โครงการพัฒนาและปรับปรุงร้านค้าปลีกท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้ประกอบการร้านค้าปลีกท้องถิ่น จังหวัดกาฬสินธุ์

โครงการพัฒนาและปรับปรุงร้านค้าปลีกท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้ประกอบการร้านค้าปลีกท้องถิ่น จังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาและปรับปรุงร้านค้าปลีกท้องถิ่นเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ผู้ประกอบการร้านค้าปลีกท้องถิ่น จังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน ชุมชนบ้านกุดครอง ต.ดอนจาน อ.ดอนจาน จ.กาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ นายชยันต์ ชัยพฤกษยะนนท์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก คณะบริหารศาสตร์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ
ปี พ.ศ. 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 กรกฎาคม 2560 -
งบประมาณ 15,500.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ ดอนจาน place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
การสนับสนุนให้ร้านค้าปลีกท้องถิ่นของจังหวัดกาฬสินธุ์สามารถที่จะพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืนและสามารถที่จะอยู่รอดในสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม จึงควรมีการสนับสนุนองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจค้าปลีกให้แก่ร้านค้าในท้องถิ่น
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ตามที่คณะเทคโนโลยีสังคม เป็นสถานศึกษาที่เน้นการเรียนการสอนทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้แก่นักศึกษา มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นไป นอกจากการให้การศึกษาในระบบแล้วยังมีการให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน โดยมีการจัดฝึกอบรมให้แก่ประชาชนที่อยู่ในเขตพื้นที่ใกล้เคียงและในเขตภาคอีสาน นอกจากนี้ยังมีโครงการให้ความร่วมมือกันระหว่างประเทศกับองค์กรต่าง ๆ เพื่อช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้าน อีกด้วย
ร้านค้าปลีกดั้งเดิมเป็นร้านค้าที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี รวมถึงยังเป็นแหล่งในการสร้างรายได้ให้แก่ประชาชนและเงินหมุนเวียนในท้องถิ่นโดยรวมเป็นจานวนมากมาเป็นเวลาช้านาน ซึ่งในปัจจุบันร้านค้าปลีกได้มีรูปแบบ การดาเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป ส่งผลให้ในปัจจุบันการค้าปลีกมีการแข่งขันที่สูง ทาให้ผู้ประกอบการจาเป็นต้องมีการปรับตัวทั้งในเรื่องขององค์ความรู้ การจัดการ และแนวทางการประกอบการต่างๆ เพื่อให้สามารถอยู่รอดต่อไปได้
การที่ร้านค้าปลีกในท้องถิ่นจะปรับตัวเข้าหาองค์ความรู้ใหม่ๆ เป็นเรื่องที่ทาได้ยากเพราะเหตุจากการห่างไกลจากองค์ความรู้ที่เหมาะสม การขาดแคลนทุนทรัพย์ในการพัฒนาความรู้ การขาดการรับรู้ข่าวสารต่างๆ รวมถึงการขาดวิสัยทัศน์ต่อสภาวการณ์ต่างๆ อย่างเหมาะสม
ดังนั้น เมื่อร้านค้าปลีกไม่มีการปรับตัวตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปทั้งในบริบทของสังคม เศรษฐกิจ กฎหมาย และเทคโนโลยีแล้ว ก็ยากที่จะทาให้ร้านค้าปลีกท้องถิ่นจะสามารถอยู่รอดในสภาวการณ์แข่งขันที่สูงขึ้น ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ
เพื่อเป็นการสนับสนุนให้ร้านค้าปลีกท้องถิ่นของจังหวัดกาฬสินธุ์สามารถที่จะพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืนและสามารถที่จะอยู่รอดในสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปได้อย่างเหมาะสม จึงควรมีการสนับสนุนองค์ความรู้เกี่ยวกับการจัดการธุรกิจค้าปลีกให้แก่ร้านค้าในท้องถิ่น ซึ่งทางคณะเทคโนโลยีสังคม ได้มีการเปิดสอนในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก ซึ่งเป็นที่รวบรวมความรู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจค้าปลีกในแนวใหม่ ซึ่งหากได้มีการเผยแพร่องค์ความรู้นี้ต่อร้านค้าปลีกในท้องถิ่น ก็จะช่วยให้ร้านค้าปลีกในท้องถิ่นมีองค์ความรู้และความพร้อมที่จะสร้างผลกาไร รวมถึงสามารถที่จะอยู่รอดต่อไปได้อย่างยั่งยืนอีกด้วย

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 13:32 น.