directions_run

โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.)


“ โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ”

จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
อิลฟาน ตอแลมา

ชื่อโครงการ โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

ที่อยู่ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 59-ข-039 เลขที่ข้อตกลง 59-ข-039

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2559 ถึง 20 กุมภาพันธ์ 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 59-ข-039 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กรกฎาคม 2559 - 20 กุมภาพันธ์ 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,000.00 บาท จาก สถาบันนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สนส. ม.อ.) เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 135 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
  2. เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
  3. เพื่อเรียนรู้และถอดบทเรียนการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลาม และการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธ
  4. เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดพื้นที่นำร่องการจัดบริการสุขภาพตามวิถีชุมชน (อิสลาม-พุทธ)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อทบทวนเนื้อหา

    วันที่ 23 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    .

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    .

     

    10 0

    2. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.สต.บ้านใหญ่ อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี

    วันที่ 15 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00-12.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การถอดบทเรียนในครั้งนี้ ได้รู้ถึงปัญหาของชุมชนแห่งนี้ ได้แก่ปัญหา โรคเรื้อรัง แม่และเด็ก ยาเสพติด ทันตสุขภาพ เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้ให้ความรู้แก่ชาวบ้านในเรื่องต่างๆ และชาวบ้านก็ได้นำกลับไปปฎิบัติอย่างเคร่งครัด เพราะเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ได้เน้นเรื่องอาหารการกิน การออกกำลังกาย การปฎิบัติต่อตนเองเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ และสร้างแรงจูงใจในการประกอบอาชีพ

     

    15 18

    3. ลงพืนที่ถอดบทเรียน (รพ.สต.จะกว๊ะ อ.รามัน จ.ยะลา)

    วันที่ 16 สิงหาคม 2559 เวลา 13:30-16.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หมู่บ้านนี้จะมีผู้สูงอายุเป็นบุคคลหลักในแก้ไขปัญหา และยังมีประเด็นสุขภาพที่น่าสนใจในเรื่อง แคกิ๊ปเวอร์คือการดูแลผู้สูงอายุ เป็นการดูแลที่สอดคล้องกับระบบอิสลาม มีผลตอบรับดีมาก

     

    15 18

    4. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.จะแนะ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส

    วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ทาง รพ.จะมีการให้ความรู้แก่หมอตำแยและชาวบ้านที่มารับบริการ และยังให้หมอตำแยเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลผู้มารับบริการโดยต้องผ่านการอบรมจากเจ้าหน้าที่ รพ. ทาง รพ.ได้มีผู้รู้ทางศาสนามาให้ความรู้ที่เกี่ยวกับการดูแลตนเองตอนตั้งครรภ์และหลังคลอด

     

    15 13

    5. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.สต.สะดาวา ต.สะดาวา อ.เมือง จ.ปัตตานี

    วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปผลเบื้องต้น รพ.สต ได้มีการเน้นเกี่ยวกับแม่และเด็ก วัคซีน ยาเสพติดมีการแก้ไขโดยมีการนำผู้นำศาสนามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา และส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ รพ.สต.เป็นตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต เช่น อาหาร การออกกำลังกาย การถือศีลอด เป็นต้น

     

    15 16

    6. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.มายอ อ.มายอ จ.ปัตตานี

    วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปเบื้องต้น ยาเสพติดเกิดจากปัญหาเรื่องครอบครัว การศึกษา และขาดจิตสำนึกที่ดี เพราะฉะนั้นควรให้ความสำคัญกับครอบครัว ครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญในการดูแลเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด การศึกษาเมื่อเยาวชนมีการศึกษาที่ดีจะทำให้เยาวชนไม่หันไปยุ่งกับยาเสพติด ส่วนด้านจิตใจจะมีการสร้างและตระหนักถึงโทษของยาเสพติดตั้งแต่วัยเด็ก

     

    15 11

    7. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.สต.เจ๊ะเก ต.บาโงสะโต อ.ระแงะ จ.นราธิวาส

    วันที่ 28 สิงหาคม 2559 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปประเด็นเบื้องต้น ทางรพ.สต.เจ๊ะเกได้ให้ความสำคัญในการแก้ปัญหาในเรื่อง บุหรี่ วัคซีน แม่เเละเด็ก และโรงเรียนพ่อแม่

    1. บุหรี่ มีการแก้ไขโดยมีหลักสูตรที่ชัดเจนและสามารถดึงเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมที่สามารถทำให้เยาวชนเลิกบุหรี่ได้
    2. วัคซีน ทางรพ.สต.และผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนาเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาโดยการให้ผู้นำชุมชนให้ความรู้แก่ชาวบ้านเรื่องวัคซีน ได้บอกถึงหลักศาสนาพร้อมด้วยหลักวิทยาศาสตร์ทำให้ชาวบ้านเข้าใจและให้ความสำคัญกับการฉีดวัคซีน
    3. แม่และเด็ก รพ.สต.ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองก่อนตั้งครรภ์และขณะตั้งครรภ์ ได้มีการดูแลตามหลักศาสนา
    4. โรงเรียนพ่อแม่ทาง รพ.สต.ได้เพิ่มหลักสูตรให้กับสามีเพื่อที่จะให้การวางแผนชีวิตในครอบครัวเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น มีการสอยนหลักการอิสลามให้หัวหน้าครอบครัวเข้าใจและตระหนักถึงการเป็นหัวหน้าครอบครัว จดบันทึกโดยนูรตักวา สะมะดี

     

    15 16

    8. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.บาเจาะ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส

    วันที่ 30 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปประเด็นเบื้องต้นเจ้าหน้าที่ รพ.สต ได้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรค เน้นการออกกำลังกาย เช่นสนับสนุนให้เดินไปมัสยิดมากกว่าการขึ้นรถ ด้านอาหารการกิน เน้นการปลูกผักทานเองหลีกเลี่ยงการซื้อผักทาน
    จุดเด่นของชาวบ้านคือ การทำฮาลาเกาะอัลกรุอ่าน มีการออกกำลังกาย และทานอาหารที่เป็นประโยชน์ได้ควบคุมอาหารตามที่เจ้าหน้าที่บอก และที่สำคัญชาวบ้านที่นี้ได้ให้ความสำคัญกับ

     

    15 22

    9. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.สต.ลาโล๊ะ อ.รือเสาะ จ.นราธิวาส

    วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 13.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปประเด็นเบื้องต้น เน้นเรื่องความสะอาด ชาวบ้านมีจิตอาสาในการทำงานช่วยเหลือชุมชนให้เกิดความสามัคคี เน้นเรื่องการทำกิจกรรมมีการฟังบรรยายทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อให้เกิดความเป็นพี่น้องความรัก มีการให้ความรู้แก่ชาวบ้าน โดยมีเจ้าหน้าที่ รพ.สต. อสม.และผู้นำศาสนาเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อให้เกิดความสำเร็จ

     

    15 14

    10. ลงพื้นที่ถอดบทเรียน รพ.รามัน อ.รามัน จ.ยะลา

    วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    หัวหน้าโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการมาถอดบทเรียนและกรอบของการถอดบทเรียน โดยให้พื้นที่ได้นำเสนอประบวนการ กิจกรรม ผลของการดำเนินการจัดการสุขภาพในชุมชน และเปิดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพูดคุย โดยวิทยากรถอดบทเรียนจับประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องและสอบถามประเด็นเพิ่มเติมที่เกี่ยวกับสาระของการดำเนินงาน
    ผู้รับผิดชอบโครงการแจ้งกิจกรรมหลังจากที่ได้สรุปการถอดบทเรียนของทุกพื้นที่จะมีการจัดกิจกรรมแสดงความเห็นการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลามและการร่วมงานกิจกรรมสร้างสุข วันที่ 3-5 ตุลาคม 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    สรุปประเด็นเบื้องต้น ในส่วนของ อบต.รพ.รามัน อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา และชาวบ้าน ได้ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ จุดเด่นคือ ชุมชนแห่งนี้จะมีจิตใจอามาอย่างมากในการทำงาน ทุกคนมีบทบาทและมีความสำคัญในการแก้ไขปัญหาอย่างมาก ได้มีการลงพื้นที่เยี่ยมผู้ป่วยติดเตียง สร้างกำลังใจแก่ผู้ป่วยติดเตียง

     

    15 19

    11. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อยกร่างเนื้อการจัดการระบบบริการสุขภาพ

    วันที่ 17 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะทำงาน ร่างเนื้อการจัดการระบบบริการสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    องค์ความรู้สุขภาพวิถีอิสลาม และได้รายชื่อเครือข่ายของสถานบริการสุขภาพ และเครือข่ายผู้รับบริการ

     

    10 10

    12. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อปรับปรุง แก้ไข และจัดทำเอกสารข้อเสนอ

    วันที่ 24 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

      . 

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

      . 

     

    10 10

    13. ประชุมเวทีถอดบทเรียนการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธ

    วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • จัดประชุมถอดบทเรียนวิถีพุทธ ......................................

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ข้อสรุปจากเวที มีอะไรบ้าง........................................

    • คุณภาพชีวิต ยอมรับความเจ็บป่วย
    • คุณลักษณะพยาบาล เมตตา กรุณา
    • ความร่วมมือในการรักษา
    • เครือข่ายกลุ่มสนับสนุน
    • ถอดบทเรียน
    • การตอบรับของประชาชน ความพึงพอใจระบบ
    • รางวัล

     

    40 17

    14. ถอดบทเรียนการระบบสุขภาพในสังคมพหุวัฒนธรรม: ระบบบริการสุขภาพวิถีพุทธ

    วันที่ 9 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    • สัมภาษณ์เชิงลึกรายบุคคลผู้ให้บริการในระบบสุขภาพพยาบาลวิชาชีพ
    • สัมภาษณ์เชิงลึกการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธกับนักวิชาการด้านการพยาบาลพหุวัฒนธรรม
    • สนทนากลุ่มย่อย ผู้รับบริการ ในการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธ
    • สนทนากลุ่มผู้นำศาสนาพุทธ ในการจัดระบบดูแลสุขภาพวิถีพุทธ
    • สัมภาษณ์เชิงลึกการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธในพื้นที่พหุวัฒนธรรมเจ้าหน้าที่วิชาการสาธารณสุข

    ระหว่างวันที่ 4 ตค. - 6 พย. 2559

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต (Output)
    - เกิดกิจกรรมวงคุยรายบุคลและรายกลุ่ม จำนวน 4 ครั้ง

    ผลลัพธ์ (Outcome)
    - ข้อมูลการประยุกต์วิถีพุทธในการดูแลสุขภาพระดับ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 1 ชุด เครือข่ายนักปฏิบัติการสุขภาพที่ประยุกต์วิถีพุทธในการดูแลสุขภาพ 1 เครือข่าย สาระสำคัญของการประยุกต์ใช้พบว่า เป็นการใช้ระดับบุคคลที่มีความสนใจ และเชี่ยวชาญเฉพาะ การยกระดับวิถีพุทธเข้าสู่ระบบโรงพยาบาลที่เป็นนโยบายการปฏิบัติยังไม่ชัดเจนและไม่พบแนวปฏิบัติการดูแลวิถีพุทธในระบบสุขภาพ ที่ชัดเจนแต่บุคคลากรและชุมชนพุทธอยากให้นำแนวคิดนี้มาใช้อย่างจริงจังเพื่อส่งเสริมสุขภาพบุคลากรที่ปฏิบัติงานและผู้ใช้บริการ

    ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
    - มีพื้นที่ให้บริการที่สนใจพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพที่ประยุกต์วิถีพุทธไปใช้ในระบบสุขภาพ ระดับโรงพยาบาลชุมชน 2 พื้นที่ ระดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล 2 แห่ง
    - บุคคลากรสาธารณสุขอยากให้มีการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรมและสมรรถนะการดูแลผู้รับบริการวิถีพุทธ
    - พื้นที่นำร่องการขับเคลื่อนระบบสุขภาพพหุวัฒนธรรมระดับต่างๆ อย่างชัดเจนในพื้นที่นำร่อง
    - กลุ่มบุคคลทั่วไปบางกลุ่มยังมีความไม่เข้าใจเป้าหมายการขับเคลื่อนของระบบสุขภาพในสังคมพหุวัฒนธรรมว่าเป็นการเพิ่มอัตลักษณ์ชาวพุทธในพื้นที่อาจถูกหยิบยกเป็นเครื่องมือสร้างความแตกแยกในพื้นที่ จำเป็นต้องมีการรณรงค์สาธารณะทุกภาคส่วนในสังคมให้เข้าใจ
    - สมรรถนะภิกษุในการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการแพทย์พหุวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพยังไม่มีข้อมูลพื้นฐานที่ชัดเจน

     

    20 0

    15. สรุปจัดทำเอกสารถอดบทเรียน

    วันที่ 15 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

    -

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -

     

    3 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อเรียนรู้และถอดบทเรียนการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลาม และการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธ
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดพื้นที่นำร่องการจัดบริการสุขภาพตามวิถีชุมชน (อิสลาม-พุทธ)
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) เพื่อค้นหาและถอดบทเรียนการบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับบริบทพื้นที่พหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (3) เพื่อเรียนรู้และถอดบทเรียนการจัดบริการสุขภาพวิถีอิสลาม และการจัดบริการสุขภาพวิถีพุทธ (4) เพื่อจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดพื้นที่นำร่องการจัดบริการสุขภาพตามวิถีชุมชน (อิสลาม-พุทธ)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

    ชื่อโครงการ โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

    รหัสโครงการ 59-ข-039 รหัสสัญญา 59-ข-039 ระยะเวลาโครงการ 20 กรกฎาคม 2559 - 20 กุมภาพันธ์ 2560

    แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

    • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
    • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
    • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
    • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
    • กระบวนการชุมชน
    • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่

    1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

    ร่างแนวปฏิบัติการจัดบริการสุขภาพในพื้นที่พหุวัฒนธรรม(วิถีอิสลาม และวิถีพุทธ)

    ร่างแนวปฏิบัติ

    ทดลองใช้ในหน่วยบริการ และชุมชนพื้นที่นำร่อง และพัฒนาแนวปฏิบัติ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. กระบวนการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

    โรงพยาบาลต้นแบบการดูแลสุขภาพในสังคมพหุวัฒนธรรมที่ประยุกต์ใช้วิถีพุทธ/อิสลาม

    โรงพยาบาลสะบ้าย้อย อ.สะบ้าย้อย จ.สงขลา

    เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาดูงานกระบวนการทำงาน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    99. อื่นๆ

     

     

     

    2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การบริโภค

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การออกกำลังกาย

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    9. อื่นๆ

     

     

     

    3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. อื่นๆ

     

     

     

    4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. มีธรรมนูญของชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

     

     

     

    5. เกิดกระบวนการชุมชน

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

     

    มีทะเบียนเครือข่ายและผู้รับผิดชอบของแต่ละเครือข่าย

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    7. อื่นๆ

     

     

     

    6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

     

     

     

    คุณค่าที่เกิดขึ้น
    ประเด็น
    ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
    ใช่ไม่ใช่
    6. อื่นๆ

     

     

     

    โครงการถอดบทเรียนการบริการสุขภาพในพหุวัฒนธรรมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 59-ข-039

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อิลฟาน ตอแลมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด