โครงการฝึกอบรมยุวมัคคุเทศก์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมยุวมัคคุเทศก์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน มหาวิทาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ นางมยุรดา มหิพันธุ์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะบริหารศาสตร์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะบริหารศาสตร์
ปี พ.ศ. 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 กรกฎาคม 2560 - 7 กรกฎาคม 2560
งบประมาณ 24,200.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
การผลิตบุคลากรทางการท่องเที่ยวโดยเฉพาะการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชน นั่นก็คือมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ผู้ที่เปรียบเสมือนทูตวัฒนธรรม ที่จะคอยทำหน้าที่ต้อนรับขับสู้แขกผู้มาเยือน ให้ความรู้ด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ถูกต้อง สร้างความเข้าใจในประวัติความเป็นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นบุคคลในท้องถิ่นนั้น จะมีความเข้าใจในบริบทชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ ดังนี้จึงได้พิจารณาว่าเยาวชนในชุมชนจะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นยุวมัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อจะได้นำเอาความรู้ไปนำเที่ยวในท้องถิ่นของตน สร้างงาน และรายได้พิเศษ อีกทั้งยังเป็นการปลูกจิตสำนึกรักทรัพยากรท่องเที่ยวในท้องถิ่นของตน อันจะเป็นประโยชน์กับชุมชนและจังหวัดกาฬสินธุ์ สืบไป
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นหนึ่งจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่หลากหลายและสมบูรณ์ เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายของชนเผ่า วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ศิลปะพื้นบ้านท้องถิ่น อารยธรรมประวัติศาสตร์ความเป็นมา ซากดึกดำบรรพ์ เป็นต้น จึงทำให้จังหวัดกาฬสินธุ์ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และนอกจากการเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวแล้ว การมีบุคลากรทางการท่องเที่ยวที่มีความรู้ ความเข้าใจในบริบทชุมชน และวัฒนธรรมท้องถิ่น จะเป็นอีกหนึ่งจุดขายทางการท่องเที่ยวที่สำคัญ สามารถสร้างมูลค่าให้กับสินค้าทางการท่องเที่ยว และกระจายรายได้สู่ชุมชนท่องเที่ยวต่างๆ ในท้องถิ่นอย่างกว้างขวาง
ดังนั้นสาขาวิชาการท่องเที่ยว คณะเทคโนโลยีสังคม จึงเล็งเห็นความสำคัญในการผลิตบุคลากรทางการท่องเที่ยวโดยเฉพาะการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชน นั่นก็คือมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ผู้ที่เปรียบเสมือนทูตวัฒนธรรม ที่จะคอยทำหน้าที่ต้อนรับขับสู้แขกผู้มาเยือน ให้ความรู้ด้านวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ถูกต้อง สร้างความเข้าใจในประวัติความเป็นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นบุคคลในท้องถิ่นนั้น จะมีความเข้าใจในบริบทชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ ดังนี้จึงได้พิจารณาว่าเยาวชนในชุมชนจะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาให้เป็นยุวมัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อจะได้นำเอาความรู้ไปนำเที่ยวในท้องถิ่นของตน สร้างงาน และรายได้พิเศษ อีกทั้งยังเป็นการปลูกจิตสำนึกรักทรัพยากรท่องเที่ยวในท้องถิ่นของตน อันจะเป็นประโยชน์กับชุมชนและจังหวัดกาฬสินธุ์ สืบไป

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 14:51 น.