การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเศษผ้าม่าน : กรณีศึกษา ร้านเจริญทรัพย์ ผ้าม่าน ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี

การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเศษผ้าม่าน : กรณีศึกษา ร้านเจริญทรัพย์ ผ้าม่าน ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเศษผ้าม่าน : กรณีศึกษา ร้านเจริญทรัพย์ ผ้าม่าน ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
หน่วยงานหลัก คณะวิทยาการจัดการ
หน่วยงานร่วม สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
ชื่อชุมชน ร้านเจริญทรัพย์ ผ้าม่าน ตำบลบ้านเลื่อม อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์วฤธรณ์ ตุลย์ณวัฒน์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 64 ถ.ทหาร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา นางสาวศุทธินี ศรีภูพาน
นางสาวยุราวรรณ์ แพทย์ชัยโย
นางสาวดวงดาว ศรีกงพาน
นางสาวนิศานาถ ชาวกะมุด
นางสาวช่อผกา อารีวรพล
การติดต่อ 0894221212
ปี พ.ศ. 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 6 มกราคม 2562 - 18 เมษายน 2562
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
อุดรธานี เมืองอุดรธานี บ้านเลื่อม place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ร้านเจริญทรัพย์ผ้าม่านก่อตั้งกิจการ เมื่อปี พ.ศ.2542 โดยคุณ วรรธนา เกลาโคกสูง จุดเริ่มต้นของการก่อตั้งร้านเจริญทรัพย์ผ้าม่านคือ แต่ก่อนเคยเป็นลูกจ้างร้านที่ผ้าม่าน แล้วได้ย้ายกลับมาอยู่ที่จังหวัดอุดรธานี เลยได้เริ่มเปิดกิจการเป็นชองตัวเอง โดยมีชื่อร้านว่า วชิระผ้าม่าน ตั้งอยู่ สี่แยกหนองสาโรง ข้างๆ ร้านแม็กเนื้อย่าง ปัจจุบันได้ย้ายมาตั้งที่ เจริญทรัพย์ผ้าม่าน (ซอยข้างโรงเรียนกระจ่างวิทย์ อุดรธานี) 255/17 หมู่ 6 บ้านเลื่อม ตาบลหมากแข้ง อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000 ได้เปลี่ยนชื่อร้านเป็น เจริญทรัพย์ผ้าม่าน ปัจจุบันผู้ดูแลกิจการ คือ นายพีระพงษ์ แม้นศิริ (บุตรชาย)
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
1. ผู้ประกอบการมีความชานาญด้านการตัดเย็บเป็นอย่างดี
2. มีทาเลที่ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนเป็นที่ง่ายต่อการเป็นที่รู้จักผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเศษผ้าม่านร้านเจริญทรัพย์ผ้าม่าน
3. ลายผ้ามีความสวยงาม หรูหราร่วมสมัยและโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์
4. ลูกค้าได้ผลิตภัณฑ์หมอนอิงที่มีลวดลายสีสันเดียวกับผ้าม่านที่สั่งตัด
5. วัสดุที่มีคุณภาพในการผลิตสินค้า
6. มีการศึกษาและออกแบบรูปทรงผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ
ข้อมูลประเด็นปัญหา
1. ผลิตภัณฑ์ลอกเลียนแบบได้ง่าย
2. ไม่สามารถกาหนดลายผ้าที่ชัดเจนได้เพราะผลิตจากเศษผ้าที่หลังจากการตัดเย็บผ้าม่าน
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเศษผ้าม่าน

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1. ทฤษฎีการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ (SWOT Analysis)
2. ทฤษฎีการวิเคราะห์การแข่งขันทางธุรกิจ (5 Force Model)
3
. ทฤษฎีการวิเคราะห์ต้นทุน
4. เอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
6. งานประดิษฐ์ที่ทาจากเศษผ้า

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

จากรายงานสภาวะเศรษฐกิจไทยโดยรวมของประเทศมีอัตราการเจริญเติบโตมากขึ้น (ธนาคารแห่งประเทศไทย) ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด (open economy) คือเป็นประเทศที่มีการติดต่อทาการซื้อขายสินค้าและบริการกับประเทศเพื่อนบ้าน การค้าระหว่างประเทศจึงมีบทบาทสาคัญในฐานะกลไกลในการพัฒนาและนาความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ประเทศ รวมทั้งมีส่วนสาคัญในการผลักดันให้เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว นับตั้งแต่ พ.ศ. 2504 (พัชรี สุวรรณศรี, สุภัทณี เปรียบสุวรรณกิจ) ส่งผลให้สภาพความเป็นอยู่ของประชาชนดีขึ้น หนึ่งในปัจจัยสี่ คือ ที่อยู่อาศัย มีการสร้างบ้านใหม่เพื่อสนองความต้องการผู้บริโภคจานวนมาก รวมทั้งมีการปรับปรุงบ้านเก่าให้มีความน่าอยู่ ทันสมัยมากขึ้น จึงมีการตกแต่งภายในให้สวยงามและทันสมัยด้วยวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงผ้าม่านและมู่ลี่ ส่งผลให้ธุรกิจผ้าม่านเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งการผลิตผ้าม่านนั้น สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในเรื่องการตกแต่งภายใน จึงมีความเหมาะสมสาหรับการตกแต่งบ้านใหม่และการปรับปรุงบ้านเก่าให้สวยงามตามความนิยม
ในเรื่องของการตกแต่งภายในนั้นส่งผลให้ ธุรกิจผ้าม่านที่ได้รับความนิยมในการตกแต่งบ้าน ซึ่งนอกจากความสวยงามแล้วยังจะช่วยทาให้บ้านหลังนั้นดูดีมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทาให้การใช้ชีวิตประจาวันมีความสุขสาหรับการการพักอาศัย และมีความรู้สึกภาคภูมิใจเกิดขึ้น จึงทาให้การประกอบธุรกิจผ้าม่านมีความนิยมมาโดยตลอดและมีการพัฒนารูปแบบมาตามความเหมาะสมในแต่ละสมัย เนื่องจากการที่ธุรกิจผ้าม่านสามารถทาได้หลากหลายรูปแบบและรูปทรงตามความต้องการของ ผู้อยู่อาศัย แต่ในขณะเดียวกันในกระบวนการผลิตผ้าม่านส่งผลให้มีเศษผ้าที่เหลือจากการตัดเย็บเป็นจานวนมากตามปริมาณการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย udonthani_ru udonthani_ru เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 11:06 น.