ชื่อโครงการ | (UNPD) ปฏิบัติการณ์ความมั่นคงทางอาหาร อบต.บันนังสตา อ.บันนังสตา จ.ยะลา |
ภายใต้โครงการ | (UNDP)โครงการพัฒนาแผนป้องกันและฟื้นฟูหลังวิกฤตระดับท้องถิ่น ฯ |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | |
วันที่อนุมัติ | 1 มิถุนายน 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มิถุนายน 2564 - 31 ธันวาคม 2564 |
แหล่งทุน |
ไม่ระบุ
|
งบประมาณ | 80,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | องค์การบริหารส่วนตำบลบันนังสตา |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางดวงฤดี มีแวว |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | 1.ดร.เพ็ญ สุขมาก 2. นางสาววรรณา สุวรรณชาตรี |
พื้นที่ดำเนินการ | จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.521469,101.317928place |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่สังคมไทยและสังคมโลกกำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ หนึ่งในความวิตกกังวลของผู้คนคือประเด็นของความปลอดภัยในสุขอนามัยและเศรษฐกิจทั่วโลกที่กำลงย่ำแย่ หนึ่งในหนทางการสร้างความอยู่รอดคือการพึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุด และเสริมสร้างความพอเพียงระดับครัวเรือน โดยต้องสร้างความมั่นคงทางอาหารที่ปลอดสารพิษต่างๆ เพื่อลดค่าใช้จ่าย และสร้างความสามัคคีผ่านการทำกิจกรรมกันระหว่างคนในชุมชนและในครัวเรือน เพื่อฝ่าวิกฤติในครั้งนี้ให้ได้และตั้งแต่การระบาดของไวรัสโคโรน่า-19 ครบปีสถิติของผู้ได้รับผลกระทบมีทั้งครอบครัว ชุมชน โรงเรียน เด็ก และเยาวชนผู้สูงอายุผู้พิการผู้อยากไร้ซึ่งเป็นกลุ่มเปราะบาง หากมีคนในชุมชนติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19จำเป็นจะต้องปิดหมู่บ้านการขาดแคลนอาหารย่อมเป็นปัญหาหลักแน่นอนการสร้างความเข็มแข็งให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชนโรงเรียนในพื้นที่กลุ่มอาชีพสามารถเป็นต้นแบบที่จะมารวมกลุ่มกันเพื่อสร้างความเข็มแข็งให้เกิดขึ้นสามารถยืนหยัด สร้างผลผลิต แหล่งอาหาร เช่นปลูกผัก การเลี้ยงสัตว์ เป็นคลังอาหารของคนในหมู่บ้าน ในชุมชนเพื่อให้ทุกคนได้ผ่านพ้นวิกฤตนี้ไปด้วยกัน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้คนในชุมชนได้เข้าถึงแหล่งอาหารที่ปลอดภัย ครัวเรือนในชุมชนมีอาหารบริโภคครบ 5 หมู่ |
0.00 | |
2 | สร้างความพอเพียงในการบริโภคอาหาร และการกระจายผลผลิตในชุมชนสู่ครัวเรือน
|
0.00 | |
3 | มีกระบวนการการมีส่วนร่วมในชุมชน กลุ่ม เครือข่าย ในหมู่บ้านที่ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร
|
0.00 | |
4 | เด็กและเยาชนในพื้นที่ได้รับอาหารที่ปลอดภัย กลุ่มเด็กนักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคอาหารที่ดีและปลอดภัยส่งเสริมพัฒนาการและเสริมสร้างการเจริญเติบโตที่ดีต่อไป |
0.00 | |
5 | ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยติดเตียงกลุ่มผู้ป่วยในชุมชนได้มีอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เพิ่มศักยภาพในการจัดทำอาหารให้กลุ่มผู้สูงอายุ ติดบ้าน ติดเตียงได้มีอาหารที่เพียงพอถูกสุขลักษณะและปลอดภัย |
0.00 |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 626 | 80,000.00 | 4 | 80,000.00 | |
21 มิ.ย. 64 - 31 ธ.ค. 64 | ปลูกผัก ปลูกรัก เพื่อชุมชน | 150 | 20,000.00 | ✔ | 20,000.00 | |
21 มิ.ย. 64 - 31 ธ.ค. 64 | ทำซุ้มเช็คอินและปลูกผัก เพื่อให้เยาวชนห่างไกลสิ่งเสพติด | 20 | 20,000.00 | ✔ | 20,000.00 | |
21 มิ.ย. 64 - 20 ม.ค. 65 | ส่งเสริมการเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์แก่เยาวชนบ้านกาโสด | 200 | 20,000.00 | ✔ | 20,000.00 | |
30 ส.ค. 64 - 31 ธ.ค. 64 | เกษตรเพื่อนักเรียน โรงเรียนบ้านธารทิพย์ | 256 | 20,000.00 | ✔ | 20,000.00 |
ได้ผลผลิตมาประกอบอาหารกลางวันในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เยาวชนได้รับประทานอาหารที่ได้มีความปลอดภัย ผลผลิตที่เหลือสามารถจำหน่วยในชุมชนหรือตามตลาดในตำบล และยังนำมาแปลรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารได้ เยาวชนมีความรู้ในการเลี้ยงปลาดุกและสามารถนความรู้ที่ได้มาใช้ประกอบอาชีพในชีวิตประจำวัน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 มิ.ย. 2564 12:27 น.