task_alt

โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการขับเคลื่อนยุทธ์ศาสตร์ข้าวอินทรีย์ จ.พัทลุง

ชุมชน จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 59-ข-029

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2559 ถึง 30 มิถุนายน 2560

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2559 ถึงเดือน กันยายน 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเตรียมวางแผนกาขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์

วันที่ 18 มิถุนายน 2559 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เตรียมแผนการขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ระดับจังหวัด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้หัวข้อในการจัดเวที

  1. การวิจัยพัฒนา
  2. การบริหารดินและน้ำ
  3. การจัดการมาตรฐานเกษตร
  4. การสร้างมูลค่าเพิ่มและการจัดการตลาด
  5. การรวมกลุ่ม
  6. การพัฒนายกระดับแหล่งเรียนรู้
  7. การพัฒนานโยบายท้องถิ่น โดยแบ่งเป็น 3 โซน เหนือ กลาง ใต้ เวทีประมาณ 50-70 คน โดยมีผู้เกี่ยวข้องในหลายส่วน ทั้งชาวนา เจ้าของกิจการ วิสาหกิจ กลุ่มธุรกิจ หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

แผนการขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ระดับจังหวัด

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 12

2. ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมเวทีรับฟังความคิดเห็นระดับอำเภอ

วันที่ 28 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เตรียมเวทีรับฟังความคิดเห็น

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

  • ฝ่ายเวทีและกิจกรรม รับผิดชอบโดย คุณจิ้มและคุณเสณี
  • ฝ่ายข้อมูล รับผิดชอบโดยคุณนัท
  • ฝ่ายลงทะเบียนและหนังสือเชิญรับผิดชอบโดย คุณจอย
  • ฝ่ายบันทึกข้อมูลและภาพ รับผิดชอบโดยเจ้าหน้าที่สภาเกษตร
  • ฝ่ายต้อนรับ รับผิดชอบโดยคุณสุทธิชัย ผู้รับผิดชอบโครงการ กล่าวความเป็นมาของโครงการและกล่าวรายงานต่อประธาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

แบ่งหน้าที่รับผิดชอบและชี้แจงงบประมาณ รวมทั้งกิจกรรมที่ต้องทำตลอดโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

10 7

3. จัดทำ Mapping สถานการณ์ข้าวเคมี และข้าวอินทรีย์

วันที่ 30 มิถุนายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ทำ mapping ข้อมูล

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • เรียนรู้การบูรณาการเพื่อสร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและความปลอดภัย
  • ความต้องการของผูู้ให้ทุน (สจรส.) คือต้องการข้อมูลเพื่อนำไปผลักดันเป็นยุทธศาสตร์
  • เรียนรู้หลักการจัดการงบประะมาณของ สจรส.

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำ Mapping พื้นที่ปลูกข้าว

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 6

4. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนกลาง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้าน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประเด็นต้นน้ำ ปัจจัยการผลิต ดิน น้ำ พันธุ์ ทรัพยากรทางเกษตร มาตรฐต้นน้ำ
  2. ประเด็นกลางน้ำ การเก็บเกี่ยวรวบรวมผลผลิต ขนส่ง โกดัง แปรรูปขั้นต้น มาตราฐานกลางน้ำ
  3. ประเด็นปลายน้ำ การบรรจุหีบห่อ ตลาด Branding มาตรฐานปลายน้ำ

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

50 0

5. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปการจัดเวทีรับฟังความคิดเห็น

วันที่ 4 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

สรุปข้อมูลและเตรียมเวทีโซนเหนือ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของคณะทำงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

10 5

6. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนเหนือ

วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อรับฟังความคิดเห็นของชาวบ้าน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประเด็นต้นน้ำ ปัจจัยการผลิต ดิน น้ำ พันธุ์ ทรัพยากรทางเกษตร มาตรฐต้นน้ำ
  2. ประเด็นกลางน้ำ การเก็บเกี่ยวรวบรวมผลผลิต ขนส่ง โกดัง แปรรูปขั้นต้น มาตราฐานกลางน้ำ
  3. ประเด็นปลายน้ำ การบรรจุหีบห่อ ตลาด Branding มาตรฐานปลายน้ำ

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

50 0

7. ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปเวทีโซนเหนือ

วันที่ 12 กรกฎาคม 2559 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

สรุปเวทีโซนเหนือและเตรียมเวทีโซนใต้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของคณะทำงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 5

8. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์โซนใต้

วันที่ 21 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อแสดงความคิดเห็นจัดทำแผนงานการขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ให้เป็นแผนยุทธศาสร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

แบ่งกลุ่มย่อย 2 กลุ่ม เพื่อร่วมเสนอ วิธีการหาแนวร่วมในการเพิ่มพื้นที่และผลผลิต 1. ทำอย่างไรที่จะชวนคนที่ยังไม่คิดยังไม่เริ่มมาร่วม 2. ทำอย่างไรให้กลุ่มคนที่ทำอยู่แล้วทำมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • ลงทะเบียน (พิธีกรแนะนำผู้เข้าร่วม)
    -บอกเล่าวัตถุประสงค์ของเวทีระดมความคิดเห็น โดย นายเสณี จ่าวิสุทธิ -เปิดเวทีระดมความคิดเห็นโดย นายอนุรัฐ ไทยตรง รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง -ภาพใหญ่ของร่างยุทธศ่าสตร์ -แบ่งกลุ่มย่อย ๓ กลุ่มย่อย ๑) กลุ่มต้นน้ำ ๒) กลุ่มกลางน้ำ
    และ ๓) กลุ่มปลายน้ำ
    -ระดมประเด็นร่วม แลกเปลี่ยน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ลงทะเบียนและแจกเอกสารประกอบผู้เข้าร่วมได้ศึกษา
  2. ดำเนินรายการชี้แจ้งที่มาโดย นายเสณี จ่าวิสูตร ได้เล่าถึงวัตถุประสงค์ของเวที ว่าต้องการให้ผู้เข้าร่วมได้มีส่วนร่วมในการออกแบบยุทธศาสตร์การทำนาอินทรีย์ของคนพัทลุงเพื่อเข้ากำหนดเป็นยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบและผลักดันให้เกิดการทำนาอินทรีย์ และให้ผู้เข้าร่วมได้แนะนำตนเอง
  3. เวทีเปิดเมื่อเวลา 9.30 น. โดย รองผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง นายอนุรัฐ ไทยตรง ทบทวนวิสัยทัศน์จังหวัดพัทลุง เกษตรยั่งยืนท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และคุณภาพชีวิตที่ดีสถานการณ์พัทลุงนั้นพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรยั่งยืนยังน้อยอยู่ภาคส่วนต่างขับเคลื่อนอย่างไรให้มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ส่วนของผู้บริโภคมีกระแสของการดูแลสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม บริโภคผลผลิตจากระบบเกษตรอินทรีย์การขับเคลื่อนตั้งแต่ต้นน้ำกลางน้ำ ปลายน้ำเพื่อให้ชาวนามีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดของไทยหลายจังหวัดเขาเคลื่อนมาก อย่างยโสฯก็เคลื่อนมาให้เป็น 100000 ไร่ ที่จังหวัดอื่นเขาก็ขับมากเพราะคนอยากกินข้าวอินทรีย์ ตอนผมอยู่ที่หนองคาย ฝรั่งเขาเข้ามาถามผมว่าอยากกินข้าวอินทรีย์ กินผักปลอดภัยจะหาซื้อได้ที่ไหน ก็แนะนะว่าโรงพยาบาลอำเภอน่าจะมี หรือไปหาแถวร้านดอยคำ ฝรั่งเขากลัวมากเรื่องเคมี เขาบอกว่าคนไทยไม่น่าใส่ปุ๋ยสารเคมีมากขนาดนี้ บ้านเขาใช้น้อยมาก
  4. นายเทพรัตน์ จันทพันธุ์ ผอ.วิทยาลัยภูมิปัญญา ได้นำเสนอให้ผู้เข้าร่วมเห็นความสำคัญที่ต้องผลักดันการการนาอินทรีย์ ว่ามีความสำคัญในหลายด้าน และแนวโน้มของตลาดจะมีกว้างขึ้น รวมทั้งเสนอให้เห็นถึงการเคลื่อนงานของวิทยาลัยภูมิปัญญาที่ได้ทำงานกับหลายภาคส่วนเพื่อที่จะผลักดันในเรื่องนี้ ภาพรวมข้าวอินทรีย์มี 2 ส่วนที่ต้องร่วมกัน คือ 1) หน่วยงานซึ่งที่ผ่านมาก็มีท่านรองผู้ว่ามาเป็นหลัก มาร่วมทุกเวที มีหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องก็คือเกษตรจังหวัด เกษตรสหกรณ์จังหวัด เป็นต้น 2) ภาคเอกชน ต้องมาช่วยกันคิดในเรื่องเทคโนโลยีใหม่ๆ ต้องคิด start up คือให้มองว่าตัวเล็กๆ สามารถเปลี่ยนแปลงโลกได้
  5. หัวหน้าสนง.เกษตรสหกรณ์จังหวัดพัทลุงได้มาเสนอสิ่งที่หน่วยงานกำลังวางแผนและดำเนินการ บอกว่าในปัจจุบันกำลังทำชวนเข้าร่วมงานตลาดปลอดสารพิษ วันที่ 25 กรกฎาคม2559ณ บนถนนหน้าสำนักงานเกษตร
  6. ช่วงต่อมาเป็นการแบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อยเพื่อร่วมเสนอวิธีการหาแนวร่วมในการเพิ่มพื้นที่และผลผลิต โดย
    • ทำอย่างไรที่จะชวนคนที่ยังไม่คิดยังไม่เริ่มมาร่วม
    • ทำอย่างไรให้กลุ่มคนที่ทำอยู่แล้วทำมากขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  7. วงใหญ่ นำเสนอผลการแลกเปลี่ยนกลุ่มย่อยและแลกเปลี่ยนเพิ่มเติม สรุปการประชุม ปิด

 

50 0

9. ประชุมเตรียมงานรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่

วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อพัฒนาแผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ประเด็นกลไกการทำงาน
    • ให้มีตัวแทนชาวนาเกษตรอินทรีย์อยู่ในคณะกรรมการร่วมภาครัฐเอกชน (ตัวแทน กรอ.)
  2. งานรณรงค์ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
  3. โมเดลกองทุน (สร้างแรงจูงใจ) ที่มา (เงินมาจากไหน)
    • ลงขันร่วมกันระหว่าง 4 เส้า รัฐ เอกชน ท้องถิ่น ชุมชน(หารือว่ารูปแบบควรเป็นอย่างไร)
    • ภาษีรังนก 30% โดยเสนอเป็นการใช้กองทุนสิ่งแวดล้อม เพราะการทำนาอินทรีย์ เป็นการดูแลสิ่งแวดล้อม นกมีอาหารกิน
    • สปสช. ระดับตำบล (กำหนดแผนเพื่อเสนอให้ผู้ที่จะทำนาเกษตรอินทรีย์ได้ใช้เงินก้อนนี้)
  4. งานวิจัยการตลาด แปรรูป
  5. ให้มี กรรมการข้าวระดับจังหวัดที่ดูภาพรวมการจัดการข้าวระดับจังหวัด ทั้งในเรื่องการผลิต การตลาด งานวิจัย การตรวจสอบมาตรฐาน ติดตามประเมินผลโครงการต่างๆ และเชื่อมโยงคณะกรรมการ กรอ. และคณะกรรมการข้าวระดับชาติ
  6. เสนอให้หน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัดที่มีบทบาทในการทำงานวิจัย เช่น สวพ. ศูนย์วิจัยและพัฒนาเขต 8 ศูนย์วิจัยข้าว ม.ทักษิณ วิทยาลัยเกษตร วิทยาลัยการอาชีพ ทำยุทธศาสตร์หรือแผนส่งเสริมการวิจัยข้าวอินทรีย์ครบวงจร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ชี้แจงทำความเข้าใจที่มาของโครงการ
  2. ขี้แจงกลไกการทำงาน
  3. งานรณรงค์ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
  4. โมเดลกองทุน (สร้างแรงจูงใจ)

กิจกรรมที่ทำจริง

ประเด็นการสร้างพื้นที่นาแปลงใหญ่

  • ให้เป็นเกษตรที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน 1,000 ไร่(ในปีแรก) เพิ่มขึ้นประมาณ 20 %จากของเดิม
  • การทำนาแบบปลอดภัยหรือปรับเปลื่ยน (GAP) 3,000 ไร่
  • เงื่อนไขสนับสนุน 2,000 บาทต่อไร่
  • กลไกการสนับสนุนปัจเจก

ประเด็นการสร้างการเรียนรู้

  • แหล่งเรียนรู้ ตามระบบนิเวศน์ กับการจัดการที่ดี (Model กลุ่มและปัจเจก)
  • โรงเรียนชาวนา 11 โรงทั่วจังหวัด เป็นชาวนารุ่นใหม่
  • ปราชญ์ชาวนา

 

50 60

10. ประชุมรับฟังความคิดเห็นแนวทางการจัดการข้าวอินทรีย์ เวทีใหญ่

วันที่ 8 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อปรึกษารูปแบบการสนับสนุนชาวนา แบบปัจเจก หารือโมเดลกองทุน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประเด็นสร้างที่นาแปลงใหญ่ ให้เป็นเกษตรที่ผ่านการรับรองมาตราฐาน 1000 ไร่ ในปีแรก เพิ่นปริมาณ 20% ของเดิม การทำนาแบบปลอดภัย หรือปรับเปลื่ยน(GAP) 3000ไร่ เงื่อนไขสนับสนุน 2000 บาท ต่อไร่ กลไกลการสนับสนุนปัจเจก
  2. ประเด็นการสร้างการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู็ตามระบบนิเวศกับการจัดการที่ดี โรงเรียนชาวนา 11 โรงเรียนทั่วจังหวัด ปราชญ์ชาวนา

กิจกรรมที่ทำจริง

 

 

50 0

11. ประชุมคณะทำงานทำแผนยุทธศาสตร์

วันที่ 9 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เขียนแผนยุทธศาสตร์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

แผนยุทธศาตร์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เขียนแผนยุทธศาสตร์

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 5

12. ประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำแผนโครงการเสนอยุทธศาสตร์ จ.พัทลุง

วันที่ 10 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เขียนแผนยุทธศาสตร์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เขียนแผนยุทธศาสตร์

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 10

13. ประชุมเสนอโครงการเข้าแผนยุทธศาสตร์เกษตรของ จ.พัทลุง

วันที่ 11 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เสนอยุทธศาสตร์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดเพื่อกำหนดยุทธศาสตร์พัทลุงและเสนอแผนนาอินทรีย์ให้เป็นแผนงบประมาณ ปี 2561-2564 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

กำหนดยุทธศาสตร์พัทลุงและเสนอแผนนาอินทรีย์

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 4

14. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 15 สิงหาคม 2559 เวลา 9:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

แผนงานยุทธศาสตร์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหรกรรมค่อเนื่องจากการเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

นำแผนเข้ารายละเอียดตามแผนงานยุทธศาสตร์จังหวัด (ยุทธศาสตร์ที่ 1)

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

5 2

15. นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุม ทีมเศรษฐกิจและสังคม

วันที่ 16 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุมทีมเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

นำแผนนาอินทรีย์เสนอเข้าพิจารณาวาระพิเศษของการประชุมทีมเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

5 3

16. ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการปรับกิจกรรมเพื่อทำแผนยุทธศาสตร์

วันที่ 17 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ปรับยุทธศาสตร์ 1 และ 3 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์ 1 ชี้แจงเรื่องการปรับแผนงานโครงการ จัดกลุ่มกิจกรรมด้านเกษตรให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน มีการเสนอเพิ่มเติมในส่วนของแผนงานที่ขาด 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ชี้แจงการปรับ work sheet แผนและการปรับยุทธศาสตร์ 1 และ 3 

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

5 3

17. ประชุมคณะทำงานรวบรวมข้อมูลจัดทำ Project brief

วันที่ 18 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดทำโครงการแบบย่อ (Project brief)

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

โครงการย่อย 8 โครงการ

  1. โครงการสนับสนุนและการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์
  2. จัดทำปุ๋ยอินทรีย์ผ่านมาตรฐานรับรองให้ใช้ในแปลงเกษตรอินทรีย์ 4,000 ตัน
  3. ปรับปรุงพื้นที่นาให้เหมาะสมเพื่อทำนาอินทรีย์
  4. โครงการสนับสนุนปัจจัยการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อเกษตรกรรายย่อย 2,000 บาท ต่อไร่
  5. จัดซื้อเครื่องบรรจุภัณฑ์ เครื่องซีลสูญญากาศ เครื่องมือแปรรูปผลิตภัณฑ์
  6. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาหลักสูตรและเชื่อมโยงสู่โรงเรียนเกษตร
  7. จัดทำศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงครบวงจร (อุทยานการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ข้าวและชาวนาพัทลุง)
  8. โครงการวันข้าวและชาวนาพัทลุง 24 กันยายนของทุกปี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ระดมความคิดจัดทำ Project brief

กิจกรรมที่ทำจริง

รวบรวมข้อมูลจากคณะทำงาน

 

20 8

18. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 19 สิงหาคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดทำโครงการย่อย (Project brief) 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

โครงการย่อย 8 โครงการ

  1. โครงการสนับสนุนและการพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวอินทรีย์
  2. จัดทำปุ๋ยอินทรีย์ผ่านมาตรฐานรับรองให้ใช้ในแปลงเกษตรอินทรีย์ 4,000 ตัน
  3. ปรับปรุงพื้นที่นาให้เหมาะสมเพื่อทำนาอินทรีย์
  4. โครงการสนับสนุนปัจจัยการผลิตข้าวอินทรีย์ต่อเกษตรกรรายย่อย 2,000 บาท ต่อไร่
  5. จัดซื้อเครื่องบรรจุภัณฑ์ เครื่องซีลสูญญากาศ เครื่องมือแปรรูปผลิตภัณฑ์
  6. ส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาหลักสูตรและเชื่อมโยงสู่โรงเรียนเกษตร
  7. จัดทำศูนย์การเรียนรู้เกษตรอินทรีย์จังหวัดพัทลุงครบวงจร (อุทยานการเรียนรู้พิพิธภัณฑ์ข้าวและชาวนาพัทลุง)
  8. โครงการวันข้าวและชาวนาพัทลุง 24 กันยายนของทุกปี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำโครงการย่อยต่อ 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำโครงการย่อยต่อ 

 

10 2

19. การประชุมโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง และ การเตรียมงานสร้างสุขกับทาง สจรส.

วันที่ 29 สิงหาคม 2559 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

แบ่งภาระหน้าที่การทำงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ท่านประธานแจ้งเรื่อง คำสั่งคณะกรรมการจัดทำแผ่นแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงให้ทาง สจรส. ทราบ ซึ่งลงรายละเอียดว่ามีทั้งหมด 3 ชุด คณะทำงาน ได้แก่

- ชุดคณะอนุกรรมการจัดทำฐานข้อมูลการผลิตข้าวอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุง - ชุดคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ - ชุดคณะกรรมการอนุกรมขับเคลื่อนแผนแม่บทข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุง 2. เรียนแจ้งถึงความเป็นมาที่จัดตั้งขึ้นร่วมไปถึงการทำงานก่อนจะมี      ทีม สจรส. เข้ามาให้ความร่วมมือ และได้แนะนำคณะกรรมการชุดเล็กให้กับ      ทีม สจรส. ทราบโดยในที่ประชุมยังให้เกียรติเรียนเชิญ ท่านผู้ใหญ่ นัด อ่อนแก้ว เป็นที่ปรึกษาของทีมอีกหนึ่งท่าน โดยมีรายชื่อดังนี้
กรรมการในโครงการวิจัยโครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์ร่วมกับ สจรส. คณะที่ปรึกษา 1. นายเทพรัตน์ จันทพันธ์    ประธานที่ปรึกษา 2. นายเทอด นมรักษ์          ที่ปรึกษา 3. นายสมคิด สงเนียม          ที่ปรึกษา 4. นายสำเริง แซ่ตัน            ที่ปรึกษา 5. นาย นัด อ่อนแก้ว          ที่ปรึกษา คณะทำงาน 1. ดร. เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์              ประธานคณะทำงาน 2. นาย เสณี จ่าวิสูตร                  กรรมการ 3. นางสาว เบญจวรรณ บัวขวัญ      กรรมการ 4. นาย สุทธิชัย กาฬสุวรรณ          กรรมการ 5. นาย อำมร สุขวิน                    กรรมการ 6. นายอำนาจ เกตุขาว                กรรมการ 7. นางสาว ธิดา คงอาษา              กรรมการ 8. นางสาว เบญจวรรณ เพ็งหนู      กรรมการ 9. นางสาว จุฑาธิป ชูสง              กรรมการ 10. นาง นทกาญจน์ อัพภาสกิจ        เลขานุการ 11. นางสาว สุจิวรรณ พวงพริก        ผู้ช่วยเลขานุการ 3. ท่านประธานเรียนแจ้งแผนการประชุมประจำเดือนทุกวันศุกร์สุดท้ายของเดือน จนสิ้นสุดโครงการตั้งแต่เดือนกันยายน 2559 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ 2560

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ชี้แจงถึงชุดคณะทำงาน ภายรวมโครงการ รวมไปถึงการแบ่งภาระหน้าที่การทำงานตามหัวข้อโครงการ และการเตรียมความพร้อมงานสร้างสุขกับทาง สจรส. 

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

25 0

20. จัดนิทรรศการงานสร้างสุข ธีม การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร

วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดนิทรทศการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

0 0

21. ประชุมคณะทำงานระดมความเห็นทำ Project idea

วันที่ 2 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดทำแบบสรุปโครงการแบบย่อ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้แบบสรุปโครงการแบบย่อ 2 ยุทธศาสตร์

  1. การเพิ่มขีดความสามารถภาคเกษตร อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากการเกษตรและผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น กลยุทธ์ แผงานสร้างเมืองลุงให้เป็นเมืองเศรษฐกิจทางการเกษตร โดยแบ่งเป็น 2 โครงการ
    • โครงการยกระดับภูมิปัญญาชาวนาสู้โรงเรียนเกษตรกรอินทรีย์
    • โครงการพัฒนาผลิตข้าวอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุง
  2. พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์พร้อมดำเนินโครงการทันที กลยุทธ์ พัฒนาข้าวพื้นเมืองปลอดภัยและได้มาตรฐาน (GAP) และอินทรีย์
    • มหกรรมวันข้าวและชาวนาพัทลุง (24 กันยายนของทุกปี )

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำแบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project idea)

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

10 0

22. ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด

วันที่ 5 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เขียนโครงการเสนอจังหวัด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

โครงการเสนอจังหวัด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของคณะทำงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 13

23. ระดมความเห็นเขียนโครงการเสนอจังหวัด

วันที่ 6 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เขียนโครงการเสนอจังหวัด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของคณะทำงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 0

24. ระดมความเห็นเสนอโครงการจังหวัด

วันที่ 7 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เขียนโครงการเสนอจังหวัด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของคณะทำงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

20 0

25. ประชุมเตรียมงานสร้างสุขภาคใต้

วันที่ 12 กันยายน 2559 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

แบ่งหน้าที่ัรับผิดชอบในงานสร้างสุขภาคใต้ และชี้แจงรายละเอียดในงานสร้างสุขภาคใต้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ท่านประธาน (คุณสุทธิชัย) ชี้แจงรายละเอียดเรื่องธีมที่ใช้ในการจัดนิทรรศการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลควนรู อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา ในหัวข้อ "ความมั่นคงทางด้านอาหาร : การจัดการข้าวอินทรีย์แบบครบวงจร" ชี้แจงกำนดการงานเสวนาในห้องย่อย "ความมั่นคงทางด้านอาหาร : แกะรอยข้าวใต้ ใครทำ ใครกิน" และแจ้งในที่ประชุมเรื่องจำนวนผู้เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้โดยต้องส่งชื่อ ที่อยู่ เลขบัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์ และอาหาร ภายในวันที่ 15 กันยายน 2559 รวมทั้งรายละเอียดการเดินทาง การเบิกจ่ายและที่พักสำหรับผู้ที่จัดนิทรรศการ ท่านประธานได้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 1. หน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ฉากหลัง รับผิดชอบโดย คุณสุทธิชัย 2. หน้าที่คนออกแบบและคนทำกล่องเพื่อแสดงสินค้า รับผิดชอบโดยคุณสุทัศน์ 3. หน้าที่เตรียมวัสดุสำหรับทำเวที รับผิดชอบโดย คุณผาณิต 4. หน้าที่ติดต่อและเตรียมข้าว 40 สายพันธุ์ รับผิดชอบโดย อ.ดร.เชิดศักดิ์
5. หน้าที่ประสานและเตรียมกระสอบนั่งสำหรับใส่ข้าวสาร รับผิดชอบโดยคุณผานิต 6. หน้าที่ประสานงานรถและขนย้ายอุกปรณ์ รับผิดชอบโดย อ.ดร.เชิดศักดิ์
7. หน้าที่จัดและเฝ้านิทรรศการ คณะทำงาน 8. หน้าที่การเพาะข้าว รับผิดชอบโดย คุณผานิต 9. หน้าที่เตรียมอุปกรณ์การทำนา รับผิดชอบโดย อ.เทพรัตน์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ประชุมคณะทำงานแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการเตรียมงานสร้างสุขและแบ่งหน้าที่ในงานสร้างสุข 1. หน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ฉากหลัง 2. หน้าที่คนออกแบบและคนทำกล่องเพื่อแสดงสินค้า 3. หน้าที่เตรียมวัสดุสำหรับทำเวที 4. หน้าที่เตรียมข้าว 40 สายพันธุ์
5. หน้าที่ประสานและเตรียมกระสอบนั่งสำหรับใส่ข้าวสาร 6. หน้าที่ประสานงานรถและขนย้ายอุกปรณ์
7. หน้าที่เตรียมและเฝ้านิทรรศการ 8. หน้าที่การเพาะข้าว 9. หน้าที่เตรียมอุปกรณ์การทำนา

กิจกรรมที่ทำจริง

ประธานประชุมเพื่อแบ่งหน้าที่โดยมีหน้าที่ดังนี้
1. หน้าที่เตรียมวัสดุอุปกรณ์ฉากหลัง 2. หน้าที่คนออกแบบและคนทำกล่องเพื่อแสดงสินค้า 3. หน้าที่เตรียมวัสดุสำหรับทำเวที 4. หน้าที่เตรียมข้าว 40 สายพันธุ์
5. หน้าที่ประสานและเตรียมกระสอบนั่งสำหรับใส่ข้าวสาร 6. หน้าที่ประสานงานรถและขนย้ายอุกปรณ์
7. หน้าที่เตรียมและเฝ้านิทรรศการ 8. หน้าที่การเพาะข้าว 9. หน้าที่เตรียมอุปกรณ์การทำนา 

 

20 14

26. ประสานงาน สจรส.

วันที่ 30 กันยายน 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ส่งเอกสารการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานของคณะทำงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

1 1

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม                    
การใช้จ่ายงบประมาณ 400,000.00 0.00                    
คุณภาพกิจกรรม                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ระดมความเห็นเสนอโครงการจังหวัด ( 7 ต.ค. 2559 )
  2. ประสานงาน สจรส. ( 17 ต.ค. 2559 )
  3. Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน ( 14 ม.ค. 2560 )
  4. Mapping โรงสีข้าว อำเภอควนขนุน ( 15 ม.ค. 2560 )
  5. Mapping โรงสีข้าว อำเภอศรีนครินทร์ ( 21 ม.ค. 2560 )
  6. Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมืองและอำเภอป่าพะยอม ( 22 ม.ค. 2560 )
  7. Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง ( 28 ม.ค. 2560 )
  8. Mapping โรงสีข้าวอำเภอเมือง ( 29 ม.ค. 2560 )
  9. Mapping โรงสีข้าวอำเภอบางแก้ว ( 30 ม.ค. 2560 )
  10. Mapping โรงสีข้าวอำเภอปากพะยูน ( 4 ก.พ. 2560 )
  11. Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอเขาชัยสน ( 5 ก.พ. 2560 )
  12. Mapping โรงสีข้าวอำเภอกงหราและอำเภอตะโหมด ( 6 ก.พ. 2560 )
  13. Mapping โรงสีข้าว ป่าบอน ( 11 ก.พ. 2560 )
  14. Mapping โรงสีข้าว อำเภอตะโหมด ( 12 ก.พ. 2560 )
  15. Mapping การตลาดอำเภอควนขนุนและอำเภอเมือง ( 25 ก.พ. 2560 )
  16. Mapping การตลาดป่าพะยอม ศรีบรรพต ศรีนครินทร์ ( 26 ก.พ. 2560 )
  17. Mapping การตลาดอำเภอบางแก้ว อำเภอเขาชัยสน ( 3 มี.ค. 2560 )
  18. Mapping การตลาดอำเภอตะโหมด อำเภอกงหรา ( 6 มี.ค. 2560 )
  19. Mapping การตลาด อำเภอป่าบอน ปากพะยูน ( 10 มี.ค. 2560 )
  20. ประชุมคณะทำงาน ( 22 มี.ค. 2560 )
  21. สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม ( 24 มี.ค. 2560 )
  22. สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม ( 29 มี.ค. 2560 )
  23. สนับสนุนเครือข่ายชาวนาเกษตรอินทรีย์วิถีนิเวศเมืองลุงในการสื่อสารกับสังคม ( 4 เม.ย. 2560 )
  24. สร้างระบบมตารฐานอินทรีย์ของจังหวัดพัทลุงโดยใช้การรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS) ( 25 เม.ย. 2560 )
  25. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่นาอินทรย์ ต.พนมวังก์ อ.ควนขนุน ( 26 พ.ค. 2560 )
  26. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติในพื้นที่ อ.กงหรา ( 29 พ.ค. 2560 )
  27. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอควนขนุน ( 1 มิ.ย. 2560 )
  28. บริหารจัดการข้อมูล ( 15 มิ.ย. 2560 )
  29. การแปลงยุทธศาสตร์ข้าวอินทรีย์จังหวัดพัทลุงไปสู่การปฎิบัติ อำเภอบางแก้ว ( 20 มิ.ย. 2560 )
  30. จัดทำรายงาน Mapping ข้อมูล ( 26 มิ.ย. 2560 )
  31. ประชุมระดมความคิดเห็นต่อแผนแม่บทข้าวอินทรีย์ จังหวัดพัทลุง ( 30 มิ.ย. 2560 )

(................................)
ดร.เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์
ผู้รับผิดชอบโครงการ