directions_run

โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี ”

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

หัวหน้าโครงการ
นายทวีวัตร เครือสาย

ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี

ที่อยู่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

รหัสโครงการ 60-ข-087 เลขที่ข้อตกลง 60-ข-087

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รหัสโครงการ 60-ข-087 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 1,000,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 5 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทศวรรษที่ผ่านมา กระแสการตื่นตัวในเรื่องของการปฏิรูประบบสุขภาพและสุขภาวะของคนไทย กลายเป็นความเคลื่อนไหวที่เห็นอย่างชัดเจนในหมู่องค์กร หน่วยงานและบุคลากรด้านสุขภาพ ตลอดจนชุมชนที่เข้มแข็งในหลายๆพื้นที่ ก่อให้เกิดปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่เป็นเครื่องมือชี้ทิศทาง นโยบายและยุทธศาสตร์ เพื่อนำพาประเทศไปสู่สังคมสุขภาวะ

ภาคใต้ตอนบนขับเคลื่อนสานพลังเครือข่ายฯมาตั้งแต่ ปี 55 โดยมี เครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น เครือข่ายมิตรภาพบำบัด เครือข่ายบริการสาธารณสุข สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 11 สุราษฎร์ธานี และภาคีพันธมิตรสุขภาพ จนเกิดกลไก “คณะทำงานสานพลังเครือข่ายหลักประกันสุขภาพภาคใต้ตอนบน” (ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ) และในห้วงปี 2559-2560 มีการขับเคลื่อนปฏิบัติการในแต่ละจังหวัดจนมีกลไกคณะทำงานระดับจังหวัด และมีกลไกระดับเขตคือ “คณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นระดับเขต 11 ” สนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ให้เกิดระบบจัดการสุขภาพชุมชนท้องถิ่น จากความร่วมมือกับ สช. สสส. สจรส.มอ สธ. ฉะนั้นการสร้างการเรียนรู้ร่วมกันผ่านการปฏิบัติ (Interative Learning Through Action) ให้มีความสามารถรับมือกับสถานการณ์ในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องมีระบบสนับสนุนเอื้ออำนวยให้เกิดการสานงาน เสริมพลัง ยกระดับปฏิบัติการพื้นที่ร่วมกับกลไกการดำเนินงานในระดับจังหวัด อำเภอ ชุมชนท้องถิ่น สู่ความมั่นคงทางสุขภาวะ

การสนับสนุนระบบสุขภาพชุมชนท้องถิ่นของ เขต 11 ที่ร่วมมือกับ สช. สสส. สจรส.มอ สธ. นั้นได้มีการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ โดยใช้ธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ การสร้างสภาพแวดล้อมที่อื้อต่อสุขภาพและสร้างนวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ จากโครงการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. การสร้างการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนสุขภาพ และภาคีเครือข่ายสุขภาพ ให้มีสามารถจัดทำโครงการเชิงรุก บริหารจัดการกองทุน รับมือกับสถานการณ์สุขภาวะในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมหนุนกลไกการดำเนินงานในระดับจังหวัด อำเภอ โดยให้คนเป็นศูนย์กลาง ยึดพื้นที่เป็นตัวตั้ง ใช้กองทุนท้องถิ่นเป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (ชุมชนเป็นเจ้าของกองทุนท้องถิ่น) สู่ความมั่นคงทางสุขภาพระยะถัดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบายสาธารณะและประเด็นยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่อำเภอและจังหวัดในภาคใต้ตอนบน
  2. 2.เพื่่อพัฒนากลไกคณะทำงานระดับเขตและจังหวัด ให้มีขีดความสามารถในการยกระดับปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
  3. 3 เพื่่อสังเคราะห์บทเรียนจากการทำงานปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่ให้เป็นข้อเสนอเชิงนโยบายต่อคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน(กขป) และภาคียุทธศาสตร์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นระดับอำเภอและระดับจังหวัด

    วันที่ 14 มกราคม 2561 เวลา 09:00-21.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ประเมินสถานการณ์สุขภาพภายในพื้นที่จังหวัดระนอง -วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น -ออกแบบการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -เกิดแผนยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนแรงงานนอกระบบจังหวัดระนอง

     

    15 15

    2. พัฒนาศักยภาพกลไกคณะทำงานระดับพื้นที่เขต 11

    วันที่ 19 มกราคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ตอนบน (เขต 11) (พื้นที่นำร่อง อ.ทุ่งตะโก จ.ชุมพร,อ.นาสาร/อ.คีรีรัฐ จ.สุราษฎร์ธานี,อ.เมือง จ.นครศรีฯ,อ.คลองท่อม จ.กระบี่ ) วันที่ 19-20 มกราคม พศ.2561 ณ. โรงแรมเดอะพีค บูติก อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช วันที่ 19 มกราคม พศ. 2561

    เวลา 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน/เตรียมความพร้อม ณ.โรงแรมเดอะพีท บูติก นครศรีฯ

    เวลา 09.00-10.00 น. เรียนรู้การพัฒนากลไกคณะทำงานระดับอำเภอเมือง จ.นครศรี

    เปิดเวทีปรึกษาหารือการดำเนินงานโครงการ พชอ.นครศรี

    ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ สจรส.มอ

    นายเจกะพันธ์ พรหมมงคล ผู้ประสานงานเครือข่าย จ.นครศรีฯ

    เวลา 10.00-12.00 น. แนวทางการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอสู่ยุทธศาสตร์

    ระดับจังหวัดนครศรีธรรมราช

    -คณะทำงานอำเภอเมืองนครฯ และที่ประชุมร่วมแลกเปลี่ยน

    เวลา 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง

    เวลา 13.00-13.30 น. ลงทะเบียนเพิ่มเติม/เตรียมความพร้อม

    เวลา 13.30-14.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์และรู้จักทักทายทีมคณะทำงานจังหวัดต่างๆ

    เวลา 14.00-17.00 น. การจัดทำยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่แบบมีส่วนร่วม

    โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ สุธีรวุฒิ และคณะ : สจรส.มอ

    เวลา 17.00-19.30 น. เข้าที่พัก/รับประทานอาหาร และแลกเปลี่ยนทัศนะคนทำงานสร้างสุข

    วันที่ 20 มกราคม พศ. 2561

    เวลา 08.30-09.00 น. เตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่กระบวนการ

    เวลา 09.00-11.00 น. เสริมพลังเครือข่ายด้วยกระบวนการถอดบทเรียนสังเคราะห์ความรู้

    โดย ดร.เพ็ญ สุขมาก และคณะ : สจรส.มอ

    เวลา 11.00-12.00 น. การจัดทำธรรมนูญสุขภาพ และประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

    โดย คุณกรฤทธิ ชุมนุรักษ์ ผอ.สพท.ภาคใต้ (สช.)

    เวลา 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง

    เวลา 13.00-14.30 น. ระบบติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานฯ ระดับเขต 11

    โดย ทีมคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพ เขต 11

    (นายชญานิล เอกสุวรรณ ,เชาวลิต ลิปน้อย ,ทวีวัตร เครือสาย)

    เวลา 14.30-15.30 น. ทบทวนแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนระดับพื้นที่นำร่อง

    เวลา 15.30-16.00 น. สรุปผลเวทีเรียนรู้ และนัดหมายภารกิจครั้งต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    50 0

    3. ประชุมทีมสนับสนุนคณะทำงานระดับเขตฯ

    วันที่ 29 มกราคม 2561 เวลา 09:30-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีข้อมูลสถานการณ์

    • มีแผนการดำเนินงาน

     

    11 0

    4. ค่าบริหารจัดการ

    วันที่ 30 มกราคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฏร์ธานี ประจำเดือน มกราคม ถึง สิงหาคม 2561 เดือนละ 3000 บาท 8 เดือน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าดำเนินโครงการฯ

     

    5 0

    5. พัฒนาการศักยภาพผู้รับผิดชอบในการบันทึกข้อมูลในระบบติดตาม ประเมินผล

    วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-15.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    1. สร้างความเข้าใจในเรื่องการรายงานข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ของ ศวสต.
    2. เรียนรู้วิธีการและขั้นตอนในการเข้าระบบ
    3. ลงมือปฏิบัติในการเข้าระบบรายงานผลการดำเนินงาน
    4. ปัญหาหรือข้อสงสัยในการรายงานผลการดำเนินผ่านออนไลน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ได้เรียนรู้การรายงานผลการดำเนินโครงการผ่านระบบ
    2. การรายงานผลการดำเนินโครงการนั้น หลังจากที่จัดกิจกรรมควรรายงานผลการดำเนินโครงการภายใน 1 สัปดาห์
    3. การจัดเก็บรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องในการรายงานผลการดำเนินโครงการ เพื่อง่ายในการกรอกข้อมูลเข้าระบบรายงานฯ

     

    25 3

    6. ประชุมพัฒนายุทธศาสตร์เชิงประเด็นอำเภอและจังหวัดกระบี่

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:00-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    วงคุยแลกเปลี่ยนการดำเนินงานโครงการฯ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประสานความร่วมมือกับ สสจ. / สสอ. / สมัชชาจังหวัดกระบี่ ในการสนับสนุนทีมคณะทำงานคลองท่อม 

     

    5 5

    7. พัฒนายุทธศาสตร์เชิงประเด็นระดับอำเภอและจังหวัดระนอง

    วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทบทวนประเด็นแรงงานนอกระบบ

    • แนวทางการดำเนินงานต่อไป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • การเชื่อมโยงประเด็นแรงงานนอกระบบที่มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

    • มีแผนการปฏิบัติ

     

    10 10

    8. ติดตามสนับสนุนทีมพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ)ทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร

    วันที่ 3 พฤษภาคม 2561 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนการดำเนินงาน

    นำเสนอผลการดำเนินงาน

    แนวทางการดำเนินงาน

    สรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีข้อมูลสถานการณ์การเกิดอุบัติเหตุ

    • มีกลไกการทำงานร่วมกับทุกส่วน

     

    15 15

    9. ประชุมแลกเปลี่ยนและติดตามความก้าวหน้าการเงินและรายงานออนไลน์

    วันที่ 8 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:30-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    เป็นการติดตามการดำเนินงานและติดตามการใช้งบประมาณ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -รายงานผลการดำเนิน/ระบบบันทึกออนไลน์ -รายงานสรุปผลโครงการ

     

    16 16

    10. ประชุมทีมระดับเขต/ทีมจังหวัด

    วันที่ 14 มิถุนายน 2561 เวลา 09:30-16.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รายงานความก้าวหน้าและเชื่อมโยงกับการจัดทำธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่ในเขต 11 สุราษฏร์ธานี
    • ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานจัดทำยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพและวางแนวทางสื่อสารสาธารณะ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีกลไกความร่มมือ / สนับสนุนการทำงานของคณะทำงานระดับจังหวัด/ระดับเขต 11
    • มีการวางแผนการดำเนินงาน

     

    10 10

    11. ติดตามสนับสนุนทีมพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ(พชอ) บ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี

    วันที่ 15 มิถุนายน 2561 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงการประชุม

    ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา

    แลกเปลี่ยน

    แนวทางการดำเนินงานครั้งต่อไป

    สรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีข้อมูลสถานการณ์พื้นที่

    • มีแผนการดำเนินงาน

    • มีการสนับสนุนการดำเนินงานกับทีม สสอ.บ้านนาสาร

     

    15 5

    12. ประชุมทีมระดับอำเภอ/ทีมตำบลอำเภอนาสาร

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2561 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงวัตถุประสงค์

    • ทบทวนการดำเนินงาน

    • แลกเปลี่ยน

    • พื้นที่นำเสนอผลการดำเนินงาน

    • แนวทางการดำเนินงาน

    • วางแผนการดำเนินงาน

    • สรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีแผนการดำเนินงาน

    • มีสถานการณ์ปัญหาภายในพื้นที่

    • มีประเด็นการขับเคลื่อนงาน

     

    23 23

    13. ติดตามสนับสนุนการพัฒนายุทธศาสตร์ประเด็นเด็กและเยาวชน

    วันที่ 13 สิงหาคม 2561 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงวัตถุประสงค์

    ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา

    สถานการณ์ปัญหาของเด็กและเยาวชน

    แลกเปลี่ยน

    วางแผนการดำเนินงาน

    สรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • แผนงานการขับเคลื่อนประเด็นเด็กและเยาวชน

    • มีข้อมูลสถานการณ์ของเด็กและเยาวชน

     

    10 0

    14. ติดตามสนับสนุนการพัฒนาประเด็นปัจจัยเสี่ยง (บุหรี่ อำเภอคลองท่อม)

    วันที่ 17 สิงหาคม 2561 เวลา 09:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ชี้แจงวัตถุประสงค์

    ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา

    สถานการณ์การขับเคลื่อนงานภายในพื้นที่

    แลกเปลี่ยน

    วางแนวทางการดำเนินงาน

    สรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สร้างความเข้าใจในประเด็นปัจจัยเสี่ยงบุหรี่มากยิ่งขึ้น
    • มีข้อมูลสถานการณ์ภายในพื้นที่

     

    15 10

    15. ประชุมทีมคณะทำงานระดับเขต

    วันที่ 2 ตุลาคม 2561 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการประชุมปรึกษาหารือติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานการจัดทำยุทธศาสตร์ระดับพื้นที่อำเภอนำร่อง

    วันที่ 1-2  ตุลาคม  พศ.2561

    ณ  มหาวิทยาลัยแม่โจ้ชุมพร  ละแม  อำเภอละแม  จังหวัดชุมพร

    .....

    วันที่ 1  ตุลาคม 61

    เวลา  13.00 น          ลงทะเบียน/จัดการงานเอกสารต่างๆ เวลา  13.30 – 14.00 น.  เปิดประชุม/แจ้งวัตถุประสงค์ : นายทวีวัตร  เครือสาย รู้จักมหาวิทยาลัย แม่โจ้ ชุมพร    : ผู้บริหารมหาวิทยาลัย เวลา  14.00 – 15.00 น.  ผู้แทนพื้นที่นำเสนอผลงาน/ความก้าวหน้าการดำเนินงานและบทเรียนสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ พชอ. เวลา  15.00 – 17.00 น.  สรุปประเด็นและบทเรียนร่วมของพื้นที่ เขต 11 บอกเล่าสถานการณ์และทิศทางงาน ศวสต.ภาคใต้ : จนท.ศวสต. เวลา  17.00 – 18.30 น.  ผ่อนพัก ณ ชายหาดละแม / รับประทานอาหาร เวลา  18.30 – 20.30 น.  ปรึกษาหารือออกแบบวางแผนจังหวะก้าวต่อไป

    วันที่ 2  ตุลาคม 61 เวลา  08.30 น -09.00 น. เริ่มประชุม สรุปสาระสำคัญเมื่อวันวาน การติดตามสนับสนุนจากทีมคณะทำงาน เขต 11 เวลา  9.00 – 10.00 น.  เรียนรู้และแลกเปลี่ยนงานสื่อสารสาธารณะ : นายอานนท์  มีศรี เวลา  10.00 – 11.00 น.  ร่วมออกแบบการสนับสนุนงานสื่อสารสาธารณะ เวลา  11.00 – 12.00 น. สรุปการประชุมปรึกษาหารือและนัดหมายครั้งต่อไป
    รับประทานอาหาร / เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

    หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง ตามช่วงเวลาที่เหมาะ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการประชุมปรึกษาหารือในครั้งนี้ โปรดเตรียมข้อมูลการดำเนินงานโครงการใช้ประกอบการเรียนรู้ร่วมกันในครั้งนี้

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผลการดำเนินงานของแต่พื้นที่

    • แผนการขับเคลื่อนงานด้านสื่อสาธารณะ

    • มีแผนการดำเนินงาน

     

    24 24

    16. ติดตามสนับสนุนการพัฒนาประเด็นผู้สูงอายุ

    วันที่ 4 ตุลาคม 2561 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ทบทวนการดำเนินงาน

    สถานการณ์ปัญหาในพื้นที่

    แลกเปลีย่น

    การรายงานผลการดำเนินงานระบบออนไลน์

    แนวทางการดำเนินงาน

    สรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีข้อมูลสถานการณ์พื้นที่

    • จนท.มีความเข้าใจในกา

     

    9 9

    17. ประชุมทีมติตดามประเมินผลโครงการฯ (ค่าบริหารจัดการ)

    วันที่ 10 ตุลาคม 2561 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามประเมินผล HIA 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    รู้จักและประสานงานความร่วมมือกับทีมติดตามประเมินผลภาคใต้ตอนบน

     

    10 1

    18. ติดตามสนับสนุนการพัฒนาประเด็นปัจจัยเสี่ยง

    วันที่ 17 ตุลาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -ชี้แจงวัตถุประสงค์

    • ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา

    • แลกเปลี่ยน

    • วางแนวทางการดำเนินงาน

    • สรุป

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ข้อมูลสถานการณ์ภายในพื้นที่

    • มีแผนการดำเนินงาน

     

    19 19

    19. ติดตามสนับสนุนระบบรายงานการเงินและออนไลน์

    วันที่ 22 ตุลาคม 2561 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามรายงานเข้าระบบออนไลน์

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • รายงานเข้าระบบออนไลน์ ของ ศวสต

     

    15 5

    20. บริหารจัดการ/ติดตามประเมินผล

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ค่าบริหารจัดการสาธารณูปโภคและค่าประสานงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าบริหารจัดการและค่าสาธารณูปโภคในการดำเนินโครงการ

     

    1 1

    21. ประชุมทีมสนับสนุนคณะทำงานระดับเขตฯ

    วันที่ 2 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทบทวนการดำเนินโครงการ
    • แลกเปลี่ยน
    • สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานจังหวัดมีความเข้าใจในเป้าหมายและผลลัพธ์ กระบวนการขับเคลื่อนโครงการ
    • ประสานความร่วมมือทีมคณะทำงานติดตามสนับสนุนกองทุนฯ
    • เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เชิงประเด็น 

     

    23 23

    22. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นระดับอำเภอและระดับจังหวัด

    วันที่ 18 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • นำเสนอรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการรายงานผลการดำเนินโครงการ
    • สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม

     

    20 1

    23. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอกับการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ

    วันที่ 20 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ชี้แจงวัตถุระสงค์
    • เสวนา : ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนงานภายในพื้นที่ผ่านกลไก พชอ.
    • ฝึกวิเคราะห์สถานการณ์ภายในพื้นที่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    32 32

    24. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอกับการพัฒนาศักยภาพฯ

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    118 118

    25. ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอกับการพัฒนาศักยภาพฯ(จ.นครศรีธรรมราช)

    วันที่ 6 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตามเอกสารแนบ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    60 60

    26. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้ประสานงานตำบล จังหวัดชุมพร

    วันที่ 24 ธันวาคม 2561 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการ เวทีทบทวนบทเรียนและเป้าหมายแนวทางขับเคลื่อน ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดชุมพร ปี 62-64               วันที่ 24-25 ธันวาคม พศ.61  ณ ปากตะโกโฮมสเตย์  อ.ทุ่งตะโก  จ.ชุมพร
    ............ เป้าหมาย : แลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนระบบหลักประกันสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อเติมศักยภาพแก่กรรมการศูนย์ฯ และผู้ประสานงานหลักประกันสุขภาพระดับตำบล ให้มีแผนยุทธศาสตร์ ปี 2562-2564 วันที่ 24  ธันวาคม 2561 08.30-09.00 น.  ลงทะเบียน/รับเอกสาร  เตรียมความพร้อม 09.00-10.00 น.  เปิดใจ รู้จักตนเอง  รู้จักเพื่อน  รู้จักกลไก  ...เราเป็นใคร  จะไปใหน ? 10.00-10.30 น.  เปิดเวทีและบอกทิศระบบหลักประกันสุขภาพ
    โดย  ผู้บริหาร สปสช. เขต 11  สุราษฎร์ธานี 10.30-12.00 น.    ทบทวนภารกิจหน้าที่และบทเรียนของ “ พลเมืองผู้ตื่นรู้ด้านสุขภาพ”  และเรียนรู้ 4
    สถานี (กลไกศูนย์ฯ  หลักประกันสุขภาพ  คุ้มครองผู้บริโภค  กองทุนสุขภาพท้องถิ่น  ) เติมเต็ม ด้วยผู้รู้  ผู้ชำนาญการแต่ละด้าน 12.00-13.00 น.    เติมพลัง ด้วยอาหารเลิศรสกับผองเพื่อน 13.00-14.00 น.  อภิปรายกลุ่ม  การสร้างเสริมสุขภาพ สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่
    14.00-16.00 น. กลุ่มย่อย ทบทวนบริบทศูนย์ฯ ระดับอำเภอ เพื่อปักธง สุขภาวะ ควรเป็นในปี 64
    นำเสนอ เติมเต็ม  หลอมรวมปักธงร่วม ในปี 64  เพื่อ  ชุมพรน่าอยู่  สุขร่มเย็น 18.00-21.00 น.  พบกับเมนูเด่น  ดื่มด่ำธรรมชาติ  บรรยากาศคนบ้านเดียวกัน

    วันที่ 25  ธันวาคม 2561 08.30-09.00 น.  ทบทวนยามเช้า ก่อนเรียนรู้สิ่งใหม่ 09.00-10.00 น.  รู้ลึก รู้จริง กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น 10.00-12.30 น.  กลุ่มย่อยฝึกวิเคราะห์ปัจจัยทางสังคมกำหนดสุขภาพ สู่โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก 12.00-13.00 น.  เติมพลัง ด้วยอาหารเลิศรสกับผองเพื่อน 13.00-14.00 น.  นำเสนอตัวอย่างโครงการเชิงรุก
    14.00-15.00 น. สรุปตอกย้ำ เป้าหมายและภารกิจ  เพื่อ  ชุมพรน่าอยู่  สุขร่มเย็น       เลิกประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    100 100

    27. ประชุมทีมสนับสนุนคณะทำงานระดับเขตฯ

    วันที่ 11 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทบทวนการดำเนินงาน
    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • วางแผนการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะทำงานจังหวัดระนองมีความเข้าใจในเป้าหมายและผลลัพธ์ กระบวนการขับเคลื่อนโครงการ
    • บันทึกรายงานในระบบออนไลท์

     

    48 48

    28. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นปัจจัยเสี่ยงด้านบุหรี่ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

    วันที่ 17 มกราคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ติดตามผลการดำเนินงานโครงการพื้นที่อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทบทวนพัฒนากลไกคณะทำงานคลองท่อมและแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ
    • สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม

     

    25 1

    29. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่อำเภอเมืองจังหวัดระนอง

    วันที่ 19 มกราคม 2562 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ติดตามผลการดำเนินงาน
    • นำเสนอผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีข้อมูลสถานการณ์ภายในพื้นที่
    • มีการวางแผนการดำเนินงาน

     

    20 2

    30. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นผู้สูงอายุ จ.สุราษฎร์ธานี

    วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • รายงานผลการดำเนินงานภายในพื้นที่
    • มีแผนการดำเนินโครงการ

     

    20 1

    31. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นปัจจัยเสี่ยงด้านบุหรี่ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

    วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ติดตามผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม
    • เชื่อมโยงการดำเนินงานยุทธศาสตร์กับลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและเครือข่ายกองทุนท้องถิ่น

     

    10 1

    32. ประชุมคณะทำงานระดับเขต (เชื่อมธรรมนูญ)จ.สุราษฏร์ธานี

    วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • ทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา

    • นำเสนอผลการดำเนินงาน

    • แลกเปลี่ยน

    • สรุปผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การประชุมเชื่อมเครือข่ายเพื่อยกระดับการขับเคลื่อนงานโดยการใช้กองทุนเป็นเครื่องมือ เพื่อสร้างให้เกิดการเรียนรู้ในระดับพื้นที่ เครือข่ายคนทำงานโดยในงบประมาณ ปี 2562 มีกระบวนการเชื่อมการทำงานเป็นระดับ คือ

    • การทำงานร่วมกับ สปสช และ สสส

    • การทำงานร่วม สปสช และ สช ซึ่งในการทำงานร่วมกับ สช จะเป็นการทำงานเพื่อให้เกิดธรรมนูญสุขภาพในระดับพื้นที่ (ข้อตกลง) โดยมีพื้นที่นำร่อง ดังนี้

    นครศรีธรรมราช ต. นาไม้ไผ่ อ.ทุ่งสง เทศบาลทุ่งสง อ.ทุ่งสง ต.นาเหรง อ.นบพิตำ ต.สี่ขีด อ.สิชล ต.ชะมาย อ.ทุ่งสง ต.ท่ายาง อ.ทุ่งใหญ่
    ต. เขาชุมทอง อ.ร่อนพิบูลย์

    สุราษฎร์ธานี บ้านทำเนียบ อ.คีรีรัฐนิคม ต. น้ำพุ อ.นาสาร

    กระบี่ ต.อ่าวนาง อ.เมือง เทศบาลทรายขาว อ.คลองท่อม อบต. โคกยาง อ.เหนือคลอง อบต. แหลมศักดิ์ อ.อ่าวลึก คลองพนพัฒนา อ.คลองท่อม

    พังงา อบต. บางวัน อ.คุระบุรี อบต. เกาะยาว อ.เกาะยาว

    ชุมพร อบต. ช่องไม้แก้ว  อ.ทุ่งตะโก อบต. เขาทะลุ  อ.สวี อบต. ทุ่งระยะ อ.สวี เทศบาลทะเลทรัพย์ อ.ปะทิว อบต. วังไผ่ อ.เมือง อบต. วิลัยใต้ อ.สวี อบต. หงษ์เจริญ อ.ท่าแซะ

    ระนอง เทศบาลเมืองระนอง

    ภูเก็ต เทพกษัตรีย์ อ.ถลาง

     

    20 20

    33. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี

    วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีข้อมูลการขับเคลื่อนงาน
    • มีข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุ
    • มีแผนการดำเนินงาน

     

    10 1

    34. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นปัจจัยเสี่ยงด้านเด็ก เยาวชน อำเภอเมือง นครศรีธรรมราช

    วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    รายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีความก้าวหน้าในการดำเนินงาน
    • แลกเปลี่ยนการดำเนินงานกับทีมจังหวัดนครศรีฯ

     

    30 3

    35. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่จังหวัดระนอง

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    นำเสนอผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการวางแผนการดำเนินงาน
    • มีข้อมูลปัญหาภายในพื้นที่

     

    15 2

    36. เวทีประชุมสนับสนุนคณะทำงานระดับเขต

    วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงานระดับเขต
    ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบการประชุม

     

    20 20

    37. การถอดบทเรียนสังเคราะห์ความรู้จากการทำงานระดับพื้นที่

    วันที่ 1 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ถอดบทเรียนการเรียนรู้ในพื้นที่การดำเนินโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบ

     

    6 6

    38. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฏร์ธานี

    วันที่ 7 มีนาคม 2562 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รายงานผลการดำเนินงาน
    • แลกเปลี่ยนการขับเคลื่อนงานเชิงประเด็น

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของผู้สูงอายุ
    • มีการวางแผนปฏิบัติการ

     

    10 10

    39. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นปัจจัยเสี่ยงด้านเด็ก เยาวชน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

    วันที่ 27 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการรายงานผลการดำเนินงานประเด็นปัจจัยเสี่ยงด้านเด็ก เยาวชน อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
    • มีข้อมูลสถานการณ์ปัญหาของเด็กภายในพื้นที่
    • มีแผนการดำเนินงาน

     

    15 1

    40. สนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นปัจจัยเสี่ยงด้านบุหรี่ อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่

    วันที่ 29 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ลงพื้นที่ติดตามโครงการ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทบทวนพัฒนากลไกคณะทำงานคลองท่อมและแผนปฏิบัติการระดับอำเภอ
    • เชื่อมโยงการดำเนินงานยุทธศาสตร์กับลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพและเครือข่ายกองทุนท้องถิ่น
    • สนับสนุนการดำเนินงานทีมกระบี่กับทีม พชอ.คลองท่อม

     

    20 1

    41. แผนสนับสนุนจัดทำยุทธศาสตร์เชิงประเด็นผู้สูงอายุ / ปัจจัยเสี่ยงด้านบุหรี่

    วันที่ 26 เมษายน 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ติดตามสนับสนุนการดำเนินงานพื้นที่อำเภอบ้านนาสาร คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี รายงานผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประสานความร่วมมือทีมคณะทำงานติดตามสนับสนุนกองทุนฯ
    • มีการขับเคลื่อนงานที่มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

     

    19 19

    42. ประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่อำเภอทุ่งตะโก

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2562 เวลา 10:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมติดตามผลการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ประสานความร่วมมือสนับงาน พชอ.คลองท่อมกับ ทีม สสจ.กระบี่/ ทีมสมัชชาสุขภาพ
    • มีข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะเชิงประเด็น ทั้ง 6 อำเภอ เพื่อพัฒนาเป็นยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพเชิงประเด็นของ พชอ.

     

    56 56

    43. เวทีติดตามประเมินผลดำเนินการดำเนินงานระดับพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

    วันที่ 21 พฤษภาคม 2562 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปและออกแบบการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่

    วันที่ ๒๑  พฤษภาคม พศ. ๒๕๖๒  (ตั้งแต่เวลา 09.00-๑๕.00 น.)

    ณ.โรงแรมเมืองลิกอร์  อ.เมือง  จ.นครศรีธรรมราช

    ...................................................................................

    เป้าหมายเวที

    ๑.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

    ๒.เพื่อออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่

    วันที่ ๒๑ พค.๖๒

    ๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน

    ๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที  : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  เขต ๑๑

    • ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย

    ๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น  : คุณ  เจกะพันธ์  พรหมมงคล    ผู้ประสานงานพื้นที่ อ.เมือง จ.นครศรีฯ

    ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี  ๒๕๖๓

    ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร

    ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่

    • กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร?

    • การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

    -จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่

    โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน

    ๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่ : นายทวีวัตร เครือสาย

    ปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบการประชุม

     

    23 23

    44. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่จังหวัดชุมพร

    วันที่ 23 พฤษภาคม 2562 เวลา 08:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปและออกแบบการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ วันที่ ๒๓  พฤษภาคม พศ. ๒๕๖๒  (ตั้งแต่เวลา 09.00-๑๕.00 น.)
    ณ  ห้องประชุมเทศบาล ตำบลทุ่งตะไคร อำเภอทุ่งตะโก จังหวัดชุมพร
    ................................................................................... เป้าหมายเวที
    ๑.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ ๒.เพื่อออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่

    วันที่ ๒๓ พค.๖๒ ๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที  : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  เขต ๑๑ - ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย ๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น
    ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่ กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี  ๒๕๖๓ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
    ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ - กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร? - การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ -จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่

    โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน ๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่
    : นายทวีวัตร เครือสาย ปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบการประชุม

     

    33 33

    45. เวทีประชุมติดตามผลการดำเนินงานระดับพื้นที่จังหวัดระนอง

    วันที่ 24 พฤษภาคม 2562 เวลา 08:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปและออกแบบการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่

    วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พศ. ๒๕๖๒ (ตั้งแต่เวลา 09.00-๑๕.00 น.)

    ณ.ภูธารา รีสอร์ท ต.บางนอน อ.เมือง จ.ระนอง

    ...................................................................................

    เป้าหมายเวที

    ๑.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

    ๒.เพื่อออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่

    ๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน

    ๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที  : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๑๑

                        - ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย

    ๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น : คุณ สุชีพ พัฒน์ทอง ผู้ประสานงานพื้นที่ อ.เมือง จ.ระนอง และทีมประเมินผล มอ. สุราษฎร์ธานี

    ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น.      ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี ๒๕๖๓

    ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น.  รับประทานอาหาร

    ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่

    • กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร?

    • การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่

    -จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน

    ๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่ : นายทวีวัตร เครือสาย

    ปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบการประชุม

     

    28 28

    46. ประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่

    วันที่ 27 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
    • สรุปการดำเนินงาน

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • คณะกรรมการ. กขป. เขต 11 เรียนรู้บทเรียน  ทุ่งตะโกโมเดลและพื้นที่รูปธรรม
    • เกิดผลลัพธ์ของโครงการนี้ มากกว่า ร้อยละ 80

     

    30 30

    47. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่จังหวัดสุราษฏร์ธานี

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2562 เวลา 08:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน

    ๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที  : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  เขต ๑๑ - ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย

    ๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น

    ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่ กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี  ๒๕๖๓

    ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร

    ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ - กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร? - การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ -จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่ โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน

    ๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่
    : นายทวีวัตร เครือสาย ปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบการประชุม

     

    20 20

    48. ค่าตรวจบัญชี งวดที่ 2 (ค่าบริหารจัดการ)

    วันที่ 30 พฤษภาคม 2562 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ตรวจสอบบัญชีการเงินโครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฏร์ธานี 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีการตรวจสอบการเงินโครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฏร์ธานี

     

    7 1

    49. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานระดับพื้นที่จังหวัดกระบี่

    วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 เวลา 08:00-15.30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ๐๙.๔๕-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/ ๐๙.๐๐-๐๙.๔๕ น. - เปิดเวที  : ผู้บริหารหรือผู้แทน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  เขต ๑๑ - ชี้แจงกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน : นายทวีวัตร เครือสาย ๐๙.๔๕-๑๐.๓๐ น. สรุปผลการดำเนินงานสนับสนุนกองทุนสุขภาพท้องถิ่น
    ๑๐.๓๐-๑๒.๐๐ น. ทบทวนเส้นทางการสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ บทเรียนและความรู้สำคัญต่อการพัฒนาการดำเนินงานในพื้นที่ กำหนดเป้าหมายการสร้างเสริมสุขภาพ ปี  ๒๕๖๓ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหาร
    ๑๓.๐๐-๑๔.๓๐ น. ระดมความคิด ต่อการออกแบบการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่ - กลวิธีสร้างเสริมสุขภาพสู่การพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่นได้อย่างไร? - การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพื้นที่ -จัดกลไกโครงสร้างที่เหมาะต่อการสนับสนุนงานพื้นที่

    โดยทีมภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคใต้ตอนบน ๑๔.๓๐-๑๕.๐๐ น. สรุปผลการแลกเปลี่ยนการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่
    : นายทวีวัตร เครือสาย ปิดประชุม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ตามเอกสารแนบการประชุม

     

    10 10

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบายสาธารณะและประเด็นยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่อำเภอและจังหวัดในภาคใต้ตอนบน
    ตัวชี้วัด : -มีกลไกคณะทำงานร่วมระดับจังหวัดใน 5 จังหวัด -ระบบฐานข้อมูลสถานการณ์สุขภาวะเชิงพื้นที่/เชิงประเด็น -ร่างข้อเสนอ/แผนยุทธศาสตร์เชิงประเด็น/ 5 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีฯ กระบี่ -มติข้อเสนอ/แผนยุทธศาสตร์เชิงประเด็น/ 5 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีฯ กระบี่

     

    2 2.เพื่่อพัฒนากลไกคณะทำงานระดับเขตและจังหวัด ให้มีขีดความสามารถในการยกระดับปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
    ตัวชี้วัด : -เกิดการพัฒนาคณะทำงานจังหวัดและอำเภอนำร่อง -รายงานสรุปการแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ชุดบทเรียน -จำนวนโครงการสร้างเสริมสุขภาพของกองทุนที่ได้รับการพัฒนายกระดับอย่างน้อย 30 % ของกองทุนทั้งหมด -ข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการพัฒนาระบบสร้างเสริมสุขภาพระดับเขต -มีกลไกความร่วมมือ/สนับสนุนการทำงานของคณะทำงานระดับจังหวัด/ระดับเขต 11 -นักจัดการความรู้จังหวัดละ 2 คน / รวม 14 คน -มีชุดบทเรียนความรู้การทำงานปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่ 5 กรณีศึกษาชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีฯ กระบี่

     

    3 3 เพื่่อสังเคราะห์บทเรียนจากการทำงานปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่ให้เป็นข้อเสนอเชิงนโยบายต่อคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน(กขป) และภาคียุทธศาสตร์
    ตัวชี้วัด : -รายงานผลการดำเนิน/ระบบบันทึกออนไลน์ -รายงานสรุปผลโครงการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบายสาธารณะและประเด็นยุทธศาสตร์สร้างเสริมสุขภาพระดับพื้นที่อำเภอและจังหวัดในภาคใต้ตอนบน (2) 2.เพื่่อพัฒนากลไกคณะทำงานระดับเขตและจังหวัด ให้มีขีดความสามารถในการยกระดับปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้งในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน (3) 3 เพื่่อสังเคราะห์บทเรียนจากการทำงานปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพในพื้นที่ให้เป็นข้อเสนอเชิงนโยบายต่อคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน(กขป) และภาคียุทธศาสตร์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสนับสนุนการปฏิรูประบบสร้างเสริมสุขภาพ เขต 11 สุราษฎร์ธานี จังหวัด สุราษฎร์ธานี

    รหัสโครงการ 60-ข-087

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทวีวัตร เครือสาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด