อาสาประชารัฐ “ส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ”

อาสาประชารัฐ “ส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ”

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ อาสาประชารัฐ “ส่งเสริมเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ”
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
หน่วยงานหลัก สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
หน่วยงานร่วม ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อชุมชน เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ชื่อผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤติมา เสาวกูล
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา รองศาสตราจารย์ ดร.สำเนาว์ เสาวกูล สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ ดร. ศุภลักษณ์ เกตุตากแดด สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
อาจารย์ ดร. นิตยา ภูงาม สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีรเวทย์ อุทโธ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาอุบลราชธานี
อาจารย์ ดร. สุริยา อุดด้วง สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
นายธนภัทร มนัสไธสง สำนักงานวิทยาเขตสุรินทร์
นายจักรินทร์ สนุกแสน สำนักงานวิทยาเขตสุรินทร์
นางณิชาภา สารธิยากุล สำนักงานวิทยาเขตสุรินทร์
น.ส. ศิริลักษณ์ ชินรัมย์ สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
น.ส. รัชนิกา เอ็นยอด สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
น.ส. วิมลรัตน์ บุญเข็ม สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
น.ส. จันทร์จิรา พอกพูน สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
น.ส. มัลลิกา มูลอ้าย สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
นายสุขสันต์ ยกดี สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
นายชนะพล สวัสดิ์พูน สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
นายวีรภัทร มีแย้มภักดิ์ สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
นายฐิติกร แสงสุข สาขาประมง คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี
การติดต่อ 086-2496450 , krittima2562@gmail.com
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2562 - 31 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 500,000.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
ตำบลธัญญา อำเภอกมลาไสย จังหวัดกาฬสินธุ์
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
เกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ข้อมูลประเด็นปัญหา
ประสบปัญหาด้านต้นทุนการผลิตสัตว์น้ำโดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นทุนค่าอาหารสัตว์น้ำสูง ขาดการวางแผนการเลี้ยงที่ดีทำให้ราคาสัตว์น้ำตกต่ำ และขาดความรู้ด้านวิชาการในการจัดการดูแลระหว่างการเลี้ยงสัตว์น้ำ ทำให้สัตว์น้ำเกิดการตายและคุณภาพน้ำเน่าเสีย
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่
ต้องการให้หน่วยงานรัฐมาช่วยแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

เทคโนโนโลยีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำจากการแปรรูปตามความต้องการของตลาด

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการสร้างสมดุลความมั่นคงด้านพลังงาน และอาหาร การรักษาไว้ซึ่งความหลากหลายเชิงนิเวศ การส่งเสริมการดำเนินชีวิต ธุรกิจ และการพัฒนาที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และส่งเสริมให้ประเทศมีศักยภาพในการแข่งขันที่สูงขึ้น เพื่อให้การพัฒนาประเทศสามารถดำเนินการได้อย่างมั่นคง มั่งคั่ง และ ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 กำหนดวิสัยทัศน์ประเทศไทยคือ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ที่มีเป้าหมายการพัฒนา และการยกระดับคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัย ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยจะต้องมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดี มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 มีนิสัยรักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอื่นๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตน สถาบันอุดมศึกษาจึงเป็นหัวใจสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าว โดยการดำเนินงานผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอน ที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ และสร้างองค์ความรู้ที่สรอดคล้องกับความต้องการของภาคสังคม ชุมชน และท้องถิ่น เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมและเศรษฐกิจของคนไทยอย่างเป็นระบบ เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์การทำงานตรงตามสาขาวิชา และองค์ความรู้ที่เรียนโดยมีชุมชนเป็นฐานการนำความรู้สู่การปฏิบัติ ผ่านโครงงานที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ของชุมชน มุ่งเน้นผลลัพธ์ในการแก้ปัญหาด้านความยากจน ความเหลื่อมล้ำ และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

  • การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
  • ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
  • ส่งเสริมอาชีพ

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน find_in_page
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน find_in_page
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ find_in_page

ภาพถ่าย

  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ
  • photo คำอธิบายภาพ

วีดิโอ

  • การเพาะพันธ์ปลาหลดเพื่อการค้า ตามแนวพระราชดำิริ เศรฐกิจพอเพียง

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย jakkarin jakkarin เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562 16:16 น.