โครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หมูบ้านเกษตรอินทรีย์วิถีนวัตกรรม)

โครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หมูบ้านเกษตรอินทรีย์วิถีนวัตกรรม)

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หมูบ้านเกษตรอินทรีย์วิถีนวัตกรรม)
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
หน่วยงานหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
หน่วยงานร่วม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติสกลนคร,พัฒนาชุมชน,กรมการค้าภายใน,เทศบาลตำบลกุดเแฮด
ชื่อชุมชน บ้านกุดบาก
ชื่อผู้รับผิดชอบ นางเดือนรุ่ง สุวรรณโสภา หัวหน้าโครงการ และคณะทำงาน
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา 1.ผศ.ดร.ราตรี พระนคร คณะทรัพยากรธรรมชาติ
2.ผศ.ดร.สุดารัตน์ สกุลคู คณะทรัพยากรธรรมชาติ
3.ผศ.กรรณการ์ สมบุญ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
4.ผศ.สิริพร สารคล่อง คณะทรัพยากรธรรมชาติ
5.ผศ.ดร.สุกัญญา สายธิ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
6.ดร.อิทร์ธัชว์ ศรีบุตต์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ
7.น.ส.ชลาลัย เหง้าน้อย หัวหน้าแผนกบริการวิชาการ
8.น.ส.สุดารัตน์ จรบุรมย์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
9.นางจุฑามาศ ที่อร่าม หัวหน้าศูนย์บริการและทดสอบ
การติดต่อ 081-9462789/042-772393
ปี พ.ศ. 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
งบประมาณ 290,400.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลชื่องานในพื้นที่ลักษณะพื้นที่
สกลนคร กุดบาก กุดบาก place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ชุมชนตำบลกุดบาก อำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร ส่วนใหญ่เป็นชาวบ้านเผ่า "กะเลอง" ซึ่งเป็น 1 ใน 7 เผ่าของประชาชนจังหวัดสกลนคร บรรพบุรุษชาวกะเลิงเดิมตั้งถิ่นฐานในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว บริเวณเมืองภูวานากระแด้ง ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนามเหนือ ช่วงราวต้นสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ พวกฮ่อได้รุกรานชนกลุ่มน้อยทางฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขงชาวกะเลิงจึงพากันหนีมารวมกันที่เมืองมหาชัยกองแก้ว และบางส่วนได้ข้ามลำน้ำโขงมาหาแผ่นดินตั้งหลักแหล่งใหม่ทองฝั่งขวาคือประเทศไทย บริเวณนครพนม สกลนคร มุกดาหาร จนได้พบบริเวณที่ราบลุ่มบนเทือกเขาภูพาน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
น้ำผลไม้,น้ำหมากเม่า
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ปัญหาการใช้สารเคมีในพื้นที่
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
เพิ่มผลผลิตจากเดิมได้และมาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ลดการย้ายถิ่นฐาน ต้องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

ให้คำปรึกษาการพัฒนาด้านเกษตรอินทรีย์เพื่อให้ได้มาตราฐานและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ เช่น ระบบการปลูกพืชเกษรอินทรีย์ สารชีวมวล การจัดทำปุ๋ยหมัก การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การตลาด ฯลฯ

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ในรายละเอียดไฟล์แนบ

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย RMUTI RMUTI เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 09:50 น.