โครงการการใช้มันสำปะหลังหมักยีสต์ในส่วนผสมอาหารสัตว์เพื่อใช้ในการผลิตไก่ลูกผสมพื้นเมืองของเกษตรกรรายย่อยจังหวัดกาฬสินธุ์

โครงการการใช้มันสำปะหลังหมักยีสต์ในส่วนผสมอาหารสัตว์เพื่อใช้ในการผลิตไก่ลูกผสมพื้นเมืองของเกษตรกรรายย่อยจังหวัดกาฬสินธุ์

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการการใช้มันสำปะหลังหมักยีสต์ในส่วนผสมอาหารสัตว์เพื่อใช้ในการผลิตไก่ลูกผสมพื้นเมืองของเกษตรกรรายย่อยจังหวัดกาฬสินธุ์
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
หน่วยงานร่วม
ชื่อชุมชน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านโหมน และเทศบาลตำบลห้วยโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ นางสาวจิระนันท์ อินทรีย์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีอุการเกษตร
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ สาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ คณะเทคโนโลยีอุ
ปี พ.ศ. 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 กุมภาพันธ์ 2560 - 17 กุมภาพันธ์ 2560
งบประมาณ 74,100.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ เมืองกาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ไก่พื้นเมืองชีถือเป็นไก่พื้นเมืองของประเทศไทยที่มีศักยภาพต่อการพัฒนาพันธุกรรมเนื่องจากไก่ชีให้ปริมาณผลผลิตไข่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับไก่พื้นเมืองไทยพันธุ์อื่นๆ ดังนั้นเพื่อต่อยอดการพัฒนาพันธุกรรมไก่พื้นเมืองชีให้โดดเด่นมากขึ้นและสนองต่อความต้องการของเกษตรกรผู้เลี้ยงในเขตภาคอีสาน ทางสาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ได้ผลิตไก่ลูกผสมพื้นเมืองชีโดยเน้นการผลิตไข่ และทำการเลี้ยงแบบกึ่งปล่อยเพื่อศึกษาความเป็นไปได้สำหรับการส่งเสริมให้กับเกษตรกรสามารถนำไปเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมหรือเป็นแหล่งโปรตีนสำหรับบริโภคภายในครัวเรือนได้ นอกจากนี้ยังศึกษาความเป็นไปได้ในการนำวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นมาปรับปรุงคุณภาพเพื่อให้สามารถนำมาใช้เลี้ยงไก่ในชุมชน
มันสำปะหลังเป็นพืชที่เพาะปลูกมากในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยเป็นพืชที่เกษตรสามารถปลูกได้เองภายในสภาพแวดล้อมและดินที่ไม่เหมาะสมมันสำปะหลังเป็นพืชที่มีลักษณะพิเศษ โดยสามารถทนสภาพอากาศที่แห้งแล้งได้ยาวนาน เจริญเติมโตได้ในดินที่เป็นกรด ดินทราย และดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ผลผลิตส่วนใหญ่นำไปใช้ประโยชน์ในอุสาหกรรมการทำแป้งมัน และเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์อย่างไรก็ดี การนำมันสำปะหลังไปใช้เป็นอาหารสัตว์ มีข้อจำกัดบางประการ กล่าวคือมันสำปะหลังมีโปรตีนต่ำพร้อมทั้งมีสารพิษที่สามารถทำอันตรายต่อสัตว์เลี้ยงได้มีการพัฒนาวิธีการใช้ประโยชน์จากมันสำปะหลังโดยกรรมวิธีการหมักเพื่อเพิ่มปริมาณระดับโปรตีนในมันสำปะหลัง โดยการหมักด้วยเชื้อจุลินทรีย์และใช้แหล่งธาตุในโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีนแล้วนำมาใช้เป็นอาหารสัตว์
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545-2550 กรมปศุสัตว์ได้ร่วมมือกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ดำเนินงานโครงการสร้างฝูงไก่พื้นเมืองไทยพันธุ์ชีที่ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์ท่าพระ จังหวัดขอนแก่น จนได้ไก่พื้นเมืองพันธุ์แท้ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ (มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ในปัจจุบัน) ได้นำไก่พื้นเมืองชีต้นสาย มาพัฒนาเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ซึ่งในแต่ละปีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตกาฬสินธุ์ได้ทำการผลิตลูกไก่พื้นเมืองชีแท้ เพื่อจำหน่ายและแจกจ่ายให้เกษตรกรจำนวนกว่า 50,000 ตัว
นอกจากนี้ไก่พื้นเมืองชีถือเป็นไก่พื้นเมืองของประเทศไทยที่มีศักยภาพต่อการพัฒนาพันธุกรรมเนื่องจากไก่ชีให้ปริมาณผลผลิตไข่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับไก่พื้นเมืองไทยพันธุ์อื่นๆ ดังนั้นเพื่อต่อยอดการพัฒนาพันธุกรรมไก่พื้นเมืองชีให้โดดเด่นมากขึ้นและสนองต่อความต้องการของเกษตรกรผู้เลี้ยงในเขตภาคอีสาน ทางสาขาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ได้ผลิตไก่ลูกผสมพื้นเมืองชีโดยเน้นการผลิตไข่ และทำการเลี้ยงแบบกึ่งปล่อยเพื่อศึกษาความเป็นไปได้สำหรับการส่งเสริมให้กับเกษตรกรสามารถนำไปเลี้ยงเป็นอาชีพเสริมหรือเป็นแหล่งโปรตีนสำหรับบริโภคภายในครัวเรือนได้ นอกจากนี้ยังศึกษาความเป็นไปได้ในการนำวัตถุดิบอาหารสัตว์ในท้องถิ่นมาปรับปรุงคุณภาพเพื่อให้สามารถนำมาใช้เลี้ยงไก่ในชุมชน มันสำปะหลังเป็นพืชที่เพาะปลูกมากในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยเป็นพืชที่เกษตรสามารถปลูกได้เองภายในสภาพแวดล้อมและดินที่ไม่เหมาะสมมันสำปะหลังเป็นพืชที่มีลักษณะพิเศษ โดยสามารถทนสภาพอากาศที่แห้งแล้งได้ยาวนาน เจริญเติมโตได้ในดินที่เป็นกรด ดินทราย และดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ผลผลิตส่วนใหญ่นำไปใช้ประโยชน์ในอุสาหกรรมการทำแป้งมัน และเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์อย่างไรก็ดี การนำมันสำปะหลังไปใช้เป็นอาหารสัตว์ มีข้อจำกัดบางประการ กล่าวคือมันสำปะหลังมีโปรตีนต่ำพร้อมทั้งมีสารพิษที่สามารถทำอันตรายต่อสัตว์เลี้ยงได้มีการพัฒนาวิธีการใช้ประโยชน์จากมันสำปะหลังโดยกรรมวิธีการหมักเพื่อเพิ่มปริมาณระดับโปรตีนในมันสำปะหลัง โดยการหมักด้วยเชื้อจุลินทรีย์และใช้แหล่งธาตุในโตรเจนที่ไม่ใช่โปรตีนแล้วนำมาใช้เป็นอาหารสัตว์

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย Thanyakon Thanyakon เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 11:00 น.