การวิเคราะห์และการจัดการปัญหายาเสพติดให้โทษในชุมชน

ข้อมูลโครงการ

ชื่อโครงการ การวิเคราะห์และการจัดการปัญหายาเสพติดให้โทษในชุมชน
สถาบันอุดมศึกษาหลัก มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานหลัก วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
หน่วยงานร่วม มูลนิธิปิดทองหลังพระ, อบต.สามัคคี, เจ้าหน้าที่ปกครอง อ.ร่องคำ, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
ชื่อชุมชน อบต.สามัคคี อ.ร่องคำ
ชื่อผู้รับผิดชอบ ดร.ฌาน เรืองธรรมสิงห์
ที่อยู่ผู้รับผิดชอบ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มข. 123/2017 ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002
ชื่อผู้ร่วมโครงการ/สาขา
การติดต่อ 0896794554, อีเมล์ jnarin@kku.ac.th
ปี พ.ศ. 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563
งบประมาณ 352,100.00 บาท

พื้นที่ดำเนินงาน

จังหวัดอำเภอตำบลลักษณะพื้นที่
กาฬสินธุ์ place directions

รายละเอียดชุมชน

ข้อมูลพื้นฐาน
องค์การบริหารส่วนตำบลสามัคคี อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ มีพื้นที่ 46.00 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมอาณาเขตตำบลสามัคคีทั้งหมด 15 แห่ง มีประชากรทั้งหมด 5,609 คน
ข้อมูลศักยภาพ/ทรัพยากร
ข้อมูลประเด็นปัญหา
จากการสำรวจพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลสามัคคี พบว่า ปัญหายาเสพติดในชุมชน ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม การลักขโมย ความไม่ปลอดภัยต่อทรัพย์สิน ความไม่ปลอดภัยต่อร่างกายและชีวิตของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน ขาดความสงบสุข และปัญหาคุณภาพชีวิตของคนในหมู่บ้าน/ชุมชน
ดังนั้น ชุมชนต้องมีส่วนร่วมจัดการปัญหายาเสพติด พลังชุมชนเป็นพลังสำคัญหยุดยั้งปัญหายาเสพติดได้ ต้องดำเนินควบคู่กันทุกมาตรการทุกด้าน ทั้งการป้องกัน ปราบปราม บำบัด เฝ้าระวัง พัฒนาคุณภาพชีวิต การมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายแก้ไขปัญหา ไม่มีใครสามารถแก้ไขได้ โดยลำพังคนในหมู่บ้าน/ชุมชนเองรู้จักและเข้าใจปัญหาดีที่สุด จึงเป็นผู้แก้ไขปัญหาได้ดีที่สุด มากกว่า คนภายนอกหมู่บ้าน/ชุมชน ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มาของแนวคิดโครงการอาสาประขารัฐ ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่จะนักศึกษานำที่เข้าร่วมโครงการดำเนินการ
1. นักศึกษาเตรียมความพร้อมคนในหมู่บ้าน/ชุมชน 2 ระดับ ระดับชาวบ้าน ระดับแกนนำ
2. นักศึกษาทำความเข้าใจกับปัญหายาเสพติดในหมู่บ้าน/ชุมชน สำรวจ วิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน
3. นักศึกษาวางแผนงานของหมู่บ้าน/ชุมชน การมีส่วนร่วม
4. นักศึกษาร่วมกับหมูบ้าน/ชุมชน พัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน จัดองค์ความรู้และเชื่อมโยงเครือข่าย
ข้อมูลความต้องการเชิงพื้นที่

ประเด็นปัญหาหลัก

ประเด็นที่เกี่ยวข้อง

องค์ความรู้หรือนวัตกรรมที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน

รายละเอียดโครงการ/หลักการและเหตุผล

คำสำคัญเพื่อการค้นหา

ประเมินคุณค่าโครงการ

คุณค่าที่เกิดขึ้นผลที่เกิดขึ้น
1 เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
2 เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ find_in_page
3 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
4 การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
5 เกิดกระบวนการชุมชน
6 มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

ภาพถ่าย

วีดิโอ

ไฟล์เอกสาร

โครงการขยายผล

นำเข้าสู่ระบบโดย วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัขอนแก่น เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562 14:41 น.