มหาวิทยาลัยธนบุรีอาสาพัฒนาชุมชนผู้ปลูกดอกจำปี หนองแขม กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยธนบุรีอาสาพัฒนาชุมชนผู้ปลูกดอกจำปี หนองแขม กรุงเทพมหานคร

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ มหาวิทยาลัยธนบุรีอาสาพัฒนาชุมชนผู้ปลูกดอกจำปี หนองแขม กรุงเทพมหานคร
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยธนบุรี
หน่วยงานหลัก สำนักกิจการนักศึกษา
หน่วยงานร่วม สำนักกิจการนักศึกษา
ชื่อชุมชน ชุมชนผู้ปลูกดอกจำปี หนองแขม กรุงเทพมหานคร
ชื่อผู้รับผิดชอบ นายพิชัย บุญช่วย
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ 248 เพชรเกษม 110 แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม 10160
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู , สำนักงานเขตหนองแขม
การติดต่อ 0-2809-0823-27 ต่อ 237
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2563 - 30 มิถุนายน 2564
งบประมาณ 370,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กรุงเทพมหานคร หนองแขม หนองค้างพลู place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ตั้งอยู่ที่ 31 ซอยต้นสน (ถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งใต้) หนองแขม กรุงเทพมหานคร
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ประชาชนในชุมชนรวมกลุ่มปลูกดอกจำปีจำหน่าย
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ราคาสินค้าจากดอกจำปีลดลง
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ประชาชนต้องการตลาดจำหน่ายสินค้าที่หลากหลายช่องทางและลดรายจ่ายกระบวนการผลิตน้ำหอมจากดอกจำปี

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

1.การทำผลิตเครื่องกลั่นน้ำหอมจากดอกจำปี
2.การผลิตเครื่องอบดอกจำปี
3.การสร้างตลาดออนไลน์ขายสินค้าให้กับชุมชน
4.การสร้างเทคนิคการขายสินค้ารูปแบบภาษาอังกฤษให้กับชุมชน
5.การออกแบบโลโก้สินค้าให้กับชุมชน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

การขยายตัวขอลงสังคมเมืองและการมาถึงของโรงงานอุตสาหกรรมทำให้ท้องนาเขตหนองแขม กรุงเทพมหานครลดขนาดลงและถูกปรับเปลี่ยนการใช้ประโยชน์มาโดยตลอด ตั้งแต่สวนผัก สวนผลไม้แบบกร่องจนท้านที่สุดได้กลายเป็นสวนจำปีสำหรับเก็บดอกส่งขาย แต่เพราะราคาดอกจำปีที่ไม่แน่นอนชาวบ้านและเกษตรกรจึงรวมกลุ่มกันเพื่อคิดวิธีเพิ่มมูลค่า เกิดเป็น "วิสาหกิจชุมชนผู้ปลูกจำปีหนองแขม" ซึ่งริเริ่มต่อยอดผลผลิตในสวนมาเป็น "น้ำหอมจำปี (Jampee)" อีกหนึ่งผลิตภัณฑ์คุณภาพที่ชาวหนองแขมภาคภูมิใจ โดยคุณสุนันท์ หนูแย้ม ตัวแทนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ เล่าถึงจุดเริ่มต้นในการผลิตน้ำหอมจำปีว่า เมื่อก่อนแถวหนองแขมมีสวนจำปีกว่าพันไร่ แต่จำนวนก็ลดน้อยลงเรื่อย ๆ เพราะรายได้จากการเก็บดอกไม้ส่งขายอย่างเดียวไม่เพียงพอ บางช่วงก็ราคาตก ทั้งที่จำปีสามารถเก็บดอกขายได้ตลอดทั้งปี ตอนรวมกลุ่มชาวบ้านเป็นวิสาหกิจชุมชน เมื่อปี พ.ศ. 2548 พวกเราเหลือพื้นที่ปลูกจำปีประมาณ 5 - 6 ร้อยไร่ ในบริเวณหนองแขม และที่ใกล้เคียง สำนักงานเขตจะจดเป็นต้นไม้ประจำท้องถิ่นเลยคิดกันว่าจะเพิ่มมูลค่าจำปียังไง โชคดีที่เจ้าหน้าที่เกษตรช่วยนำจำปีไปวิจัยให้ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน แล้วพบว่าสามารถสกัดเป็นน้ำหอมระเหยจากดอกจำปีได้ เราจึงตัดสินใจว่าจะแปรรูปเป็นน้ำหอมจำปีโดยใช้เครื่องกลั่นจากภูมิปัญญาที่คุณพยุง หนูแย้ม ประธานกลุ่มเป็นผู้ออกแบบและผลิตเอง ช่วยลดต้นทุนการผลิตในช่วงเริ่มต้นไปได้เยอะ และก็ได้น้ำมันหอมจากดอกจำปีที่มีคุณภาพเทียบเท่ากับเครื่องกลั่นราคาแพง

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

  • กลั่นกลิ่นหอมจากดอกจำปี เพิ่มมูลค่ามหาศาล

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย thonburi thonburi เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 09:28 น.