ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ ยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
หน่วยงานหลัก คณบริหารธุรกิจและการบัญชี
หน่วยงานร่วม พัฒนาชุมชน กลุ่มวิสหกิจชุมชน
ชื่อชุมชน กลุ่มอาชีพกล้วยฉาบสมุนไพร อำเภอโพนทอง กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแจ่วบองไอโอดิน อำเภอโพธิ์ชัย กลุ่มอาชีพสวนเห็นคุณยาย (ข้าวเกรียบเห็ด) อำเภอธวัชบุรี กลุ่มอาชีพไข่เค็มลุ่มน้ำชี และกลุ่มอาชีพปลาส้มบ้านท่าม่วง อำเภอเสลภูมิ
ชื่อผู้รับผิดชอบ อ.อัจฉรียา พัฒนสระคู ผศ.ลลิตา พิมทา และคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 1. อ.อัจฉรียา พัฒนสระคู
2. ผศ. ลลิตา พิมทา
การติดต่อ 043-556001-8
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 500,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
ร้อยเอ็ด เสลภูมิ ท่าม่วง ในเมือง place directions
ร้อยเอ็ด โพนทอง ในเมือง place directions
ร้อยเอ็ด โพธิ์ชัย ในเมือง place directions
ร้อยเอ็ด ธวัชบุรี ในเมือง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP อย่างน้อย 1 ระดับ โดยใช้เกณฑ์การเลือกผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในกลุ่มกลยุทธ์ Quadrant D กลุ่มปรับตัว ตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ปี 2562-2565
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ความพร้อม และความสามารถของสามาชิกที่จะนำองค์ความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาต่อยอดของผลิตภัณฑ์ชุมชนของแต่ละกลุ่มผลิตภัณฑ์ให้เข้มเเข็ง สามารถสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนหรือสมาชิกนั้น ยังไม่สามารถพัฒนาต่อไปได้ในด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด ไม่สามารถแข่งขันกับผลิตภัณฑ์กลุ่มอื่นได้
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการคำนวณต้นทุนในการผลิต เพื่อนำไปสู่เทคนิคการตั้งราคาในการจัดจำหน่ายมาบรรยายให้ความรู้ รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประเด็นปัญหา และแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจำหน่าย ต้นทุนการผลิด และการส่งเสริมการประกอบธุรกิจการค้า

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

1. ศึกษาศักยภาพของสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชนที่จะดำเนินการ โดยใช้เกณฑ์การเลือกผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในกลุ่มกลยุทธ์ Quadrant D กลุ่มปรับตัว
2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์รวมของผลิตภัณฑ์
3. ส่งเสริมการประกอบธุรกิจการค้าและการตลาด

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย reru101 reru101 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2562 09:15 น.