ชื่อโครงการ | ระบบบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม รพ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี |
ภายใต้โครงการ | แผนงานโซนใต้ล่าง |
ภายใต้องค์กร | สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) |
รหัสโครงการ | - |
วันที่อนุมัติ | |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2561 |
แหล่งทุน |
ไม่ระบุ
|
งบประมาณ | 180,000.00 บาท |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอาหามัด จาลงค์ และ นายธีรพจน์ บัวสุวรรณ |
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ | |
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | - |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอยะหริ่ง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 22 ก.พ. 2561 | 31 มี.ค. 2561 | 36,800.00 | |||
2 | 1 เม.ย. 2561 | 30 ก.ย. 2561 | 87,000.00 | |||
3 | 1 ต.ค. 2561 | 31 ธ.ค. 2561 | 56,200.00 | |||
รวมงบประมาณ | 180,000.00 |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
พื้นที่อำเภอยะหริ่งมีประชากรทั้งสิ้น86,684 คน (HDC 1 มค.2560)ความหนาแน่นของประชากร 423 คน/ตารางกิโลเมตรร้อยละ 95.72 นับถือศาสนาอิสลาม และร้อยละ 4.28 นับถือศาสนาพุทธและเป็นหนึ่งใน 12 อำเภอของจังหวัดปัตตานี ที่ยังคงไว้ซึ่งความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นทั้งด้านภาษา (ภาษามลายูท้องถิ่น) และการดำเนินชีวิตที่บ่งบอกถึงความคิดความเชื่อ และพฤติกรรมที่เป็นไปตามหลักคิดของศาสนาอิสลามรวมถึงวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่ประชาชนส่วนใหญ่ยึดถือปฏิบัติสังคมที่ยังคงความเป็นเครือญาติค่อนข้างสูง การติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวันใช้ภาษามลายูท้องถิ่น การยึดมั่นในหลักคำสอนอย่างเคร่งครัด จึงนิยมส่งบุตรหลานเข้าเรียนในโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม
ด้านการจัดบริการผู้ป่วยการพัฒนาโรงพยาบาลให้ก้าวสู่ความเป็นเลิศ หรือการเป็นองค์การที่มีคุณภาพ หากวัดด้วยเครื่องมือมาตรฐานต่าง ๆ อาจไม่ได้เป็นคำตอบเดียวที่จะวัดได้ว่าโรงพยาบาลของประชาชน เว้นแต่การได้รับการยอมรับ ศรัทธาของประชาชน โดยเฉพาะในพื้นที่พหุวัมนธรรมที่ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เป็นเรื่องยากและท้าทายในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
ดังนั้นการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดบริการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชนของผู้ป่วยจึงเป็นสิ่งสำคัญการมองผุ้ป่วยเป็นศูนย์กลาง รับรู้ความต้องกาที่แท้จริงของผู้รับบริการและสามารถตอบสนองความต้องการได้นั้น จะนำสู่โรงพยาบาลชุมชนอย่างแท้จริง
แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อกำหนดรูปแบบที่สอดคล้องกับพหุวัมนธรรม 1.รพ.มีคู่มือและแนวทางบบริการให้สอดคล้องกับวิถี มุสลิม และพุทธ |
||
2 | 2.เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับผู้รับบริการ 2.โรงพยาบาลได้รับความพึงพอใจต่อการจัดระบบบริการที่สอดคล้องกัวิถีชุมชน |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | |||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2561 15:57 น.