อ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอเมืองพะเยา บันทึกการพัฒนาโครงการโดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัดและกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 26 คน มีการบันทึกพัฒนาโครงการได้ 30 โครงการ

 

34 0

18. 3.11 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

วันที่ 4 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 2 พฤษภาคม 2565 ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินงาน ทบทวนสถานการณ์ของกองทุน
นัดหมาย กลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมประชุม และเตรียมความพร้อมร่วมกิจกรรมการขับเคลื่อนตำบลภาวะสุขภาพผ่านกระบวนการกิจกรรมทางกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมบริหาร ตัวแทน เครือข่าย กลุ่มเป้าหมายที่ขอรับการสนับสนุนกองทุนฯ ตัวแทน แกนนำชุมชน เข้าร่วมรารือ และให้ข้อคิดเห็นและเเลกเปลี่ยนกระบวนการในการจัดงาน

 

20 0

19. 2.3 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอ ร้องกวาง จ.แพร่

วันที่ 4 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลร้องกวาง ตำบลร้องกวาง อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่
กิจกรรม 1.ชี้แจงการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ทบทวนสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. ฝึกปฏิบัติการบันทึกข้อมูล การจัดทำแผน พัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมในระบบออน์ไลน์ และตรวจสอบการบันทึกแผนงานและโครงการในภาพรวมที่ฝึกบันทึก โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่ 4.การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.ร้องกวาง สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุม 37 คน สามารถบันทึกกิจกรรมทางกายจำนวน 10 แผน การจัดทำแผนปฏิบัติการการดำเนินงานโครงการและการติดตามเสริมพลังการดำเนินงานของพื้นที่ อ.ร้องกวาง

 

37 0

20. 3.10 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน กองทุนอำเภอร้องกวาง โดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่2

วันที่ 4 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

เยี่ยม กองทุน ทบทวนการทำแผน  การพัฒนาโครงการให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม โดยตรวจสอบรายละเอียดโครงการพี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 2 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ใน อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่  โดยทบทวนนิยามกิจกรรมทางกายรายประเด็นแต่ละหัวข้อ ทั้ง 8 หัวข้อ ในสถานการณ์ปัญหา ทบทวนการจัดทำแผน บรรยายความเชื่อมโยงการทำแผนการพัฒนาโครงการ ฝึกปฏิบัติการ บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ การพัฒนาโครงการผ่านเว็บไซด์กองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่ ที่มีการบันทึกผ่านเว็บไซด์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 2 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่  ดังนี้ ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนวันละ  3  กองทุน จำนวน 10 แห่ง จำนวน 18 ครั้ง 7 เม.ย. 65 - อบต.แม่ยางตาล 11 เม.ย. 65 - อบต.แม่ทราย 18 เม.ย. 65 - อบต.ร้องกวาง- อบต.น้ำเลา 21 เม.ย. 65 - อบต.ไผ่โทน- อบต.ห้วยโรง 22 เม.ย. 65 - อบต.แม่ยางร้อง 26 เม.ย. 65 - ทต.บ้านเวียง-อบต.แม่ยางฮ่อ

 

38 0

21. 4.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 32 กองทุน

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงเขต 1 คนและจังหวัด 1 คน ร่วมเสริมพลังในการพัฒนาให้แต่ละกองทุนสามารถบันทึกแผน พัฒนาดครงการและติดตามโครงการในโปรแกรม รวมทั้งเสริมศักยภาพพื้นที่ให้สามารถเป็นพื้นที่เรียนรู้ได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น อำเภอร้องกวาง เมืองพะเยา อำเภอละ10 กองทุนและเวียงสา4กองทุน รวม34 กองทุนระหว่างวันที่ 10 พค.ถึง28พค65

 

202 0

22. 3.12 ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ เพื่อคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบในแต่ละพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงระดับเขต พี่เลี้ยงระดับจังหวัด พี่เลี้ยงระดับพื้นที่เข้าร่วมประชุม on-site จำนวน 10 คน ร่วมประชุม Online จำนวน 8 คน

 

19 0

23. 3.13 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

วันที่ 16 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
มีการบันทึกวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่กองทุนฯ ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ บันทึกโครงการที่พัฒนา โครงการที่ติดตาม โดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และกองทุนฯ จำนวน 13 กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก รพสต. อบต.และเทศบาลจำนวน 13 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 13 แผน
บันทึกโครงการที่พัฒนาได้จำนวน 44 โครงการและ บันทึกโครงการที่ติดตามได้จำนวน 16 โครงการ

 

32 0

24. 3.14 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่

วันที่ 16 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
มีการบันทึกวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่กองทุนฯ ในอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ บันทึกโครงการที่พัฒนา โครงการที่ติดตาม โดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และกองทุนฯ จำนวน 10 กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 10 แผน
บันทึกโครงการที่พัฒนาได้จำนวน 20 โครงการและ บันทึกโครงการที่ติดตามได้จำนวน 11 โครงการ

 

26 0

25. 4.1.2 ประชุมทีมพี่เลี้ยงอำเภอสูงเม่นและอำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่เพื่อสรุปการพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ

วันที่ 21 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพื้นที่กองทุน 2) เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานของโครงการในพื้นที่ เขต1 า กิจกรรม 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.20 น. ทบทวนแนวทางการดำเนินงานของโครงการ และทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.30 – 12.00 น. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 12.00  - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น. แลกเปลี่ยนรูปแบบการติดตาม ผลการติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวางอำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา และสรุปผลการติดตามพื้นที่กองทุน ข้อเสนอ
โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 13.00 – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 14.30 – 16. 00 น. สรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่ พี่เลี้ยงส่วนกลางให้คำแนะนำการทำแผน  การทบทวนนิยาม บันทึกสถานการณ์ปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่ในอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ พร้อมให้คำแนะนำการบันทึกแผน โครงการ การบันทึกกิจกรรม ตรวจสอบรายละเอียดโครงการ พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ สามารถเข้าเยี่ยม กองทุนสุขภาพตำบลได้วันละ 3 กองทุน
แกนนำกองทุนสุขภาพตำบลมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการบันทึกแผนง

 

20 0

26. 4.1.1 ประชุมกองทุนต้นแบบ กองทุนสุขภาพท้องถิ่นในพื้นที่ เขต อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

วันที่ 24 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่
มีการบันทึกวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และโครงการที่ควรดำเนินการของแต่ละพื้นที่กองทุนฯ ในอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา บันทึกโครงการที่พัฒนา โครงการที่ติดตาม โดยทีมพี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และกองทุนฯ จำนวน 14 กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ๆละ 1-2 คน และสามารถบันทึกข้อมูลแต่ละประเด็น ได้ 14 แผน
บันทึกโครงการที่พัฒนาได้จำนวน 50 โครงการและ บันทึกโครงการที่ติดตามได้จำนวน 20 โครงการ

 

20 0

27. 4.2.1 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

วันที่ 29 พฤษภาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 29 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีตัวแทนผู้รับผิดชอบงานจาก อบต.และเทศบาลจำนวน 10 พื้นที่ ๆ ละ 1-2 คน รวมจำนวน 24 คนร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่

 

20 0

28. 4.1.3 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

วันที่ 1 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย โดยบันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนร่วมบันทึก แก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จำนวน 4 กองทุน มีแผนงาน 4 แผน และ  โครงการที่พัฒนา  7  โครงการ ครั้งที่ 2 เยี่ยม      1 มิ.ย. 65 - ทต.เวียงสา - อบต.แม่สาคร - ทต.ขึ่ง                         2 มิ.ย. 65 - ทต.กลางเวียง ครั้งที่ 3 เยี่ยม                       26 มิ.ย. 65 - ทต.เวียงสา - อบต.แม่สาคร - ทต.ขึ่ง                         27 มิ.ย. 65 - ทต.กลางเวียง

 

40 0

29. 4.2.3 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

วันที่ 2 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมจำนวน 32 คนร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่

 

30 0

30. 4.2.2 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

วันที่ 2 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 30 พฤษภาคม 2565 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1. สรุปผลการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ สถานการณ์การทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 2. ทบทวนนิยามกิจกรรมทางกาย การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม และติดตามประเมินผลโครงการด้วยระบบออนไลน์ โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 3. พัฒนาศักยภาพ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการถอดบทเรียนกองทุนสุขภาพระดับท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 4. สรุปบทเรียนการดำเนินงานการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด พี่เลี้ยงพื้นที่และแกนนำกองทุนนสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วม ร่วมกันแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน สะท้อนถึงปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน พร้อมให้ข้อเสนอแนะร่วมกับพี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงพื้นที่

 

20 0

31. 4.1.4 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

วันที่ 6 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่  โดยให้บันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล ( https://localfund.happynetwork.org/) พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามโครงการและการสร้างยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2

 

20 0

32. 4.1.5 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่

วันที่ 12 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต  พื้นที่ ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 3 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ อำเภอร้องกวางลงพื้นที่ติดตาม หนุนเสริมการจัดทำแผนปัจจัยเสี่ยงและแผนตามบริบทพื้นที่แก้ไขข้อมูลสถานการณ์ แนะนำแหล่งที่มาของข้อมูลในการบันทึกการการตรวจสอบข้อมูล โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนในแต่ละพื้นที่ ร่วมดำเนินการในการบันทึก การแก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้องในโปรแกรมออนไลน์ จำนวน10 กองทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ติดตามการดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรมและสรุปผลการทำงานพื้นที่เขต 1 ครั้งที่ 3 ในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบลต้นแบบ อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่  ดังนี้  จำนวน10 กองทุน 1 12 มิ.ย. 65 - อบต.ห้วยโรง -อบต.แม่ทราย - อบต.แม่ยางฮ่อ
2 13 มิ.ย.65- อบต.ไผ่โทน- อบต.น้ำเลา-อบต.แม่ยางร้อง
3 14 มิ.ย.65 - อบต.ร้องกวาง 4 15 มิ.ย.65- เทศบาลตำบลร้องกวาง-เทศบาลตำบลบ้านเวียง -อบต.แม่ยางตาล แผนตามบริบทพื้นที่จำนวน 10 แผน

 

50 0

33. 4.1.6 ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อสรุปการติดตามพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ

วันที่ 18 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสรุปการติดตามผลการดำเนินงานพื้นที่ต้นแบบ 2) เพื่อสรุปการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ เขต1 เวลา กิจกรรม 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.20 น. สรุปการดำเนินงานโครงการ และทวนสอบข้อมูลในโปรแกรมของแต่ละพื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ 10.20 – 10.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.30 – 12.00 น. ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลแผนงานและโครงการในแผนการดำเนินงานโครงการฯ การติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวาง อำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา
โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ 12.00  - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 14.30 น. แลกเปลี่ยนรูปแบบการติดตาม ผลการติดตามในแต่ละพื้นที่ สูงเม่น ร้องกวางอำเภอเมืองพะเยาและเวียงสา และสรุปผลการติดตามพื้นที่กองทุน ข้อเสนอ
โดย พี่เลี้ยงเขตและจังหวัด 13.00 – 14.30 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม 14.30 – 16. 00 น. สรุปผลและปิดการประชุม โดย คุณสุวิทย์ สมบัติ และนางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พี่เลี้ยงส่วนกลาง พี่เลี้ยงจังหวัดและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เข้าร่วมประชุมครบทุกพื้นที่ กระบวนการดำเนินงาน 1พัฒนากลไกคณะทำงาน ภาคประชาสังคม สธ. สปสช. อปท. และกขป.
2.พัฒนาความร่วมมือกลไกคณะทำงานระดับเขตและพื้นที่ เพื่ออกแบบการทำงานและการกำหนดเป้าหมายของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เชื่อมโยงกับการสร้างเสริมสุขภาพในระดับอำเภอ 3.พัฒนาขีดความสามารถการจัดทำแผน และ คุณภาพของแผนการสร้างเสริมกิจกรรมทางกายของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น สร้างความเข้าใจในกระบวนการจัดทำแผน โครงการ การปฏิบัติตามแผน และ การติดตาม ประเมินผล 4.หนุนเสริมการขัดทำแผน/โครงการ และการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.ทีมวิชาการ พัฒนาคู่มือ เครื่องมือ เพื่อใช้ในการทำแผน การพัฒนาโครงการ การติดตามประเมินผล ประเด็นการสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย 2.การประชุมร่วมกับแต่ละพชอ. เพื่อบูรณาการทำงานร่วมกัน 3.การพัฒนากลไกพี่เลี้ยงระดับเขตและพี่เลี้ยงระดับพื้นที่ เพื่อไปพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบกองทุน กรรมการกองทุน ผู้เสนอ/รับทุนโครงการ 4.การพัฒนาแผนสุขภาพแต่ละกองทุน โดยการช่วยเหลือของพี่เลี้ยง 5.การพัฒนาโครงการตามแผนการสร้างเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการช่วยเหลือของพี่เลี้ยง 6.การติดตาม ประเมินผล หลังโครงการได้รับการสนับสนุน เพื่อการจัดทำรายงานผลโครงการ การประเมินผล และการถอดบทเรียนกระบวนการทำแผน จะได้รับรู้ข้อมูลสถานการณ์แต่ละปัญหา และ เป้าหมายของการแก้ปัญหา ทั้งระดับ เขต จังหวัด อำเภอ ตำบล เกิดแผนสุขภาพในประเด็นกิจกรรมทางกายภาพรวมของอำเภอ โดยเป็นแผนที่เกิดจากแผนของกองทุนต่างๆในอำเภอ โครงการที่กองทุนสนับสนุนมีคุณภาพมากขึ้น สามารถแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถสังเคราะห์ผลและคุณค่าและนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากแผนและการดำเนินโครงการสามารถเป็นศูนย์เรียนรู้และขยายผลได้

 

20 0

34. 4.1.7การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

วันที่ 21 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

พี่เลี้ยงส่วนกลาง/เขต ลงพื้นที่ร่วมกับพี่เลี้ยงจังหวัดหรือพี่เลี้ยงพื้นที่ พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย การพัฒนาโครงการ การบันทึกกิจกรรม การติดตามยกระดับกองทุนให้เป็นศูนย์เรียนรู้การทำแผนและโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่ดีของพื้นที่เขต 1 กองทุนสุขภาพตำบล อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา  โดยให้บันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล ( https://localfund.happynetwork.org/) พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผนงานและโครงการที่ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ การดำเนินงานโครงการแผนงานกิจกรรมทางกาย โดยบันทึกโครงการที่พัฒนา กิจกรรมที่ดำเนินการ การติดตามโครงการลงในโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล( https://localfund.happynetwork.org/) โดยทีมพี่เลี้ยงและตัวแทนผู้รับผิดชอบกองทุนร่วมบันทึก แก้ไขเพิ่มเติมและลบข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง จำนวน 10 กองทุน มีแผนงาน 10 แผน  โครงการที่พัฒนา  52  โครง และโครงการที่ติดตาม 24 โครงการ 21 มิ.ย. 65 - ทต.ท่าจำปี- ทต.ท่าวังทอง- ทต.บ้านต๋อม 22 มิ.ย. 65 - ทต.บ้านต๊ำ- ทต.บ้านใหม่- ทต. แม่กา 23 มิ.ย. 65 - ทต.แม่ปืม- อบต.แม่ใส- ทต.สันป่าม่วง 24 มิ.ย. 65 - เทศบาลเมืองพะเยา

 

40 0

35. 4.2การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน (มิถุนายน 2565)

วันที่ 29 มิถุนายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 29 มิถุนายน 2565 จัดกิจกรรมการประชุมการประชุมการแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน กองทุนสุขภาพตำบล กองทุนสุขภาพเขตพื้นที่ 1 ณ โรงแรม มูสโฮเทล เชียงใหม่ ตำบลฟ้าฮ่าม อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีกิจกรรมดังนี้ เวลา 09. 00 – 09.30 น.ลงทะเบียน เวลา 09.30 – 10.00 น. กล่าวต้อนรับและสรุปกิจกรรมการดำเนินงานโครงการยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับ สรุปสถานการณ์การจัดทำแผนงานกิจกรรมทางกายของพื้นที่เป้าหมายทั้ง 4 พื้นที่ โดย นายสุวิทย์ สมบัติ
เวลา 10.00- 12.00 น. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ สร้างการเรียนรู้ทักษะการจัดการความรู้ พื้นที่ต้นแบบกองทุนสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ 1โดย นางสาวเพชรรุ่ง เชาวกรวัชร์ เวลา12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00-14.30 น. (ต่อ) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ สร้างการเรียนรู้ทักษาะการจัดการความรู้ พื้นที่ต้นแบบเขตพื้นที่ 1
เวลา 14.30 -14.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 14.45 - 15.30 น. นำเสนอและสรุปบทเรียนกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ สร้างการเรียนรู้ทักษะการจัดการความรู้ พื้นที่ต้นแบบกองทุนสุขภาพตำบลเขตพื้นที่ 1 - พื้นที่ อ.สูงเม่น อ.ร้องกวาง จ.แพร่ - พื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน
- พื้นที่ อ.เมืองพะเยา  จ.พะเยา สรุปแผนการติดตามเสริมพลังของละพื้นที่ อภิปราย ปิดการประชุม โดย ทีมพี่เลี้ยงเขต พี่เลี้ยงจังหวัด และพื้นที่ เวลา 15.30 น.เป็นต้นไป สรุปและปิดการประชุม  โดย นายสุวิทย์ สมบัติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วม 20 คน ครบทุกพื้นที่

 

25 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย
ตัวชี้วัด : 1.พี่เลี้ยงมีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 2.คณะทำงานโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผล
116.00 66.00

พี่เลี้ยง10 พื้นที่เรียนรู้แห่งละ 2 คน รวม ุ56 คน

2 เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการ บันทึกกิจกรรม การติดตามประเมินคุณค่าโครงการ
ตัวชี้วัด : 1.มีศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอ โครงการกิจกรรมทางกาย ไม่น้อยกว่า 30 กองทุน
30.00 28.00

อำเภอสูงเม่นแพร่10กองทุนอำเภอเมืองพะเยา10 กองทุน อำเภอร้องกวาง8 กแงทุน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 226
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน,พี่เลี้ยงให้มีทักษะการทำแผน พัฒนาข้อเสนอโครงการและการติดตามประเมินผลและให้ผู้เสนอโครงการมีทักษะการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการที่มีคุณภาพ และมีทักษะในการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (2) เพื่อพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้เป็นศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมกิจกรรมทางกาย มีการดำเนินการทำแผน เขียนข้อเสนอโครงการ บันทึกกิจกรรม การติดตามประเมินคุณค่าโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด (Online 2 ครั้ง Onsite 2 ครั้ง) (2) 2.พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลพื้นที่ แพร่ น่าน พะเยา (53 กองทุน ) จำนวน 4 ครั้ง (3) 3. ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน 53 กองทุน จำนวน 2 ครั้ง (4) 4. พัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 30 กองทุน 2 ครั้ง (5) 1.1 พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัด ออนไลน์ (6) 1.2พัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยงระดับเขตและจังหวัดในพื้นที่จ.แพร่ น่าน พะเยา (7) 2.2 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่ ครั้งที่ 1  อำเภอเมืองพะเยา (8) 2.3 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอ ร้องกวาง จ.แพร่ (9) 1.3 ประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับเขต จังหวัดและพื้นที่ online (10) 1.4 ประชุมทีมพี่เลี้ยงจังหวัดแพร่และคณะทำงาน (11) 2.4 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอสูงเม่น จ.แพร่ (12) 3.4 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่1 (13) 2.5 พัฒนาศักยภาพแกนนำกองทุนตำบลในพื้นที่อำเภอเวียงสา  จ.น่าน (ออนไลน์) (14) 3.1 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ ครั้งที่ 2 (15) 3.2 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา  ครั้งที่ 1-2 (16) 3.3ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยงพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา (17) 3.6 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย กองทุนสุขภาพตำบลบ้านเหล่า (18) 3.5 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.สูงเม่น จ.แพร่ ครั้งที่ 1 (19) 3.7 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนโดยทีมพี่เลี้ยง อำเภอเวียงสา (20) 3.8 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนสุขภาพในพื้นที่ อ.เวียงสา จ.น่าน ครั้งที่ 1 (ออนไลน์) (21) 3.10 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุน กองทุนอำเภอร้องกวาง โดยทีมพี่เลี้ยงส่วนกลาง ครั้งที่2 (22) 3.9 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนตำบลอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ครั้งที่ 3 (23) 1.5ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน (24) 3.11 ประสานพื้นที่ต้นแบบตำบลกิจกรรมทางกาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (25) 3.12 ประชุมการติดตามและคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบ (26) 3.13 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ (27) 3.14 ติดตามเสริมศักยภาพกองทุนอำเภอ ร้องกวาง จังหวัดแพร่ (28) 4.1 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ 32 กองทุน (29) 4.1.2 ประชุมทีมพี่เลี้ยงอำเภอสูงเม่นและอำเภอร้องกวางจังหวัดแพร่เพื่อสรุปการพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ (30) 4.1.1 ประชุมกองทุนต้นแบบ กองทุนสุขภาพท้องถิ่นในพื้นที่ เขต อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (31) 4.2.1 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1  อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ (32) 4.2.2 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (33) 4.2.3 การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียนกองทุนท้องถิ่นในพื้นที่เขต 1 อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ (34) 4.1.3 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน (35) 4.1.4 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ (36) 4.1.5 การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่ (37) 4.1.6 ประชุมทีมพี่เลี้ยงเพื่อสรุปการติดตามพัฒนาศักยภาพกองทุนต้นแบบ (38) 4.1.7การเสริมศักยภาพกองทุนต้นแบบอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (39) 4.2การแลกเปลี่ยนและถอดบทเรียน  (มิถุนายน 2565)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการยกระดับการขับเคลื่อนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับพื้นที่ ปี 2564 เขต 1 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุวิทย์ สมบัติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด