แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ | 16 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม | 17 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) | 17 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. | 17 ต.ค. 2562 |
|
|
|
|
|
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานและร่างข้อเสนอโครงการเชิงรุก จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 1 | 19 พ.ย. 2562 | 19 พ.ย. 2562 |
|
-บรรยาย “บทบาทหน้าที่ทีมพี่เลี้ยง กองทุนฯ และความเข้าใจในงานสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด อาหารและโภชนาการการเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย -เรียนรู้และฝึกปฏิบัติการทำแผนงานสุขภาพตำบลและทำโครงการบูรณาการสุขภาวะ ( บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) -การบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนงานสุขภาวะ ( บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) |
|
คณะทำงานสามารถปฏิบัติการทำแผนงานสุขภาพตำบลและทำโครงการบูรณาการสุขภาวะ ( บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) และบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนงานสุขภาวะ ( บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) ได้
1.ทำให้พี่เลี้ยงกองทุนฯ ทุกกองทุนฯ รู้และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของพี่เลี้ยงเอง และมีความเข้าใจในงานสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด อาหารและโภชนาการการเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย) เพื่อให้สอดคล้องกับ ทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผ่านกลไกคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (District Health Board)
2.พี่เลี้ยงกองทุนฯและ จนท.คีย์ข้อมูล สามารถเรียนรู้และฝึกปฏิบัติการทำแผนงานสุขภาพตำบลและทำโครงการบูรณาการสุขภาวะ |
|
การประชุมทีมระดับจังหวัด สงขลาเพื่อเตรียมการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทำแผนสุขภาพ และโครงการฯ | 29 พ.ย. 2562 | 29 พ.ย. 2562 |
|
ประชุมทีมงานจังหวัดสงขลา ในการวางแผนการลงปฏิบัติงาน แบ่งงานในความรับผิดชอบ ฝ่ายการเงินและเอกสาร ฝ่ายประสานงาน การบันทึกข้อมูลในระบบ |
|
ประชุมทีมทำงานระดับจังหวัด |
|
การประชุมชี้แจงทีมทำงานระดับพื้นที่ | 30 พ.ย. 2562 | 30 พ.ย. 2562 |
|
-ชี้แจงภาพรวมการดำเนินโครงการบูรณาการด้านสุขภาวะผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ -การใช้โปรแกรมเพื่อการจัดทำแผนสุขภาพ และการพัฒนาโครงการบูรณาการ ด้านสุขภาวะเพื่อขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ |
|
คณะทำงานมีความเข้าใจในกระบวนการดำเนินโครงการบูรณาการด้านสุขภาวะผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ การดำเนินการตามแผนงาน และความเข้าใจในการใช้เครื่องมือการใช้โปรแกรมเพื่อการจัดทำแผนสุขภาพ และการพัฒนาโครงการบูรณาการ ด้านสุขภาวะเพื่อขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ได้ดี |
|
การประชุม coaching ทีมระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานโครงการเชิงรุก จังหวัดสงขลา | 2 ธ.ค. 2562 | 2 ธ.ค. 2562 |
|
ประชุมชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการสุขภาวะ เขต 12 สงขลา พื้นที่เป้าหมาย 7 จังหวัด |
|
การจัดประชุมมีผู้เข้าร่วม จำนวน 50 คน |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการเขียนแผนงานในระบบแผน 1 ครั้ง 3 แห่ง ( ทม.คลองแห ทม.คอหงส์ ทม.บ้านพรุ ) | 21 ธ.ค. 2562 | 21 ธ.ค. 2562 |
|
ประชุม ฝึกปฏิบัติ แก่ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน กรรมการ ผู้ขอรับงบประมาณ |
|
ผู้เข้าร่วมประชุม จาก ทม. บ้านพรุจำนวน 1 คน |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานและร่างข้อเสนอโครงการเชิงรุก จังหวัดยะลา | 25 ธ.ค. 2562 | 25 ธ.ค. 2562 |
|
-บรรยาย เรื่องจุดเน้นประเด็นสุขภาพ พชอ.ยะหาผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ |
|
พื้นที่นำร่องสามารถดำเนินงานสร้างเสริสุขภาวะผานกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และเพื่อเกิดกองทุนนำร้อง |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและการพัฒนาโครงการกองทุนนำร่อง จังหวัดสตูล ครั้งที่ 1 | 26 ธ.ค. 2562 | 26 ธ.ค. 2562 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและการพัฒนาโครงการกองทุนนำร่องจังหวัดสตูล ครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุมครูดาล่องแก้ว อ.ละงู จ.สตูล มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 33 คน
เริ่มประชุมเวลา 09.00 น. โดยนางสาวสาวิตรี อนันตะพงษ์ ชี้แจงวัตถุประสงค์การขับเคลื่อนงานโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่ เพื่อให้กองทุนมีการใช้งบประมาณได้มากขึ้นโดยการพัฒนาโครงการใน 5 แผนงาน ประกอบด้วย |
|
ผลผลิต |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานและร่างข้อเสนอโครงการเชิงรุก จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 2 | 26 ธ.ค. 2562 | 26 ธ.ค. 2562 |
|
-ชี้แจงแนวทางการพัฒนาแผนงานและพัฒนาโครงการสุขภาวะ (บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) กองทุนนำร่อง ติดตามการดำเนินงานรอบที่ผ่านมา -การบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนงานสุขภาวะ ( บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) |
|
การนำร่องพื้นที่ดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีเป้าหมาย เพื่อให้เกิดกองทุนฯนำร่อง จำนวน 13 แห่ง ในอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ที่มีการจัดทำแผนสุขภาพตำบล และโครงการเกี่ยวกับการแก้ปัญหาสุขภาวะ(บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ ) และมีการสนับสนุนการดำเนินงานผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการยกร่างข้อเสนอโครงการ เทศบาลเมืองคอหงส์ ครั้งที่ 1 | 27 ธ.ค. 2562 | 27 ธ.ค. 2562 |
|
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการผู้เสนอโครงการขอรับงบประมาณจากกองทุน สปสช คอหงส์ จำนวน 15 คน |
|
ผู้เสนอโครงการเข้าร่วม. จำนวน. 20 คน. |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ จังหวัดยะลา | 27 ธ.ค. 2562 | 27 ธ.ค. 2562 |
|
|
|
จากการทบทวนและการร่างแผนสุขภาพ จะมีการปรับปรุงการทำแผนสุขภาพและการพัฒนาโครงการบูรณาการผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นแลดำเนินการแผนต่อไป |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการการการพัฒนาโครงการ เทศบาลตำบลบ้านพรุ ครั้งที่ 1 | 18 ม.ค. 2563 | 18 ม.ค. 2563 |
|
ประชุมพัฒนาโครงการ ฝึกเขียนโครงการ. การทำแผนงานในระบบ |
|
ผู้เข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ผู้รับผิดชอบงานกองทุน กลุ่ม อสม. ชมรมออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
ฝึกพัฒนาการเขียนโครงการในระบบ |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ จ.นราธิวาส ครั้งที่ 1 | 30 ม.ค. 2563 | 30 ม.ค. 2563 |
|
- ชี้แจงแนวทางการดำเนินโครงการบูรณาการสุชภาวะฯ (แผนงานบุหรี่, แผนงานสุรา. แผนงานสารเสพติด, แผนงานการเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย และแผนงานอาหารและโภชนาการ) กองทุนนำร่อง ในพื้นที่อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส - แนะนำการใช้งานโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล (localfund.happynetwork.org) - การจัดทำ และบันทึกแผนงาน โครงการบูรณาการสุขภาวะ (แผนงานบุหรี่ แผนงานสุรา. แผนงานสารเสพติด, แผนงานการเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย และแผนงานอาหารและโภชนาการ) ผ่านโปรแกรมกองทุนสุขภาพตำบล |
|
|
|
การประชุมทีมระดับเขต เพื่อติดตามและประเมินผลโครงการ ระยะที่ 1 | 1 ก.พ. 2563 | 1 ก.พ. 2563 |
|
ติดตามการดำเนินโครงการบูรณาการด้านสุขภาวะผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ |
|
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมของแต่ละจังหวัด สงขลา/สตูล/ตรัง/พัทลุง/ปัตตานี/ยะลา และนราธิวาส ปัญหาอุปสรรคและการแก้ไขปัญหา |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานและร่างข้อเสนอโครงการเชิงรุก จังหวัดปัตตานี ครั้งที่ 3 | 20 ก.พ. 2563 | 1 พ.ค. 2563 |
|
ปฏิบัติการ การบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนงานสุขภาวะ ( บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) |
|
แผน การบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนงานสุขภาวะ ( บุหรี่ สุรา สารเสพติด การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย อาหารและโภชนาการ) ให้สมบูรณ์ |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนงานและโครงการในเวบไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ในพื้นที่ เทศบาลเมืองคอหงส์ คลองแห บ้านพรุ ครั้งที่ 1 | 22 ก.พ. 2563 | 22 ก.พ. 2563 |
|
อบรมเขิงปฏิบัติการ |
|
อยรม 3 กองทุน .... |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการกองทุนสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อพัฒนาแผนงานและร่างข้อเสนอโครงการเชิงรุก อ.ควนขนุน จังหวัดพัทลุง | 25 ก.พ. 2563 | 3 เม.ย. 2563 |
|
อบรมตามอบรมตามโครงการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับตำบล พื้นที่นำร่อง 10 กองทุน ของอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 10 กองทุน ของอำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง |
|
เกิดความเข้าใจ การทำแผนงานโครงการ การลงรายละเอียดแผนงานผ่านเว็บไซต์ จากการอบรมตามโครงการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับตำบล พื้นที่นำร่อง |
|
การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาแผนงานและร่างข้อเสนอโครงการ จ.สตูล ครั้งที่ 2 | 29 ก.พ. 2563 | 29 ก.พ. 2563 |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการการทำแผนและพัฒนาโครงการในโปรแกรมกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น จำนวน 6 แผน และแต่ละแผนให้พัฒนาโครงการได้อย่างน้อยแผนละ 1 โครงการ |
|
1.สามารถจัดทำแผนได้ 6 แผน คือ แผนบุหรี่ แผนเหล้า แผนยาเสพติด แผนกิจกรรมทางกาย แผนอาหารและโภชนาการ และแผนแรงงานนอกระบบ 2. สามารถพัฒนาโครงการตัวอย่าง ได้ 6 โครงการ (แผนละ 1 โครงการ) เพื่อเป็นแนวทางให้กับหน่วยรับทุน หรือกองทุนอื่นๆนำไปปรับใช้ต่อไป |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ ครั้งที่ 2 จ.พัทลุง | 16 ก.ค. 2563 | 8 ส.ค. 2563 |
|
การทบทวนการใช้เว็บกองทุนตำบล ความสำคัญของแผนงาน ฝึกปฏิบัติบันทึกจากข้อมูลที่กองทุนเตรียมมาตามใบงานที่ให้ไว้ก่อนแล้ว - ข้อมูลสถานการณ์แต่ละแผนงาน (ขนาดปัญหาในแต่ละแผนงาน) - เป้าหมาย ตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลง - แนวทางสำคัญในการแก้ปัญหา - แนวทางการวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดสุขภาพ |
|
การทำแผนกองทุน เน้น 5 แผนงานหลัก (บุหรี่ เหล้า สารเสพติด อาหาร กิจกรรมทางกาย) |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนจัดทำแผนสุขภาพตำบลและทำโครงการบูรณาการสุขภาวะ จังหวัดนราธิวาส | 20 ส.ค. 2563 | 21 ส.ค. 2563 |
|
แนวทางการสร้างความร่วมมือทำงานแก้ปัญหาสุขภาพ ในพื้นที่อำเภอรือเสาะ ผ่าน พชอ.และพชต.ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น |
|
พื้นที่อำเภอรือเสาะ ผ่าน พชอ.และพชต.ผ่านกลไกกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น เกิดแผนและกิจกรรมในพื้นที่เพิ่มขึ้น |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ รุ่นที่ 1 | 24 พ.ย. 2563 | 3 ธ.ค. 2563 |
|
สาธิตการการเขียนโครงการตามลำดับ ตั้งแต่การตั้งชื่อโครงการ ชื่อองค์กร/หน่วยงาน/กลุ่มคน ที่เสนอโครงการ การกำหนดพื้นที่ดำเนินการ การเลือกความสอดคล้องกับแผนงาน การเลือกสถานการณ์ การกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย การกำหนดระยะเวลาดำเนินการ การออกแบบกิจกรรม และค่าใช้จ่ายในกิจกรรม การกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ และผลการดำเนินงานที่คาดหวัง |
|
กลุ่มเป้ามหายสามารถเขียนแผนการดำเนินงานได้ สัมฤทธิ์ผล และความเข้าใจการเชื่อมโยงของแผนงานกับโครงการ โดยแนะนำแผนงาน สถานการณ์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง และโครงการที่ควรจะทำ ตามด้วยหลักการเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ แนวทางการดำเนินงานที่มุ่งจัดการกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ |
|
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ รุ่นที่ 2 | 25 พ.ย. 2563 | 17 ธ.ค. 2563 |
|
สาธิตการการเขียนโครงการตามลำดับ ตั้งแต่การตั้งชื่อโครงการ ชื่อองค์กร/หน่วยงาน/กลุ่มคน ที่เสนอโครงการ การกำหนดพื้นที่ดำเนินการ การเลือกความสอดคล้องกับแผนงาน การเลือกสถานการณ์ การกำหนดวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย การกำหนดระยะเวลาดำเนินการ การออกแบบกิจกรรม และค่าใช้จ่ายในกิจกรรม การกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ และผลการดำเนินงานที่คาดหวัง |
|
กลุ่มเป้ามหายสามารถเขียนแผนการดำเนินงานได้ สัมฤทธิ์ผล และความเข้าใจการเชื่อมโยงของแผนงานกับโครงการ โดยแนะนำแผนงาน สถานการณ์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง และโครงการที่ควรจะทำ ตามด้วยหลักการเขียนโครงการเน้นผลลัพธ์ แนวทางการดำเนินงานที่มุ่งจัดการกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ |
|
ประชุมวางแผนเชิงปฏิบัติการพัฒนาโครงการ จ.ปัตตานี | 8 ธ.ค. 2563 | 11 ธ.ค. 2563 |
|
ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมแผนการดำเดินงานกองทุน สป.สช.ในปีงบประมาณ 2564 |
|
|
|
การประชุมเพื่อการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามประเมินคุณค่าโครงการ จ.ปัตตานี | 29 ธ.ค. 2563 | 8 ม.ค. 2564 |
|
แบ่งกลุ่มย่อยโดยให้พี่เลี้ยงจังหวัดและวิทยากรกลุ่มได้ไปแนะนำการปิดการสรุปโครงการและประเมินคุณค่าโครงการ ของปี 2562- 2563 โดย แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อยกลุ่มละ 3 กองทุน ซึ่งมีวิทยากรประกอบไปด้วย 1.นายแวเซ็ง แวสาและ วิทยากรกลุ่ม รับผิดชอบ 3 กองทุน ( กองทุนยาบี กองทุนลิปะสะโง และกองทุนคอลอตันหยง ) 2.นส.ซำซียะห์ ดือราแม วิทยากรกลุ่ม รับผิดชอบ 3 กองทุน ( กองทุนตำบลบางตาวา กองทุนตำบลดอนรัก และกองทุนตำบลเกาะเปาะ ) 3.นางพรศิริ ขันติกุลานนท์ วิทยากรกลุ่มและ รับผิดชอบ 3 กองทุน ( กองทุนตำบลบ่อทอง กองทุนตำบลปุโละปุโย และกองทุนตำบลบางเขา ) 4.นายมะรอกี เวาะเลง วิทยากรกลุ่ม รับผิดชอบ 3 กองทุน ( กองทุนตำบลตุยง กองทุนตำบลท่ากำชำ และกองทุนตำบลดาโต๊ะ ) |
|
กองทุนได้ไปดำเนินการลงระบบต่อที่ กองทุนตัวเองให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 30 มกราคม 2564 โดยมีการติดตามของ วิทยากรกลุ่มที่รับผิดชอบ และจะมีการเชิญประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าของการลงระบบอีกครั้ง ในช่วงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564 ต่อไป |
|
ประชุมวางแผน และชี้แจงวัตถุประสงค์ แนวทางการทำงานในพื้นที่ จ.ยะลา | 21 ม.ค. 2564 | 25 ม.ค. 2564 |
|
สร้างความเข้าใจการเชื่อมโยงของแผนงานกับโครงการ โดยแนะนำแผนงาน สถานการณ์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง และโครงการที่ควรจะทำ จากนั้น นายอิสมาแอ สิเดะ อฺธิบายการเขียนโครงการผ่านระบบwww.localfund.happynetwork.org) ตามด้วยหลักการเขียนโครงการเน้นการหาข้อมูลสถานการณ์ สุขภาพในพื้นที่เน้นผลลัพธ์ แนวทางการดำเนินงานที่มุ่งจัดการกับปัจจัยกำหนดสุขภาพ |
|
มีความความเข้าใจการเชื่อมโยงของแผนงานกับโครงการ โดยแนะนำแผนงาน สถานการณ์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย แนวทาง และโครงการที่ควรจะทำ |
|
ประชุมคณะทำงาน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ จ.ตรัง | 25 ม.ค. 2564 | 25 ม.ค. 2564 |
|
แผนสุขภาพชุมชน เป็นแผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชนเพื่อประชาชน เป็นกระบวนการที่ประชาชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมค้นหา ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมพัฒนาและร่วมรับผลประโชยน์โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนงานในอดีตเพื่อกำหนดอนาคต การสำรวจข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และการประเมินศักยภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชน รวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผลโดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้
|
|
เกิดหลักการคิดและปฏิบัติ
หลักคิดการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ใช้แนวคิดง่ายๆ 4 ขั้นตอนตามกรอบดังนี้
|
|
ประชุมการจัดทำข้อมูลแผนสุขภาพในระบบออนไลน์ การจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ จ.ตรัง | 2 ก.พ. 2564 | 2 ก.พ. 2564 |
|
การจัดทำแผนสุขภาพในระบบออนไลน์ และการใช้งานโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org/ |
|
เข้าใจการใช้ งานโปรแกรม https://localfund.happynetwork.org/ |
|
ประชุมการพัฒนาข้อเสนอโครงการ ประเมินผลโครงการ จังหวัดสงขลา | 11 ก.พ. 2564 | 11 ก.พ. 2564 |
|
พัฒนากลไกการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ในการทำแผน พัฒนาโครงการ และติดตาม ประเมินผลโครงการโดยดำเนินการร่วมกันของเครือข่ายสสส. สปสช. และสธ. การดำเนินการนำร่องพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยดำเนินการร่วมกับกลไกในพื้นที่ ที่มาจากเครือข่ายสสส. สปสช.และสธ.และกองทุน ฯในการพัฒนาศักยภาพของโครงการที่จะได้รับการสนับสนุนจากกองทุน ฯ และบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) |
|
เกิดพื้นที่นำร่องบูรณาการการทำงานร่วมกับคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) เกิดพื้นที่ต้นแบบการบูรณาการการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาวะในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เทศบาลเมืองคลองแห มีการทบทวนแผนงานโครงการของกองทุนสุขภาพตำบล โดยจากการชี้แจง มีแผนงานโครงการ จำนวน ทั้ง สิ้น 14 แผนงาน 1. แผนงานแรงงานนอกระบบ มี 1 โครงการ คือโครงกาส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพในกลุ่มแรงงานนอกระบบ ของ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 2.แผนงานโรคเรื้อรัง มีจำนวน โครงการ ที่เขียนเพื่อขอรับงบประมาณ จำนวน 6 โครงการ คือ 1.โครงการลดอ้วนลดพุง 2. โครงการสมุนไพรกับการป้องกันโรคความดันเบาหวาน 3.โครงการเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวานในชุมชน จำนวน 30 โครงการ 4. โครงการ 3 อ. 2 ส. กับการป้องกันโรค 3.แผนงานผู้สูงอายุ มีโครงการ ดังนี้ 1. โครงการใกล้บ้านใกล้ใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ 2.โครงการพัฒนาระบบบริการผู้สูงอายุ ทม.คลองแห 3.โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ผู้สูงอายุ 4.โครงการสดชื่นแจ่มใสแม้วัยจะเพิ่มขึ้น 5. โครงการตรวจคัดกรองความผิดปกติในสายตาผู้สูงอายุ 6. โครงการส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจในผู้สูงอายุ 7.โครงการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม 8. โครงการโรงเรียนผู้สูงวัย 4. แผนงานเสริมกิจกรรมทางกาย มีโครงการ 1.โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการเต้นแอโรบิก จำนวน 6 โครงการ 2.โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการเต้นบาสโลบ จำนวน 8 โครงการ 3.โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการเล่นเปตอง 4. โครงการโยคะเพื่อสุขภาพ 5.แผนงานอาหารและโภชนาการ มี โครงการ 1. สุขภาพดี เริ่มต้นด้วยอาหา ร 2.โครงการ 3 อ.2 ส. กับการป้องกันโรค 3. โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 6. แผนงานระชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง มีโครงการ 1.โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย 2.โครงการรณรงค์และป้องกันโรคเอดส์ในชุมชน 3.โครงการรู้เท่าทันเอดส์ ปี 2563 4.โครงการเฝ้าระวังและควบุคมโรคไข้เลือดออกในชุมชน จำนวน 35 โครงการ 5.โครงการเฝ้าระวังและควบคุมไข้เลือดออกในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองนายขุ้ย เทศบาลเมืองคอหงส์ มีการทบทวนและเพิ่มเติมแผนงาน ในประเด็น 1.แผนโรคเรื้อรัง มีการเขียนแผนงงานและโครงการเฝ้าระวังป้องกีนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน รวมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 15 โครงการ 2.แผนงานประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีการเขียนแผนงานโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน จำนวน 15 โครงการ 3.แผนงานกิจกรรมทางกาย มีการจัดทำแผนงานโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการเต้นบาสโลบ จำนวน 4 โครงการ 4.แผนงานผู้สูงอายุ มีแผนงานโครงการ ผู้สูงวัยอยู่อย่างไร้ความเหงา โครงการส่งเสริมสุขภาพกายจิตในผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองบ้านพรุ 1.แผนโรคเรื้อรัง มีการเขียนแผนงงานและโครงการเฝ้าระวังป้องกีนกลุ่มเสี่ยงโรคความดันเบาหวาน รวมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน 14 โครงการ 2.แผนงานประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีการเขียนแผนงานโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน จำนวน 12 โครงการ การป้องกันอุบัติเหตในชุมชน โดยการอบรมแกนนำจราจรในชุมชนและโรงเรียน 3.แผนงานกิจกรรมทางกาย มีการจัดทำแผนงานโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยการเต้นบาสโลบ จำนวน 3 โครงการ 4.แผนงานผู้สูงอายุ มีแผนงานโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ 5. แผนงานเด็กและเยาวชน ศูนย์พัฒาเด็กเล็กฟันดี การส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก |
|
การประชุมติดตามความก้าวหน้าและสรุปภาพรวมการดำเนินงาน โครงการในกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เขต 12 สงขลา | 22 ก.พ. 2564 | 8 มิ.ย. 2564 |
|
. |
|
. |
|
ประชุมติดตามการประเมินคุณค่าโครงการ จังหวัดปัตตานี | 25 ก.พ. 2564 | 1 มี.ค. 2564 |
|
ติดตามผลการสรุปโครงการและประเมินคุณค่าโครงการ จากเว้ปไซต์กองทุนตำบล |
|
เพื่อติดตามสรุปการปิดโครงการและประเมินคุณค่าโครงการ ของ
ปี 2563 โดย แบ่งเป็น 4 กลุ่มย่อยกลุ่มละ 3 กองทุน ซึ่งมีวิทยากรประกอบไปด้วย
1.นายแวอูเซ็ง แวสาและ วิทยากรกลุ่ม รับผิดชอบ 3 กองทุน ( ยาบี ลิปะสะโง คอลอตันหยง )
2.นส.ซำซียะห์ ดือราแม วิทยากรกลุ่ม รับผิดชอบ 3 กองทุน ( บางตาวา ดอนรัก เกาะเปาะ )
3.นางพรศิริ ขันติกุลานนท์ วิทยากรกลุ่มและ รับผิดชอบ 3 กองทุน ( บ่อทอง ปุโละปุโย บางเขา )
4.นายมะรอกี เวาะเลง วิทยากรกลุ่ม รับผิดชอบ 3 กองทุน ( ตุยง ท่ากำชำ ดาโต๊ะ )
หลังจากวิทยากรกลุ่มได้ติดตามการดำเนินงานในเว๊ปไซด์แล้ว สามารถสรุปผลการดำเนินงาน
ได้ตามเอกสารที่แนบมาด้วย ( เอกสารที่ 1 ) และสรุปแลกเปลี่ยน ซักถามประเด็นข้อสงสัย |
|
ประชุมติดตามสนับสนุนการดำเนินโครงการในพื้นที่จังหวัดสตูล | 11 มี.ค. 2564 | 20 มี.ค. 2564 |
|
|
|
ทุกกองทุนมีความตั้งใจที่จะทำงานแต่ด้วยเนื้อหาปัญหาที่มาของข้อมูลที่จะบันทึกในแผน และรูปแบบโครงการที่หลากหลายกิจกรรม ทำให้ระยะเวลาเพียง 1 วัน ไม่สามารถดำเนินการให้เสร็จสิ้น สมบูรณ์ได้ 100 เปอร์เซ็นต์ จากการจัดประชุมและให้มีพี่เลี้ยงประกบคู่แต่ละ กองทุน ทำให้หลาย กองทุนฯ มีความสมบูรณ์ของแผนมากขึ้น และสามารถพัฒนาโครงการได้ มีความเข้าใจเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการทำงานมากขึ้นกว่าเดิม คิดเป็นร้อยละ 90 และทำต่อไป คือการติดตามการทำงานของกองทุน โดยใช้กลไกพี่เลี้ยงเข้าไปช่วยเหลือและติดตาม |
|
ประชุมการเขียน/การบันทึก และการติดตามรายงานผลโครงการผ่านเว็บไซต์ จ.พัทลุง | 16 มี.ค. 2564 | 30 เม.ย. 2564 |
|
รายงานผลการติดตามแผนงาน/โครงการผ่านเว็บ การเขียน/การบันทึก และการติดตามรายงานผลโครงการผ่านเว็บ นำเสนอแผนงานโครงการและข้อมูลสุขภาพตำบลควนขนุนต่อคณะกรรมการ พชอ. |
|
|
|
ประชุมนำเสนอแผนงานโครงการและข้อมูลสุขภาพตำบลควนขนุนต่อคณะกรรมการ พชอ. จ.พัทลุง | 9 เม.ย. 2564 | 30 เม.ย. 2564 |
|
การจัดทำแผนงาน โครงการ ที่มีคุณภาพ โดยใช้เวบไซต์ https://localfund.happynetwork.org/ และเน้นแผนงาน 5 แผนงาน |
|
การดำเนินโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะระดับพื้นที่
ผลผลิตและผลลัพธ์ตามโครงการ |
|
ประชุมการสรุปผลโครงการ ปฏิบัติการทบทวนความสมบูรณ์ จังหวัดสงขลา | 23 เม.ย. 2564 | 10 ก.ค. 2564 |
|
ทบทวนแผนงานกองทุนฯ และพัฒนาโครงการในระบบกองทุนตำบล แนะนำการประเมินโครงการผ่านระบบ website กองทุนสุขภาพตำบล ถอดบทเรียนการทำงานกองทุนฯขนาดใหญ่ในโรงการสุขภาวะ |
|
ให้ความรู้แก่กลุ่มโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. 2ส. ได้แก่ อาหาร อารมณ์ การออกกำลังกาย ไม่สูบบุหรี่ และไม่ดื่มสุรา และส่งต่อกลุ่มเสี่ยงให้อาสาสมัครสาธารณสุขเฝ้าระวัง ดูแลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น และสำหรับผู้รับบริการที่ตรวจพบเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ได้ส่งต่อพบแพทย์เพื่อรับการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์ต่อไป
ผลสำเร็จโครงการ
1. ผลสำเร็จเชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด 479 คน ผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 475 คน ผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 479 คน |
|
ประชุมติดตามการดำเนินงานกอง ทุนตำบล ปี 2564 ครั้งที่ 1 จ.ปัตตานี | 27 พ.ค. 2564 | 27 มิ.ย. 2564 |
|
ติดตามตรวจสอบแผนงานที่ 8- 14 ปี 64 จากเว้ปไซต์กองทุนตำบล |
|
1.กองทุนตำบลที่ดำเนินงานและใช้งบประมาณเกิน 70 % ได้แก่ กองทุนตำบลตุยง 83.84 % กองทุนตำบล
3.กองทุนตำบลที่มีแผนงานอาหารและโภชนาการ ปี 64 ยังไม่สมบูรณ์ คือกองทุนตำบลเกาะเปาะ กองทุนตำบลท่ากำชำ และกองทุนตำบลคอลอตันหยง ส่วนกองทุนตำบลอื่นๆ มีแผนงานที่เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว 4.กองทุนตำบลที่มีแผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 64 ยังไม่สมบูรณ์คือกองทุนตำบลบางเขา และ กองทุนตำบลท่ากำชำ ส่วนกองทุนตำบลอื่นๆ มีแผนงานที่เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว 5.กองทุนตำบลที่มีแผนงานบุหรี่ ปี 64 ยังไม่สมบูรณ์คือกองทุนตำบลบางเขา และ กองทุนตำบลคอลอตันหยง 6.กองทุนตำบลที่มีแผนงานยาเสพติด ปี 64 ยังไม่สมบูรณ์คือกองทุนตำบลบางเขาและ กองทุนตำบลคอลอตันหยง ส่วนกองทุนตำบลอื่นๆ มีแผนงานที่เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว 7.กองทุนตำบลที่มีแผนงานเหล้า ปี 64 ไม่มีกองทุนตำบลใดมีแผนงานดังกล่าว 8.คุณภาพโครงการที่ผ่านการอนุมัติ ทุกกองทุนตำบลมีกิจกรรมในโครงการมากกว่า 3-4 กิจกกรม |
|
ประชุมปรับปรุงความสมบูรณ์แผนสุขภาพ โครงการด้านสุขภาพเตรียมความพร้อมจัดทำแผนยุทธศาสตร์สุขภาพระดับอำเภอ จ.สตูล | 18 มิ.ย. 2564 | 1 ก.ค. 2564 |
|
ปฏิบัติการจัดทำแผนงานกองทุน 5 แผนงานประกอบด้วย |
|
แผนงานกองทุน 5 แผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย
แผนงานอาหารและโภชนาการ
แผนงานเหล้า |
|
ประชุมติดตามการดำเนินงานกอง ทุนตำบล ปี 2564 ครั้งที่ 2 จ.ปัตตานี | 29 มิ.ย. 2564 | 10 ก.ค. 2564 |
|
การดำเนินงานกองทุนตำบลร่วมกับแผนงาน พชอ.อำเภอหนองจิก ตรวจสอบแผนงานที่ 1 - 14 ปี 64 จากเว้ปไซต์กองทุนตำบล |
|
การดำเนินงานกองทุนตำบลร่วมกับแผนงาน พชอ.อำเภอหนองจิก |
|
ประชุมการถอดบทเรียนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 12 สงขลา ครั้งที่ 1 | 3 ก.ค. 2564 | 10 ก.ค. 2564 |
|
อดบทเรียนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ การดำเนินงานทั้งหมด โดยเริ่มในจุดเริ่มต้น เรื่อง "จุดกำเนิดแผนสุขภาพของเรา" |
|
เกิดผลการวิเคราะห์ ประบวนการทำงาน และผลของการปฏิบัติงาน แผนสุขภาพในแต่ละพื้นที่ ต่อยอดด้วยประเด็น
การใช้ประโยชน์แผนสุขภาพฯ |
|
ประชุมการถอดบทเรียนโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะ เขต 12 สงขลา ครั้งที่ 2 | 8 ก.ค. 2564 | 10 ก.ค. 2564 |
|
การใช้ประโยชน์แผนสุขภาพฯ |
|
เกิดผลการวิเคราะห์ ในภาพแต่ละกองทุน เพื่อเก็บประเด็นในชุดการถอดบทเรียนต่อไป |
|