การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวเม่าเขตพื้นที่ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวเม่าเขตพื้นที่ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากข้าวเม่าเขตพื้นที่ อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
หน่วยงานหลัก วิทยาการจัดการ
หน่วยงานร่วม การจัดการทั่วไป
ชื่อชุมชน ภายในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์วฤธรณ์ ตุลย์ณวัฒน์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 64 ถ.ทหาร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี 41000
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา นางสาวศศิมาภรณ์ อ้วนนวล นางสาวเมธิรา พรหมภิภักดร์ นางสุภาภรณ์ นิลคูหา นางสาวปาริกา ดวนดี นางสาวกุลธิณี ลุคเซซี
การติดต่อ 0894221212
ปี พ.ศ. 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2561 - 30 เมษายน 2562
งบประมาณ 0.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
อุดรธานี เมืองอุดรธานี หมากแข้ง place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ข้าวเม่าเป็นข้าวที่ใช้ระยะเวลาในการปลูก 3 เดือน ซึ่งยังเป็นข้าวที่ยังไม่แก่จัดและยังไม่เป็นข้าวสารเพราะข้าวเม่ามีผลช่วยเสริมสภาพจิตใจมีความตื่นตัว มีสมาธิ และยังคงเสริมสร้างวิตามินบี ช่วยปรับระบบกลูโครส และเป็นสารอาหารที่เข้าไปพัฒนาระบบสมอง โดยข้าวเม่าอุดมไปด้วยเส้นใยอาหาร ไขมัน วิตามินบี1 วิตามินบี2 ธาตุเหล็ก แคลเซียม ฟอสฟอรัส แม็กนีเซียม และโปรตีน ซึ่งสารอาหารเหล่านี้ล้วนส่งผลดีต่อสุขภาพจึงเล็งเห็นประโยชน์และคุณค่าของข้าวเม่าดังนั้นจึงเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวเม่าโดยการน้ามาท้าเป็นน้้าข้าวเม่าเพื่อสุขภาพพร้อมดื่มและท้าเป็นผงข้าวเม่าส้าหรับชง เนื่องจากทุกวันนี้คนรักสุขภาพมากขึ้นจึงหันมาสนใจผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพไม่ว่าจะเป็นเครื่องดื่มหรืออาหารและน้้าข้าวเม่าเป็นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์ที่อุดมไปด้วยประโยชน์และสารอาหารที่คนรักสุขภาพต้องการ
แต่เนื่องจากข้าวเม่ามีความชื้นท้าให้ขึ้นราได้ง่ายซึ่งท้าให้ไม่สามารถเก็บไว้ได้นาน จึงทดลองค้นหาวิธีในการรักษากลิ่นของข้าวเม่าเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ข้าวเม่ายังคงมีกลิ่นธรรมชาติของข้าวเม่าเช่นเดิม
ด้วยเหตุผลนี้ผู้ศึกษาจึงมีความเห็นว่าควรน้าข้าวเม่ามาพัฒนาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ให้เกิดความหลากหลายเพื่อการเก็บรักษาไว้ได้นาน

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • แปรรูปผลิตภัณฑ์จากข้าวเม่า

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย udonthani_ru udonthani_ru เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 10:49 น.