แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ แผนงานกลางโซนใต้บน

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 ม.ค. 2568 ถึง 6 ม.ค. 2568

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน ตุลาคม 2558 ถึงเดือน กรกฎาคม 2560

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการประชุมปรึกษาหารือคณะทำงานแผนงานความมั่นคงทางมนุษย์ เด็ก เยาวชนและครอบครัว

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อปรึกษาหารือคณะทำงานแผนงานความมั่นคงทางมนุษย์ เด็ก เยาวชนและครอบครัว 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. รับทราบสถานการณ์/ศักยภาพและทิศทางการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ของพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
  2. เกิดการประสานความร่วมมือในการดำเนินงานประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ร่วมกับสปสช. เขต 11
  3. ได้ประเด็นร่วมและพื้นที่ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นในการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงการดำเนินงานโครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวสต.)
  2. ประสานความร่วมมือในการดำเนินงานประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ร่วมกับสปสช. เขต 11
  3. กำหนดจุดหมายและการดำเนินงานร่วมกันของภาคใต้โดยใช้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเป็นกลไกขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงการดำเนินงานโครงการศูนย์วิชาการสร้างเสริมสุขภาพ (ศวสต.)
  2. สรุปความเป็นมา นำเสนอสถานการณ์/ศักยภาพและทิศทางการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ของพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
  3. กำหนดประเด็นร่วมและพื้นที่ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นในการขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส

 

20 20

2. จัดประชุมเสริมศักยภาพและพัฒนาข้อเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00-18.00น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อเสริมศักยภาพและพัฒนาข้อเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  กรรมการกองทุน    และผู้ได้รับประโยชน์จากกองทุน
  2. เกิดข้อเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ใน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็กเยาวชน, กลุ่มผู้สูงอายุ /คนพิการ, กลุ่มการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(CHIA), ประเด็นปัจจัยเสี่ยง  เหล้า  บุหรี่ ยาเสพติด และอุบัติเหตุ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  กรรมการกองทุน และผู้ได้รับประโยชน์จากกองทุน
  2. เรียนรู้การจัดทำข้อเสนอโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมาย เด็กเยาวชน  ผู้สูงอายุ คนพิการหรือผู้ด้อยโอกาส ของชุมชนท้องถิ่น

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นำเสนอทิศทางการขับเคลื่อนงานกองทุนฯ โดย นายทวีสา เครือแพผอ.สปสช.เขต 11 สุราษฎร์ธานี
  2. ให้ความรู้ในเรื่อง แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพมุมมองใหม่, การวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ, การวิเคราะห์ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ, การจัดทำแผนงานโครงการ โดย ผศ.ดร.ภก.พงค์เทพสุธีรวุฒิผอ.สจรส.ม.อ. และดร.เพ็ญสุขมากอาจารย์ สจรส.ม.อ.
  3. ชี้แจงกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาข้อเสนอโครงการ โดย นายทวีวัตร เครือสาย
  4. นำเสนอเรื่องเล่าเร้าพลังจากพื้นที่
  5. กลุ่มปฏิบัติการวิเคราะห์สถานการณ์สุขภาพ 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็กเยาวชน, กลุ่มผู้สูงอายุ /คนพิการ, กลุ่มการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(CHIA), ประเด็นปัจจัยเสี่ยงเหล้าบุหรี่ ยาเสพติด และอุบัติเหตุ
  6. กลุ่มปฏิบัติการ การกำหนดเป้าหมายและจัดลำดับความสำคัญสุขภาพ ใน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเด็กเยาวชน, กลุ่มผู้สูงอายุ /คนพิการ, กลุ่มการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ(CHIA), ประเด็นปัจจัยเสี่ยงเหล้าบุหรี่ ยาเสพติด และอุบัติเหตุ
  7. ตัวแทนกลุ่มนำเสนอชุดโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก4 กลุ่ม

 

50 50

3. สนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการโครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11 สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)

วันที่ 13 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานวิชาการโครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11 สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัด มีขีดความสามารถในการจัดการความรู้และยกระดับพัฒนากองทุนท้องถิ่น
  2. จำนวนกองทุนฯ ได้รับการพัฒนายกระดับและเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างน้อย 30 % ของกองทุนทั้งหมดในจังหวัดนั้น
  3. มีข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
  4. เกิดกลไก “คณะทำงานสานพลังเครือข่ายหลักประกันสุขภาพภาคใต้ตอนบน” (ชุมพรสุราษฎร์ธานีนครศรีธรรมราชระนองพังงาภูเก็ตกระบี่ )

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ยกระดับศักยภาพกลไกและการปฏิบัติการสร้างสุขภาวะของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับจังหวัดในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
  2. พัฒนาระบบการเรียนรู้ที่เน้นการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ให้แก่ของคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพพื้นที่ภาคใต้ตอนบน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคณะทำงานและทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด
  2. จัดเวทีเสริมศักยภาพคณะทำงานฯระดับเขต

*สนับสนุนงบประมาณ 450,000 บาท **รายละเอียดการดำเนินกิจกรรมทั้งหมด รวมถึงการใช้งบประมาณ สามารถดูได้ที่
"โครงการเสริมศักยภาพกลไกคณะทำงานพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นด้วยการจัดการความรู้เขต 11สุราษฎร์ธานี (ภาคใต้ตอนบน)"

 

100 100

4. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส

วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา 09:00-18.00น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานของเครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
  2. เกิดรูปแบบการจัดการประสานความร่วมมือในการดำเนินงานระหว่างเครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ของเขต 11-12
  3. เกิดทิศทางการดำเนินงานร่วมกันของเครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส เขต 11-12

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานของเครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
  2. ประสานความร่วมมือในการดำเนินงานระหว่างเครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ของเขต 11-12
  3. กำหนดทิศทางการดำเนินงานร่วมกันของเครือข่ายความมั่นคงของมนุษย์ เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส เขต 11-12

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สรุปความเป็นมา การขับเคลื่อนประเด็นความมั่นคงของมนุษย์
  2. นำเสนอสถานการณ์/ศักยภาพและทิศทางการขับเคลื่อนของแต่ละเครือข่าย
  3. สังเคราะห์ประมวลศักยภาพร่วมและประเด็นร่วม / แลกเปลี่ยนให้ตกผลึกประเด็นร่วม แนวทางการเสริมพลัง
  4. แบ่งกลุ่มย่อย เพื่อพัฒนาข้อมูล
  5. จัดกลไกโครงสร้างและบทบาทหน้าที่ในการขับเคลื่อนต่อไป

 

100 100

5. การประชุมประสานความร่วมมือระหว่างเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเขต 11-12

วันที่ 18 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00-17.00น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและระบบสุขภาพชุมชน ประสานความร่วมมือในการดำเนินงานระหว่างเครือข่าย และจุดหมายและแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานร่วมกันของภาคใต้โดยใช้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเป็นกลไกขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและระบบสุขภาพชุมชน
  2. เกิดการประสานความร่วมมือในการดำเนินงานระหว่างเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้และ เครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เขต 11-12
  3. เกิดแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานร่วมกันของภาคใต้โดยใช้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเป็นกลไกขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. แลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและระบบสุขภาพชุมชน
  2. ประสานความร่วมมือในการดำเนินงานระหว่างเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เขต 11-12
  3. กำหนดจุดหมายและแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานร่วมกันของภาคใต้โดยใช้กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเป็นกลไกขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงแนวทางสร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพภาคใต้ กระทรวงสาธารณสุข และเครือข่ายกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น  โดย ผศ.ดร.พงค์เทพ  สุธีรวุฒิ
  2. นำเสนอทิศทางการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพและระบบสุขภาพชุมชนโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญ โดย นายทวีสา  เครือแพ ผู้อำนวยการ สปสช.เขต 11 และดร.ทพ.วิรัตน์  เอื้องพูลสวัสดิ์ ผู้อำนวยการ สปสช.เขต 12
  3. สร้างความเข้าใจยุทธศาสตร์ชาติ ปี 60-64 การจัดการระบบสุขภาพ – ระบบหลักประกันสุขภาพ โดย พญ.ทัศนีย์  เอกวานิช ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน สปสช.
  4. นำเสนอข้อมูลบทเรียนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น โดย เจ้าหน้าที่ สปสช. เขต 11-12
  5. ชี้แจงนโยบายและแนวทางของ สปสช.ต่อการพัฒนาบทบาทของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดย นายแพทย์ชูชัย  ศรชำนิ  รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  6. ระดมสมองหาทิศทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและสร้างระบบสุขภาพชุมชนเพื่อนำไปสู่ความมั่นคงทางสุขภาพของคนใต้
  7. สนทนากลุ่มสนทนา แลกเปลี่ยนบทเรียนกรณีศึกษา  ตำบลสร้างสุข  (5 ดี ) โดย คณะทำงานสมัชชาสุขภาพจังหวัดตรัง





 

100 50

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม                    
การใช้จ่ายงบประมาณ 750,000.00 0.00                    
คุณภาพกิจกรรม                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
ดร.เพ็ญ สุขมาก
ผู้รับผิดชอบโครงการ