การบริหารจัดการน้ำชุมชน พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ

การบริหารจัดการน้ำชุมชน พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การบริหารจัดการน้ำชุมชน พัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานหลัก วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานร่วม มูลนิธิปิดทองหลังพระ, อบต.โพนงาม
ชื่อชุมชน อบต.โพนงาม อ.กมลาไสย
ชื่อผู้รับผิดชอบ อาจารย์ณรงค์ เกียรติคุณวงศ์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มข. 123/2017 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ 0831539999, naroki@kku.ac.th
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 412,100.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ด้วยเทศบาลตําาบลอิตื้อ อําาาเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้รับการยกฐานะจากองค์การบริหารส่วนตําาบลอิตื้อเป็นเทศบาลตําาบลอิตื้อ ตามพระราชบัญญัติสภาตําาบลและองค์การบริหารส่วนตําาบล พ.ศ. 2537 นายประเทือง บุตรวงค์เป็นนายกเทศมนตรีตําาบลอิตื้อคนแรกจนถึงปัจุบันเดิมสําาานักงานเทศบาลตําาบลอิตื้อ ในช่วงเริ่มก่อตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตําาบลอิตื้อขอใช้ศาลากลางบ้านหนองแวงบ่อแก้วเป็นการชั่วคราว ต่อมาได้มีการสร้างสําาานักงานแล้วเสร็จ ซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านหนองแวงบ่อแก้ว หมู่ที่ 8 และได้ย้ายสําาานักงานเป็นการถาวร ในวันที่ 3 เดือน มกราคม พ.ศ.2540 จนถึงปัจจุบันตั้งแต่วันที่โดยมี พ.จ.ต.สมชาย ภูขียวขําาาเป็น ปลัดองค์การบริหารส่วนตําาบลคนแรกและมี นางชลนิภา รัตตะเวทิน เป็นปลัดองค์การคนที่ 2 จนถึงปัจจุบัน เทศบาลตําาบลอิตื้อ มีภูมิประเทศเป็นที่ราบ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน มีจําานวนประชากรจําานวนประชากรทั้งสิ้น 8,976 คน แยกเป็นชาย4,429 คน หญิง 4,547คนมีความหนาแน่นเฉลี่ย289.55 คน/ตารางกิโลเมตร
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
องค์การบริหารส่วนตำบลโพนงาม ตั้งอยู่ในเขตตำบลโพนงาม อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ อยู่ห่างจากอำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์ ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากจังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นระยะทางประมาณ 24 กิโลเมตร มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 31 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 19,375 ไร่ มีพื้นที่เขตการปกครองจำนวน ทั้งสิ้น 13 หมู่บ้าน
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลโคกสมบูรณ์ อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลดงลิง,ตำบลหลักเมือง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลหลักเมือง อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ข้อมูลประเด็นปัญหา
จากการสำรวจปัญหาของชุมชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลโพนงาม อำเภอกมลาไสย ในพื้นที่ส่วนใหญ่ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ ในการเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรผู้ปลุกผักซึ่งต้องใช้น้ำในการเพาะปลูกตลอดฤดูกาลโดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งที่จะขาดแคลนน้ำเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่งผลกระทบแก่เกษตรกรผู้ปลูกผักเป็นรายได้หลักของครอบครัว ซึ่งต้องมีต้นทุนในการจัดหาน้ำมาเพื่อใช้ในการปลุกผักในฤดูแล้งที่ขาดแคลนน้ำ
ซึ่งในพื้นที่อบต.โพนงามเองมีแหล่งน้ำดิบขนาดใหญ่คือโครงการแก้มลิงหนองเลิงเปือย ซึ่งเป็นสถานที่ที่เก็บน้ำไว้สำหรับการใช้ในอุปโภคบริโภค แต่การเข้าถึงแหล่งน้ำจะมีแต่ในส่วนที่ติดกับพื้นที่หนองเลิงเปือยแต่บริเวณใกล้เคียงสถานีส่งน้ำเท่านั้น แต่หากเรามีสถานที่เก็บน้ำเพิ่มเติมหรือบ่อพักน้ำที่รองรับการผัดน้ำจากแก้มลิงหนอิงเลิงเปือยไว้ให้เกษตรกรใช้ในยามจำเป็นจะเป็นการเพิ่มความสามารถในการเพาะปลูกและเพิ่มศักยภาพเกษตรกรในการบริหารจัดการน้ำได้
1). สำรวจว่าแต่ละพื้นที่จำเป็นต้องใช้น้ำในตลอดปีมากน้อยเพียงใด
2.จัดหาพื้นที่ในการสร้างบ่อพักน้ำขนาดย่อยๆ(บ่อลูก)
3. ดำเนินการขุดบ่อพักน้ำ
4. นักศึกษาบริหารจัดการพื้นที่และการจัดการน้ำร่วมกับเกษตรกร
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562 16:29 น.